• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:204cd543861fae8029fe3e2ebf570487' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #f6f6f6\"><strong>ระบบการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #f6f6f6\"><span style=\"color: #009900\"><strong>  กฎหมายและการศาลสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยา</strong></span></span></span></p>\n<p><span style=\"color: #800000\">กฎหมายในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยานั้น เป็นกฎหมายที่ปรับปรุงเพิ่มเติมจากกฎหมายสมัยพระเจ้าอู่ทองบ้าง ตราขึ้นใหม่บ้าง เช่น</span></p>\n<p>กฎหมายเพิ่มเติมลักษณะฟ้อง สมัยพระรามาธิบดีที่ 2 พ.ศ. 1951<br />\nกฎหมายลักษณะพิสูจน์ สมัยพระไชยราชา พ.ศ. 2078<br />\nกฎหมายเพิ่มเติมลักษณะอาญาหลวง สมัยพระมหาจักรพรรดิ พ.ศ. 2093<br />\nกฎหมายพิกัดเกษียณอายุ สมัยพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. 2176<br />\nกฎหมายลักษณะอุทธรณ์ สมัยพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. 2178<br />\nกฎหมายพระธรรมนูญตรากระทรวง สมัยพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. 2178<br />\nกฎหมายลักษณะทาส สมัยพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. 2180\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #f6f6f6\"><span style=\"color: #333333\"><span style=\"color: #0066cc\">         <u> </u></span></span><span style=\"color: #008000\"><strong><u>ระบบการปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย</u></strong></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #f6f6f6\"><span style=\"color: #800000\">การปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ <br />\nสาเหตุที่ทรงแก้ไขใหม่เพราะ</span></span></span></p>\n<p>1. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เคยเสด็จไปครองเมืองพิษณุโลกจึงทำให้พระองค์ทรงรู้ขนบธรรมเนียมประเพณีและการปกครองของกรุงสุโขทัยเป็นอย่างดี ว่าส่วนใดดีส่วนใดบกพร่อง</p>\n<p>2. อาณาจักรสุโขทัยได้ตกมาเป็นเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา และกรุงศรีอยุธยาตีได้นครธมราชธานีขอมใน พ.ศ. 1976 และในครั้งนั้น กรุงศรีอยุธยาได้ข้าราชการชาวสุโขทัยจำนวนมาก ชาวกัมพูชา พราหมณ์ เจ้านาย ท้าวพระยา ผู้ชำนาญทางการปกครอง มาไว้ในกรุงศรีอยุธยาจำนวนมาก จึงเป็นเหตุให้มีการปฏิรูปการปกครองขึ้น โดยเลือกเอาส่วนที่ดีของการปกครองกรุงสุโขทัยและขอมมาปรับปรุงใช้ในกรุงศรีอยุธยา<br />\n\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #f6f6f6\"><strong><span style=\"color: #009900\"><u>ลักษณะการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ</u></span></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #f6f6f6\"><span style=\"color: #333333\">   </span><span style=\"color: #800000\">การปฏิรูปการปกครองใหม่ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และต่อมาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 นั้น ได้ใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศสืบมา จนกระทั่งถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จะแก้ไขปัญหาในบางสมัย ก็เป็นแต่แก้พลความ ส่วนตัวหลักนั้นยังคงยึดของเดิมอยู่ การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลายมีดังนี้</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #f6f6f6\"><span style=\"color: #800000\"> ๑. ฝ่ายทหาร มีสมุหกลาโหม เป็นผู้บังคับบัญชา ตำแหน่งเทียบเท่าอัครมหาเสนาบดี มีบรรดาศักดิ์เป็นพระยามหาเสนาบดี ทำหน้าที่ควบคุมดูแลเกี่ยวกับราชการทหาร</span></span></span></p>\n<p> ๒. ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายกเป็นหัวหน้า ทำหน้าที่ควบคุมดูแลเกี่ยวกับงานราชการพลเรือนทั่วๆ ไป มีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์ มีเสนาบดีจตุสดมภ์เป็นเจ้ากระทรวง ตำแหน่งรองลงมาจากสมุหนายก ทำหน้าที่เช่นเดียวกับที่เคยปฏิบัติมา เพียงแต่เปลี่ยนชื่อเรียกใหม่ดังนี้</p>\n<p>กรมเมือง เปลี่ยนเป็น นครบาล<br />\nกรมวัง เปลี่ยนเป็น ธรรมาธิกรณ์<br />\nกรมคลัง เปลี่ยนเป็น โกษาธิบดี<br />\nกรมนา เปลี่ยนเป็น เกษตราธิการ<br />\n<br />\n<span style=\"color: #003366\">  </span><span style=\"color: #800000\">ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถนี้ นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การปกครองของไทย ที่แบ่งราชการทหารกับราชการพลเรือนออก จากกัน แต่ในยามสงครามทั้งสองฝ่ายก็จะรวมพลังกันป้องกันประเทศ ถ้าเป็นยามที่บ้านเมืองสงบ เมื่อมีราชการทหารเกิดขึ้น สมุหกลาโหมก็จะทำหน้าที่ประธานในที่ประชุม และนำมติที่ประชุมขึ้นกราบบังคมทูลต่อองค์พระเจ้าอยู่หัว เมื่อมีพระบรมราชโองการอย่างใด เสนาบดีกรมวัง ก็จะรับสั่งมายังเจ้าพระยามหาเสนาบดีสมุหกลาโหม จากนั้นก็จะสั่งการไปยังกรมทหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ถ้าเป็นงานเกี่ยวกับราชการพลเรือน เจ้าพระยาจักรีองครักษ์ประธานในที่ประชุมและนำมติในที่ประชุมขึ้นกราบบังคมทูล เมื่อมีพระบรมราชโองการลงมาอย่างใด ก็จะสั่งไปยังเสนาบดีจตุสดมภ์ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับงานนั้นๆ<br />\n</span>\n</p>\n<p><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #f6f6f6\"><span class=\"fontQuestionBiger\"><span style=\"color: #003399\"><strong>    <span style=\"color: #008000\"><u>การปกครองส่วนภูมิภาค</u></span></strong></span></span></span></span><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #f6f6f6\"> </span></span></p>\n<p>\n<span class=\"fontQuestionBiger\"><span style=\"color: #333333\"><span style=\"color: #006600\">   </span></span><span style=\"color: #800000\">การปกครองส่วนภูมิภาคในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถนั้นได้วางหลักการปกครองหัวเมืองต่างๆ ให้เป็นแบบเดียวกันกับราชธานี โดยจัดให้มีจตุสดมภ์ตามหัวเมืองต่างๆและได้โปรดให้ยกเลิกเมืองลูกหลวงพร้อมทั้งขยายเขตการปกครองของราชธานีให้กว้างขวางออกไปโดยรอบ การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งตามเขตการปกครองออกเป็น </span></span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"fontQuestionBiger\"><span style=\"color: #800000\"> ๑.หัวเมืองชั้นใน การปกครองหัวเมืองชั้นใน ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้กำหนดให้เมืองต่างๆ ที่อยู่ในวงราชธานี ซึ่งได้แก่ มณฑลราชบุรี มณฑลนครชัยศรี มณฑลนครสวรรค์ และมณฑลปราจีนบุรี เป็นเมืองชั้นจัตวา มีผู้รั้งและกรมการชั้นผู้น้อย(จ่าเมืองแพร่งและศุภมาตรา)เป็นพนักงานปกครองขึ้นอยู่กับเจ้ากระทรวงในราชธานี</span></span></p>\n<p> ๒.หัวเมืองชั้นนอก คือหัวเมืองที่อยู่นอกราชธานีออกไป และได้จัดเป็นหัวเมืองชั้นโท ตรี ตามลำดับความสำคัญ ผู้ปกครองเมืองได้แก่ พระราชวงศ์หรือขุนนางชั้นผู้ใหญ่ ที่พระมหากษัตริย์แต่งตั้งให้ออกไปครองเมือง มีอำนาจสิทธิ์ขาดแทนพระองค์ทุกประการ และมีกรมการพนักงานปกครองชั้นรองลงมาจากเจ้าเมือง คือ กรมการตำแหน่งพล(สมุหกลาโหม) กรมการตำแหน่งมหาดไทย(สมุหนายก) ตำแหน่งจตุสดมภ์ ทำหน้าที่เดียวกับในเมืองหลวง<br />\n       \n</p>\n<p><span class=\"fontQuestionBiger\"></span></p>\n<p><table border=\"1\" bgColor=\"#ffffff\" width=\"100%\" cellPadding=\"5\" cellSpacing=\"0\" borderColor=\"#ff9900\" class=\"fontQuestionBiger\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"63\" bgColor=\"#ff9900\" width=\"29%\" borderColor=\"#ffffff\"><span style=\"color: #800000\">ก. หัวเมืองชั้นนอก </span></td></tr></tbody></table></p>\n<p>\n \n<td width=\"71%\"><span