• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a0022ecd8ec248d490f3165b1873b70e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong>ชื่อโรค</strong></span>  <span style=\"color: #000000\">: โรคสมองเสื่อม / อัลไซเมอร์   หรือ  Alzheimer\'s disease หรือ  AD</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff9900\">อยุ่ในกลุ่มโรคประเภท</span></strong> <span style=\"color: #000000\">: ระบบ</span><span style=\"color: #000000\">ประสาท</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff9900\">ผู้ค้นพบ</span></strong><span style=\"color: #000000\"> : </span><span style=\"color: #000000\">อาลอยส์ อัลซไฮเมอร์ (Alois Alzheimer)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong>สาเหตุ </strong></span><br />\n \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong>  เชื้อโรค</strong></span> :  -<br />\n  <strong><span style=\"color: #000000\">พฤติกรรม/จิตใจ</span></strong> :<span style=\"color: #000000\"> ความผิดปกติที่มีผลโดยตรงต่อสมอง ซึ่งเป็นศูนย์การสื่อสารในการควบคุมความ ความรู้สึก และการตอบสนองของเราการสื่อสารที่สำคัญต่าง ๆ ในร่างกายจะถูกส่งผ่านสมอง   โดยมีสารเคมีที่เรียกว่า สารสื่อประสาท (NEURO-TRANSMITTER) เป็นตัวสื่อสาร จะช่วยนำคำสั่งจากสมองไปยังอวัยวะเป้าหมายเพื่อเกิดการทำงานขึ้น สำหรับสารสื่อประสาทที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อความจำของเราคือ สารอะเซติลโคลีน (ACETYLCHOLINE) ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าสารนี้ช่วยทำให้มนุษย์มีความสามารถในการจำ <br />\n   หากในสมองมีสารนี้ลดน้อยลง จะทำให้เซลล์สมอง มีปัญหาในการสื่อสาร และพบว่าผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ มีระดับของสารอะเซติลโคลีนลดลงอย่างมาก ซึ่งเชื่อว่า เป็นเหตุทำให้ความสามารถในการจำ และการใช้เหตุผลของผู้ป่วยลดลงตามไปด้วย ปริมาณสารอะเซติลโคลีนนี้ ส่วนหนึ่งถูกควบคุมโดยเอนไซม์ที่มีชื่อว่า อะเซติล-โคลีนเอสเทอเรส ซึ่งจะทำหน้าที่ย่อยอะเซติลโคลีน ทำให้สารสื่อประสาทนี้ มีปริมาณน้อยลงในสมอง </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff9900\">อาการของโรค</span></strong><span style=\"color: #000000\"> :   อาการทั่วไปที่มักจะพบในผู้ป่วยอัลไซเมอร์คือ การมีความเปลี่ยนแปลง ๓ ด้าน ได้แก่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๑. ความเปลี่ยนแปลงด้านความจำ นึกคำพูดได้ช้าลง สับสนเรื่องวัน เวลา สถานที่ หรือจำบุคคลที่เคยรู้จักหรือคุ้นเคยไม่ได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๒. ความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เช่น  อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ก้าวร้าว หวาดระแวง  ซึมเศร้า เฉยเมย หรือบางรายอาจมีการเห็นภาพหลอน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๓. ความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น ไม่สามารถเดินทางไปในสถานที่คุ้นเคย หรือไม่สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ ได้ ทั้งที่ปกติใช้อยู่เป็นประจำ <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong>วิธีรักษา</strong></span><span style=\"color: #000000\"> :   พบว่าในปัจจุบัน โรคอัลไซเมอร์ ยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ เป็นการรักษาเพื่อให้อาการดีขึ้น ให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น    </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">    เหตุผลหนึ่งที่ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ มีความจำเสื่อม เนื่องจากมีระดับของสารสื่อประสาทอะเซติลโคลีน จึงมีการพัฒนายา ซึ่งสามารถยับยั้งเอนไซม์อะเซติลโคลีนเอสเทอเรส ซึ่งน่าจะให้สารอะเซติลโคลีนคงเหลืออยู่มากขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">    ปัจจุบันมียาที่เรียกว่า สารยับยั้งอะเซติลโคลีนเอสเทอเรส ซึ่งช่วยลดการย่อยสารอะเซติลโคลีน