• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:75294e7109365d8373f6616d77e44ff4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"> <strong><u><span style=\"color: #ff0000\">โรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียว</span></u></strong> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n<div>\n<a href=\"/imce/browse#\" onclick=\"imceFinitor(imceVar.activeRow); return false;\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"200\" src=\"/files/u7304/43918__.jpg\" height=\"316\" style=\"width: 121px; height: 144px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">แหล่งที่มาของภาพ ::</span> <a href=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/43/43918.jpg\" title=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/43/43918.jpg\">http://www.vcharkarn.com/uploads/43/43918.jpg</a>\n</div>\n<p></p></a>\n</div>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">ชื่อโรค ::</span> โรคโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงรูปเคียวหรือ sickle cell anemia มีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น Hemoglobin S disease ,HbS disease ,Sickle cell disorders และ Sickle cell disease </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">อยู่ในกลุ่มของโรค</span><span style=\"color: #ff0000\">ประเภท ::</span> ระบบไหลเวียนเลือด </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">ผู้ค้นพบ ::</span> Jame B. Herrick</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span><br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">สาเหตุของการเกิดโรค ::</span> เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเบสของยีนเบตาโกลบิล ที่ควบคุมการสร้างสายโปรตีน (Polypeptide) สายเบต้าของฮีโมโกลบิน (ในเม็ดเลือดแดงของคนแต่ละเม็ดมีฮีโมโกลบินประกอบอยู่ถึง 280 ล้านโมเลกุล แต่ละโมเลกุลของฮีโมโกลบินประกอบด้วยโปรตีน 1 โมเลกุล และสารอินทรีย์ 4 หน่วยซึ่งมีอะตอมของธาตุเหล็กอยู่ตอนกลาง) ...ยีนเบตาโกลบินที่ผิดปกติ จะมีลำดับเบสบนยีนเปลี่ยนจาก CTC ไปเป็น CAC ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกรดอะมิโนที่สร้างขึ้น (ยีนทำหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีน ในกรณีนี้รหัสของเบสในยีนเปลี่ยน ทำให้ชนิดของโปรตีนเปลี่ยนไปด้วย) ยีนเบตาโกลบินในคนปกติแปลรหัสเป็นกรดกลูตามิก แต่ในคนที่เป็นโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ กลับมีการแปลรหัสเป็นวาลีน </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">อาการของโรค ::</span>  Sickle cell disease เป็นภาวะความผิดปกติตั้งแต่กำเนิดของ hemoglobin เป็นสาเหตุให้เซลล์เม็ดเลือดแดง กลายเป็น C-shaped ซึ่งโดยปกติแล้วตัวเม็ดเลือดแดง(RBC)จะมีความยืดหยุ่นได้ระดับหนึ่ง เพื่อง่ายต่อการเคลื่อนที่ไปยังหลอดเลือดต่างๆส่วนปลาย ซึ่งจะมีขนาดเล็กและคดเคี้ยว แต่ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ ตัวRBC จะเสียความยืดหยุ่นไป ทำให้เกิดการอุดตันของRBC ในหลอดเลือดบริเวณต่างๆ อีกทั้ง Sickle cell จะตายและแตกง่ายกว่าเซลล์ปกติ ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">วิธีรักษา ::</span> Sickle cell anemia เป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่อย่างไรก็ตาม การรักษาจะช่วยบรรเทาอาการและช่วยรักษาภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น ดังนี้<br />\n1.รักษาอาการปวด : โดยใช้ยาแก้ปวด เช่น Paracetamol, Ibuprofen และ Diclofenac แต่ถ้ามีอาการปวดมากอาจต้องใช้ยาในกลุ่มที่เป็น อนุพันธ์ของฝิ่น เช่น Morphine และ Meperidine <br />\n2.การป้องกันการติดเชื้อ<br />\n2.1. เริ่มให้ penicillin แก่เด็กที่เป็น sickle cell disease ตั้งแต่อายุ 2 เดือนต่อเนื่องไปจนอายุ 5 ปี<br />\n2.2. ให้วัคซีนป้องกันไข้หวัดร่วมกับวัคซีนป้องกันเยื่อหุ้มสมองอักเสบ(meningococcal vaccine) ทุกปี<br />\n** สำหรับผู้ใหญ่อาจป้องกันโดยการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดและปอดอักเสบทุกปี<br />\n3.ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ โดยผู้ป่วยต้องไปพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอ </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">วิธีการป้องกัน / การปฏิบัติตน ::</span> </span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">การดูแลให้ผู้ป่วยมีชีวิตรอด<br />\nเด็กที่เป็น sickle cell anemia จำเป็นที่จะต้องได้รับการดูสุขภาพ ต้องประเมินภาวการณ์เจริญเติบโตของเด็ก เด็กที่เป็น sickle cell anemia อาจยังต้องพบแพทย์เพื่อตรวจร่างกายต่อไปถึงแม้อายุจะมากกว่า 2 ปี ก็ตาม ซึ่งอาจต้องพบทุก 6 เดือน จนกระทั่งอายุ 5 ปี นอกจากนี้เด็กยังต้องได้รับ penicillin วันละครั้งเพื่อป้องกัน การติดเชื้อ และจะให้ folic acid เพื่อช่วยป้องกันโรคแทรกซ้อนจากภาวะโลหิตจาง <br />\nผู้ป่วยที่เป็น sickle cell anemia สามารถมีชีวิตรอดอยู่ได้ยาวนาน โดยจะต้องแนะนำให้ผู้ป่วยปฏิบัติตามข้อแนะนำดังต่อไปนี้ <br />\n•รักษาสุขภาพให้แข็งแรงสม่ำเสมอ<br />\n•ต้องรู้จักวิธีการในการป้องกันและควบคุมโรคแทรกซ้อน <br />\n•เรียนรู้วิธีการที่จะต่อสู้กับความปวด</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">สะท้อนความคิดเห็น ::</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">-ทำไมถึงสนใจในเรื่องนี้</span>\n</p>\n<p>\nเพราะโรคอื่นๆที่มีความผิดปกติทางเม็ดเลือดเหมือนกัน แต่มีโรคนี้ที่เม็ดเลือดรูปร่างเปลี่ยนแปลงไป\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">-คิดอย่างไรกับโรคนี้</span>\n</p>\n<p>\nฉันคิดว่าถึงแม้อาการของโรคนี้จะไม่รุนแรงมาก แต่ถ้าไม่ได้รับการดูแลอย่างเพียงพอ ก็จะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนขึ้นมากมายจนถึงขั้นทำให้เสียชีวิตได้\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">แหล่งที่มา ::</span> <a href=\"http://drug.pharmacy.psu.ac.th/Question.asp?ID=10792&amp;gid=9\">http://drug.pharmacy.psu.ac.th/Question.asp?ID=10792&amp;gid=9</a></span></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">:: <a href=\"http://en.wikipedia.org/wiki/Sickle-cell_disease\">http://en.wikipedia.org/wiki/Sickle-cell_disease</a></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">:: <a href=\"http://www.geocities.com/Autsanee2003/hydrogen/hydrgen2.html\">http://www.geocities.com/Autsanee2003/hydrogen/hydrgen2.html</a></span></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span>\n</p>\n', created = 1715808392, expire = 1715894792, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:75294e7109365d8373f6616d77e44ff4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียว !!