style=\"color: #800000\">เดิมทีเพียง 2 เมืองคือ พิษณุโลก และนครศรีธรรมราช ต่อมาในสมัยสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ยกเมืองนครราชสีมาเป็นหัวเมืองชั้นเอกอีกเมืองหนึ่ง</span></td>\n\n<tr>\n<td bgColor=\"#ff9900\" borderColor=\"#ffffff\"><span style=\"color: #800000\">ข. หัวเมืองชั้นโท </span></td>\n<td><span style=\"color: #800000\">มี 6 เมือง คือ สวรรคโลก นครราชสีมา สุโขทัย กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ ตะนาวศรี</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td bgColor=\"#ff9900\" borderColor=\"#ffffff\"><span style=\"color: #800000\">ค. หัวเมืองชั้นตรี </span></td>\n<td><span style=\"color: #800000\">มี 7 เมือง คือ พิชัย พิจิตร นครสวรรค์ จันทบูรณ์ ไชยา ชุมพร พัทลุง </span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"20\" bgColor=\"#ff9900\" borderColor=\"#ffffff\"><span style=\"color: #800000\">ง. หัวเมืองชั้นจัตวา </span></td>\n<td><span style=\"color: #800000\">มี 30 เมือง เช่น ไชยบาดาล ระยอง ชลบุรี สมุทรสาคร สมุทรปราการ บางละมุง นนทบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ฯลฯ</span></td>\n</tr>\n\n\n</p>\n<p>\n<span class=\"fontQuestionBiger\"><span style=\"color: #800000\">๓. เมืองประเทศราช เป็นเมืองที่อยู่ห่างไกลออกไปถึงชายแดนติดต่อกับประเทศอื่น ที่มีภาษาต่างไปจากประเทศไทย เช่น ทวาย ตะนาวศรี มะละกา เป็นต้น เมืองเหล่านี้ มีเจ้านายของเขาปกครองกันเอง เพียงแต่ใครจะเป็นเจ้าเมืองต้องกราบทูลให้พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาทรงทราบก่อน และจะทรงแต่งตั้งให้ครองเมือง มีอำนาจสิทธิ์ขาดในเมืองของตนทุกประการ แต่ต้องถวายต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง และเครื่องราชบรรณาการมีกำหนด 3 ปี ต่อครั้ง และถ้ากรุงศรีอยุธยาเกิดศึกสงคราม เมืองประเทศราชต้องส่งกำลังมาช่วย<br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003399\"><strong>     <span style=\"color: #008000\"><u>การปกครองท้องถิ่น</u></span></strong></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #006600\">      </span><span style=\"color: #800000\">การปกครองท้องถิ่นแบ่งเป็น&gt;«<br />\n ๑. บ้าน (หมู่บ้าน) มีผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากเจ้าเมืองให้เป็นผู้ปกครอง<br />\n ๒. ตำบล คือบ้านหลายๆ บ้าน รวมกัน มีกำนันเป็นหัวหน้าปกครอง มีบรรดาศักดิ์เป็น &quot;พัน&quot;<br />\n ๓. แขวง คือตำบลหลายๆ ตำบลรวมกัน (เทียบได้กับอำเภอในปัจจุบัน) มีหมื่นแขวงเป็นหัวหน้าปกครอง<br />\n ๔. เมือง คือ แขวงหลายๆ แขวงรวมกัน มีผู้รั้งปกครอง ถ้าเมืองเป็นเมืองชั้นจัตวา และมีเจ้าเมืองปกครอง ถ้าเมืองนั้นๆ เป็นเมืองชั้นเอก ชั้นโท ชั้นตรี</span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\"><br />\n</span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1728238707, expire = 1728325107, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:204cd543861fae8029fe3e2ebf570487' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b3a00a9d33fccbb5ccf434a016539001' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nให้คะแนนได้เพราะไม่ทราบว่าอยู่ระดับชั้นใด ชื่ออะไร เลขที่เท่าไหร่ ช่วยแก้ไขด้วย แล้วให้ใส่แหล่งอ้างอิงด้วย ไปลอกมาทั้งหมดเลย ให้ทำใหม่<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-yell.gif\" alt=\"Yell\" title=\"Yell\" /><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-frown.gif\" alt=\"Frown\" title=\"Frown\" />\n</p>\n', created = 1728238707, expire = 1728325107, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b3a00a9d33fccbb5ccf434a016539001' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

ระบบการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

  กฎหมายและการศาลสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยา

กฎหมายในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยานั้น เป็นกฎหมายที่ปรับปรุงเพิ่มเติมจากกฎหมายสมัยพระเจ้าอู่ทองบ้าง ตราขึ้นใหม่บ้าง เช่น

กฎหมายเพิ่มเติมลักษณะฟ้อง สมัยพระรามาธิบดีที่ 2 พ.ศ. 1951
กฎหมายลักษณะพิสูจน์ สมัยพระไชยราชา พ.ศ. 2078
กฎหมายเพิ่มเติมลักษณะอาญาหลวง สมัยพระมหาจักรพรรดิ พ.ศ. 2093
กฎหมายพิกัดเกษียณอายุ สมัยพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. 2176
กฎหมายลักษณะอุทธรณ์ สมัยพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. 2178
กฎหมายพระธรรมนูญตรากระทรวง สมัยพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. 2178
กฎหมายลักษณะทาส สมัยพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. 2180

          ระบบการปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย

การปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สาเหตุที่ทรงแก้ไขใหม่เพราะ

1. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เคยเสด็จไปครองเมืองพิษณุโลกจึงทำให้พระองค์ทรงรู้ขนบธรรมเนียมประเพณีและการปกครองของกรุงสุโขทัยเป็นอย่างดี ว่าส่วนใดดีส่วนใดบกพร่อง

2. อาณาจักรสุโขทัยได้ตกมาเป็นเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา และกรุงศรีอยุธยาตีได้นครธมราชธานีขอมใน พ.ศ. 1976 และในครั้งนั้น กรุงศรีอยุธยาได้ข้าราชการชาวสุโขทัยจำนวนมาก ชาวกัมพูชา พราหมณ์ เจ้านาย ท้าวพระยา ผู้ชำนาญทางการปกครอง มาไว้ในกรุงศรีอยุธยาจำนวนมาก จึงเป็นเหตุให้มีการปฏิรูปการปกครองขึ้น โดยเลือกเอาส่วนที่ดีของการปกครองกรุงสุโขทัยและขอมมาปรับปรุงใช้ในกรุงศรีอยุธยา

ลักษณะการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

   การปฏิรูปการปกครองใหม่ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และต่อมาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 นั้น ได้ใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศสืบมา จนกระทั่งถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จะแก้ไขปัญหาในบางสมัย ก็เป็นแต่แก้พลความ ส่วนตัวหลักนั้นยังคงยึดของเดิมอยู่ การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลายมีดังนี้

 ๑. ฝ่ายทหาร มีสมุหกลาโหม เป็นผู้บังคับบัญชา ตำแหน่งเทียบเท่าอัครมหาเสนาบดี มีบรรดาศักดิ์เป็นพระยามหาเสนาบดี ทำหน้าที่ควบคุมดูแลเกี่ยวกับราชการทหาร

 ๒. ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายกเป็นหัวหน้า ทำหน้าที่ควบคุมดูแลเกี่ยวกับงานราชการพลเรือนทั่วๆ ไป มีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์ มีเสนาบดีจตุสดมภ์เป็นเจ้ากระทรวง ตำแหน่งรองลงมาจากสมุหนายก ทำหน้าที่เช่นเดียวกับที่เคยปฏิบัติมา เพียงแต่เปลี่ยนชื่อเรียกใหม่ดังนี้

กรมเมือง เปลี่ยนเป็น นครบาล
กรมวัง เปลี่ยนเป็น ธรรมาธิกรณ์
กรมคลัง เปลี่ยนเป็น โกษาธิบดี
กรมนา เปลี่ยนเป็น เกษตราธิการ

  ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถนี้ นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การปกครองของไทย ที่แบ่งราชการทหารกับราชการพลเรือนออก จากกัน แต่ในยามสงครามทั้งสองฝ่ายก็จะรวมพลังกันป้องกันประเทศ ถ้าเป็นยามที่บ้านเมืองสงบ เมื่อมีราชการทหารเกิดขึ้น สมุหกลาโหมก็จะทำหน้าที่ประธานในที่ประชุม และนำมติที่ประชุมขึ้นกราบบังคมทูลต่อองค์พระเจ้าอยู่หัว เมื่อมีพระบรมราชโองการอย่างใด เสนาบดีกรมวัง ก็จะรับสั่งมายังเจ้าพระยามหาเสนาบดีสมุหกลาโหม จากนั้นก็จะสั่งการไปยังกรมทหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ถ้าเป็นงานเกี่ยวกับราชการพลเรือน เจ้าพระยาจักรีองครักษ์ประธานในที่ประชุมและนำมติในที่ประชุมขึ้นกราบบังคมทูล เมื่อมีพระบรมราชโองการลงมาอย่างใด ก็จะสั่งไปยังเสนาบดีจตุสดมภ์ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับงานนั้นๆ

    การปกครองส่วนภูมิภาค

   การปกครองส่วนภูมิภาคในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถนั้นได้วางหลักการปกครองหัวเมืองต่างๆ ให้เป็นแบบเดียวกันกับราชธานี โดยจัดให้มีจตุสดมภ์ตามหัวเมืองต่างๆและได้โปรดให้ยกเลิกเมืองลูกหลวงพร้อมทั้งขยายเขตการปกครองของราชธานีให้กว้างขวางออกไปโดยรอบ การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งตามเขตการปกครองออกเป็น

 ๑.หัวเมืองชั้นใน การปกครองหัวเมืองชั้นใน ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้กำหนดให้เมืองต่างๆ ที่อยู่ในวงราชธานี ซึ่งได้แก่ มณฑลราชบุรี มณฑลนครชัยศรี มณฑลนครสวรรค์ และมณฑลปราจีนบุรี เป็นเมืองชั้นจัตวา มีผู้รั้งและกรมการชั้นผู้น้อย(จ่าเมืองแพร่งและศุภมาตรา)เป็นพนักงานปกครองขึ้นอยู่กับเจ้ากระทรวงในราชธานี