และเป็นการรักษาระดับของอะเซติลโคลีน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ในระยะเริ่มต้น และระยะปานกลาง ในการรักษาอาการความจำเสื่อม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">   สารยับยั้งอะเซติลโคลีนเอสเทอเรสหลายตัว อาจมีอาการข้างเคียงในคนไข้บางคน เช่น ทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ผู้ป่วยที่มีอาการเหล่านี้ควรปรึกษาแพทย์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">    ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ในระยะต้นๆ มักมีพฤติกรรมต่างๆ เกิดขึ้น เช่น ซึมเศร้านอนไม่หลับ ตื่นตกใจง่าย ก้าวร้าว ไม่สนใจทำกิจวัตรประจำวัน การให้คำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยให้ผู้ป่วยลดความวิตกกังวล หรือซึมเศร้า ซึ่งเกิดจากโรคอัลไซเมอร์ พร้อมทั้งการให้ยาเพื่อรักษาอาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นผู้ให้คำปรึกษา และวิธีการรักษาได้อย่างเหมาะสมที่สุด <br />\n  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong>วิธีป้องกัน</strong></span> <span style=\"color: #000000\">: 1.  การกินสารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidants) ให้เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นวิตามินเอ วิตามินซี หรือวิตามินอี สารเหล่านี้มีอยู่ในพืชผักตามธรรมชาติแล้ว ไม่จำเป็นต้องซื้อหามาแพงๆ <br />\n                        </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"> 2.  การกินน้ำมันปลาให้เพียงพอ เพราะน้ำมันปลาช่วยลดการอักเสบ ไม่ว่าจะเป็นในส่วนต่างๆ ของร่างกายหรือสมอง <br />\n                         </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">3.  กินอาหารเสริม Phosphatidylserine แต่ตามข่าวบอกว่าแหล่งข่าวเองก็ไม่แน่ใจว่าสารตัวนี้จะช่วยได้จริงหรือเปล่า ชื่ออาหารเสริมอ่านยากและฟังดูแพงและน่าจะหาซื้อไม่ง่ายนักในประเทศไทย <br />\n                         </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">4.  กินแกงที่ใส่เครื่องแกงรสจัด เพราะมีงานวิจัยจากสิงค์โปร์พบว่าผู้กินแกงใส่เครื่องแกงสัปดาห์ละครั้งมีความทรงจำที่ดีกว่าผู้ไม่ได้กิน วิธีนี้น่าจะเหมาะสมกับคนไทยเรามากที่สุด <br />\n                        </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">5.  ออกกำลังกายสมองอย่างสม่ำเสมอ ตามข่าวว่ามีงานวิจัยพิสูจน์แล้วเรื่องใช้สมองคิดเยอะๆ ลดความเสื่อมของสมองได้ดี วิธีนี้ไม่มีต้นทุน <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong>สะท้อนความคิดเห็น</strong></span> <br />\n \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong>ทำไมสนใจศึกษาเรื่องนี้</strong></span><span style=\"color: #000000\"> :  คิดว่าเป็นโรคที่น่าสนใจ อีกโรคหนึ่ง  เพราะในปัจจุบัน เริ่มพบผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะ ผู้สูงอายุ  อีกทั้งยังไม่มีวิธีที่ช่วยรักษาให้หายขาด มีเพียงการรักษาให้อาการดีขึ้นเท่านั้น อาจจะเป้นโรคที่ผู้สูงอายุทุกคนจะต้องเป็นก็ได้ ด้วยตัวเลจของอายุทำให้การทำงานของระบบต่างๆเสื่อม รวทั้ง ระบบสมองด้วย</span><br />\n \n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"><strong>คิดอย่างไรกับโรคนี้</strong></span> <span style=\"color: #000000\">:  เป็นโรคที่น่ากลัวอีกโรคหนึ่ง  เเหมจะดูเหมือนไม่มีอะไรที่น่ากลัวมากมายเหมือนกับโรคอื่นๆที่เป็นเเล้วรักษาไม่ทันอาจจะตายได้ เเต่โรคนี้ถ้าเป็นมากๆเเล้วจะทำให้ สมองในการจดจำสิ่งต่างลดน้อยลงเรื่อยๆ ใช้ชีวิตประจำวันผิดเเปลกไปจากเดิม อารมณ์เเปรปรวนง่าย เเละที่อันตรายที่สุด อาจจะจำอะไรไม่ได้เลยเเม้เเต่ ชื่อตัวเอง ดังนั้นหากมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคนี้ควรพบเเพทย์ เเละปฎิบัติตามการรักษาที่ถูกต้อง </span>\n</p>\n', created = 1719558302, expire = 1719644702, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a0022ecd8ec248d490f3165b1873b70e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรค สมองเสื่อม หรือ อัลไซเมอร์