รูปภาพของ sss27376

 โรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียว

ชื่อโรค :: โรคโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงรูปเคียวหรือ sickle cell anemia มีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น Hemoglobin S disease ,HbS disease ,Sickle cell disorders และ Sickle cell disease


อยู่ในกลุ่มของโรคประเภท :: ระบบไหลเวียนเลือด


ผู้ค้นพบ :: Jame B. Herrick


สาเหตุของการเกิดโรค :: เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเบสของยีนเบตาโกลบิล ที่ควบคุมการสร้างสายโปรตีน (Polypeptide) สายเบต้าของฮีโมโกลบิน (ในเม็ดเลือดแดงของคนแต่ละเม็ดมีฮีโมโกลบินประกอบอยู่ถึง 280 ล้านโมเลกุล แต่ละโมเลกุลของฮีโมโกลบินประกอบด้วยโปรตีน 1 โมเลกุล และสารอินทรีย์ 4 หน่วยซึ่งมีอะตอมของธาตุเหล็กอยู่ตอนกลาง) ...ยีนเบตาโกลบินที่ผิดปกติ จะมีลำดับเบสบนยีนเปลี่ยนจาก CTC ไปเป็น CAC ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกรดอะมิโนที่สร้างขึ้น (ยีนทำหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีน ในกรณีนี้รหัสของเบสในยีนเปลี่ยน ทำให้ชนิดของโปรตีนเปลี่ยนไปด้วย) ยีนเบตาโกลบินในคนปกติแปลรหัสเป็นกรดกลูตามิก แต่ในคนที่เป็นโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ กลับมีการแปลรหัสเป็นวาลีน