 ๒.หัวเมืองชั้นนอก คือหัวเมืองที่อยู่นอกราชธานีออกไป และได้จัดเป็นหัวเมืองชั้นโท ตรี ตามลำดับความสำคัญ ผู้ปกครองเมืองได้แก่ พระราชวงศ์หรือขุนนางชั้นผู้ใหญ่ ที่พระมหากษัตริย์แต่งตั้งให้ออกไปครองเมือง มีอำนาจสิทธิ์ขาดแทนพระองค์ทุกประการ และมีกรมการพนักงานปกครองชั้นรองลงมาจากเจ้าเมือง คือ กรมการตำแหน่งพล(สมุหกลาโหม) กรมการตำแหน่งมหาดไทย(สมุหนายก) ตำแหน่งจตุสดมภ์ ทำหน้าที่เดียวกับในเมืองหลวง
       

ก. หัวเมืองชั้นนอก

เดิมทีเพียง 2 เมืองคือ พิษณุโลก และนครศรีธรรมราช ต่อมาในสมัยสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ยกเมืองนครราชสีมาเป็นหัวเมืองชั้นเอกอีกเมืองหนึ่ง ข. หัวเมืองชั้นโท มี 6 เมือง คือ สวรรคโลก นครราชสีมา สุโขทัย กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ ตะนาวศรี ค. หัวเมืองชั้นตรี มี 7 เมือง คือ พิชัย พิจิตร นครสวรรค์ จันทบูรณ์ ไชยา ชุมพร พัทลุง ง. หัวเมืองชั้นจัตวา มี 30 เมือง เช่น ไชยบาดาล ระยอง ชลบุรี สมุทรสาคร สมุทรปราการ บางละมุง นนทบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ฯลฯ

๓. เมืองประเทศราช เป็นเมืองที่อยู่ห่างไกลออกไปถึงชายแดนติดต่อกับประเทศอื่น ที่มีภาษาต่างไปจากประเทศไทย เช่น ทวาย ตะนาวศรี มะละกา เป็นต้น เมืองเหล่านี้ มีเจ้านายของเขาปกครองกันเอง เพียงแต่ใครจะเป็นเจ้าเมืองต้องกราบทูลให้พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาทรงทราบก่อน และจะทรงแต่งตั้งให้ครองเมือง มีอำนาจสิทธิ์ขาดในเมืองของตนทุกประการ แต่ต้องถวายต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง และเครื่องราชบรรณาการมีกำหนด 3 ปี ต่อครั้ง และถ้ากรุงศรีอยุธยาเกิดศึกสงคราม เมืองประเทศราชต้องส่งกำลังมาช่วย

     การปกครองท้องถิ่น

      การปกครองท้องถิ่นแบ่งเป็น>«
 ๑. บ้าน (หมู่บ้าน) มีผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากเจ้าเมืองให้เป็นผู้ปกครอง
 ๒. ตำบล คือบ้านหลายๆ บ้าน รวมกัน มีกำนันเป็นหัวหน้าปกครอง มีบรรดาศักดิ์เป็น "พัน"
 ๓. แขวง คือตำบลหลายๆ ตำบลรวมกัน (เทียบได้กับอำเภอในปัจจุบัน) มีหมื่นแขวงเป็นหัวหน้าปกครอง
 ๔. เมือง คือ แขวงหลายๆ แขวงรวมกัน มีผู้รั้งปกครอง ถ้าเมืองเป็นเมืองชั้นจัตวา และมีเจ้าเมืองปกครอง ถ้าเมืองนั้นๆ เป็นเมืองชั้นเอก ชั้นโท ชั้นตรี


รูปภาพของ silavacharee

ให้คะแนนได้เพราะไม่ทราบว่าอยู่ระดับชั้นใด ชื่ออะไร เลขที่เท่าไหร่ ช่วยแก้ไขด้วย แล้วให้ใส่แหล่งอ้างอิงด้วย ไปลอกมาทั้งหมดเลย ให้ทำใหม่YellFrown

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 456 คน กำลังออนไลน์