รูปภาพของ sss27406

ชื่อโรค  : โรคสมองเสื่อม / อัลไซเมอร์   หรือ  Alzheimer's disease หรือ  AD

อยุ่ในกลุ่มโรคประเภท : ระบบประสาท

ผู้ค้นพบ : อาลอยส์ อัลซไฮเมอร์ (Alois Alzheimer)

สาเหตุ
 

  เชื้อโรค :  -
  พฤติกรรม/จิตใจ : ความผิดปกติที่มีผลโดยตรงต่อสมอง ซึ่งเป็นศูนย์การสื่อสารในการควบคุมความ ความรู้สึก และการตอบสนองของเราการสื่อสารที่สำคัญต่าง ๆ ในร่างกายจะถูกส่งผ่านสมอง   โดยมีสารเคมีที่เรียกว่า สารสื่อประสาท (NEURO-TRANSMITTER) เป็นตัวสื่อสาร จะช่วยนำคำสั่งจากสมองไปยังอวัยวะเป้าหมายเพื่อเกิดการทำงานขึ้น สำหรับสารสื่อประสาทที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อความจำของเราคือ สารอะเซติลโคลีน (ACETYLCHOLINE) ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าสารนี้ช่วยทำให้มนุษย์มีความสามารถในการจำ 
   หากในสมองมีสารนี้ลดน้อยลง จะทำให้เซลล์สมอง มีปัญหาในการสื่อสาร และพบว่าผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ มีระดับของสารอะเซติลโคลีนลดลงอย่างมาก ซึ่งเชื่อว่า เป็นเหตุทำให้ความสามารถในการจำ และการใช้เหตุผลของผู้ป่วยลดลงตามไปด้วย ปริมาณสารอะเซติลโคลีนนี้ ส่วนหนึ่งถูกควบคุมโดยเอนไซม์ที่มีชื่อว่า อะเซติล-โคลีนเอสเทอเรส ซึ่งจะทำหน้าที่ย่อยอะเซติลโคลีน ทำให้สารสื่อประสาทนี้ มีปริมาณน้อยลงในสมอง

อาการของโรค :   อาการทั่วไปที่มักจะพบในผู้ป่วยอัลไซเมอร์คือ การมีความเปลี่ยนแปลง ๓ ด้าน ได้แก่

๑. ความเปลี่ยนแปลงด้านความจำ นึกคำพูดได้ช้าลง สับสนเรื่องวัน เวลา สถานที่ หรือจำบุคคลที่เคยรู้จักหรือคุ้นเคยไม่ได้

๒. ความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เช่น  อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ก้าวร้าว หวาดระแวง  ซึมเศร้า เฉยเมย หรือบางรายอาจมีการเห็นภาพหลอน