อาการของโรค ::  Sickle cell disease เป็นภาวะความผิดปกติตั้งแต่กำเนิดของ hemoglobin เป็นสาเหตุให้เซลล์เม็ดเลือดแดง กลายเป็น C-shaped ซึ่งโดยปกติแล้วตัวเม็ดเลือดแดง(RBC)จะมีความยืดหยุ่นได้ระดับหนึ่ง เพื่อง่ายต่อการเคลื่อนที่ไปยังหลอดเลือดต่างๆส่วนปลาย ซึ่งจะมีขนาดเล็กและคดเคี้ยว แต่ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ ตัวRBC จะเสียความยืดหยุ่นไป ทำให้เกิดการอุดตันของRBC ในหลอดเลือดบริเวณต่างๆ อีกทั้ง Sickle cell จะตายและแตกง่ายกว่าเซลล์ปกติ ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง


วิธีรักษา :: Sickle cell anemia เป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่อย่างไรก็ตาม การรักษาจะช่วยบรรเทาอาการและช่วยรักษาภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น ดังนี้
1.รักษาอาการปวด : โดยใช้ยาแก้ปวด เช่น Paracetamol, Ibuprofen และ Diclofenac แต่ถ้ามีอาการปวดมากอาจต้องใช้ยาในกลุ่มที่เป็น อนุพันธ์ของฝิ่น เช่น Morphine และ Meperidine
2.การป้องกันการติดเชื้อ
2.1. เริ่มให้ penicillin แก่เด็กที่เป็น sickle cell disease ตั้งแต่อายุ 2 เดือนต่อเนื่องไปจนอายุ 5 ปี
2.2. ให้วัคซีนป้องกันไข้หวัดร่วมกับวัคซีนป้องกันเยื่อหุ้มสมองอักเสบ(meningococcal vaccine) ทุกปี
** สำหรับผู้ใหญ่อาจป้องกันโดยการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดและปอดอักเสบทุกปี
3.ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ โดยผู้ป่วยต้องไปพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอ


วิธีการป้องกัน / การปฏิบัติตน :: การดูแลให้ผู้ป่วยมีชีวิตรอด
เด็กที่เป็น sickle cell anemia จำเป็นที่จะต้องได้รับการดูสุขภาพ ต้องประเมินภาวการณ์เจริญเติบโตของเด็ก เด็กที่เป็น sickle cell anemia อาจยังต้องพบแพทย์เพื่อตรวจร่างกายต่อไปถึงแม้อายุจะมากกว่า 2 ปี ก็ตาม ซึ่งอาจต้องพบทุก 6 เดือน จนกระทั่งอายุ 5 ปี นอกจากนี้เด็กยังต้องได้รับ penicillin วันละครั้งเพื่อป้องกัน การติดเชื้อ และจะให้ folic acid เพื่อช่วยป้องกันโรคแทรกซ้อนจากภาวะโลหิตจาง
ผู้ป่วยที่เป็น sickle cell anemia สามารถมีชีวิตรอดอยู่ได้ยาวนาน โดยจะต้องแนะนำให้ผู้ป่วยปฏิบัติตามข้อแนะนำดังต่อไปนี้
•รักษาสุขภาพให้แข็งแรงสม่ำเสมอ
•ต้องรู้จักวิธีการในการป้องกันและควบคุมโรคแทรกซ้อน
•เรียนรู้วิธีการที่จะต่อสู้กับความปวด

สะท้อนความคิดเห็น ::

-ทำไมถึงสนใจในเรื่องนี้

เพราะโรคอื่นๆที่มีความผิดปกติทางเม็ดเลือดเหมือนกัน แต่มีโรคนี้ที่เม็ดเลือดรูปร่างเปลี่ยนแปลงไป

-คิดอย่างไรกับโรคนี้

ฉันคิดว่าถึงแม้อาการของโรคนี้จะไม่รุนแรงมาก แต่ถ้าไม่ได้รับการดูแลอย่างเพียงพอ ก็จะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนขึ้นมากมายจนถึงขั้นทำให้เสียชีวิตได้

แหล่งที่มา :: http://drug.pharmacy.psu.ac.th/Question.asp?ID=10792&gid=9

:: http://en.wikipedia.org/wiki/Sickle-cell_disease

:: http://www.geocities.com/Autsanee2003/hydrogen/hydrgen2.html

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 169 คน กำลังออนไลน์