๓. ความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น ไม่สามารถเดินทางไปในสถานที่คุ้นเคย หรือไม่สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ ได้ ทั้งที่ปกติใช้อยู่เป็นประจำ

วิธีรักษา :   พบว่าในปัจจุบัน โรคอัลไซเมอร์ ยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ เป็นการรักษาเพื่อให้อาการดีขึ้น ให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น   

    เหตุผลหนึ่งที่ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ มีความจำเสื่อม เนื่องจากมีระดับของสารสื่อประสาทอะเซติลโคลีน จึงมีการพัฒนายา ซึ่งสามารถยับยั้งเอนไซม์อะเซติลโคลีนเอสเทอเรส ซึ่งน่าจะให้สารอะเซติลโคลีนคงเหลืออยู่มากขึ้น

    ปัจจุบันมียาที่เรียกว่า สารยับยั้งอะเซติลโคลีนเอสเทอเรส ซึ่งช่วยลดการย่อยสารอะเซติลโคลีน และเป็นการรักษาระดับของอะเซติลโคลีน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ในระยะเริ่มต้น และระยะปานกลาง ในการรักษาอาการความจำเสื่อม

   สารยับยั้งอะเซติลโคลีนเอสเทอเรสหลายตัว อาจมีอาการข้างเคียงในคนไข้บางคน เช่น ทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ผู้ป่วยที่มีอาการเหล่านี้ควรปรึกษาแพทย์

    ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ในระยะต้นๆ มักมีพฤติกรรมต่างๆ เกิดขึ้น เช่น ซึมเศร้านอนไม่หลับ ตื่นตกใจง่าย ก้าวร้าว ไม่สนใจทำกิจวัตรประจำวัน การให้คำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยให้ผู้ป่วยลดความวิตกกังวล หรือซึมเศร้า ซึ่งเกิดจากโรคอัลไซเมอร์ พร้อมทั้งการให้ยาเพื่อรักษาอาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นผู้ให้คำปรึกษา และวิธีการรักษาได้อย่างเหมาะสมที่สุด
 

วิธีป้องกัน : 1.  การกินสารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidants) ให้เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นวิตามินเอ วิตามินซี หรือวิตามินอี สารเหล่านี้มีอยู่ในพืชผักตามธรรมชาติแล้ว ไม่จำเป็นต้องซื้อหามาแพงๆ
                        

 2.  การกินน้ำมันปลาให้เพียงพอ เพราะน้ำมันปลาช่วยลดการอักเสบ ไม่ว่าจะเป็นในส่วนต่างๆ ของร่างกายหรือสมอง 
                        

3.  กินอาหารเสริม Phosphatidylserine แต่ตามข่าวบอกว่าแหล่งข่าวเองก็ไม่แน่ใจว่าสารตัวนี้จะช่วยได้จริงหรือเปล่า ชื่ออาหารเสริมอ่านยากและฟังดูแพงและน่าจะหาซื้อไม่ง่ายนักในประเทศไทย
                        

4.  กินแกงที่ใส่เครื่องแกงรสจัด เพราะมีงานวิจัยจากสิงค์โปร์พบว่าผู้กินแกงใส่เครื่องแกงสัปดาห์ละครั้งมีความทรงจำที่ดีกว่าผู้ไม่ได้กิน วิธีนี้น่าจะเหมาะสมกับคนไทยเรามากที่สุด
                       

5.  ออกกำลังกายสมองอย่างสม่ำเสมอ ตามข่าวว่ามีงานวิจัยพิสูจน์แล้วเรื่องใช้สมองคิดเยอะๆ ลดความเสื่อมของสมองได้ดี วิธีนี้ไม่มีต้นทุน

สะท้อนความคิดเห็น
 

ทำไมสนใจศึกษาเรื่องนี้ :  คิดว่าเป็นโรคที่น่าสนใจ อีกโรคหนึ่ง  เพราะในปัจจุบัน เริ่มพบผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะ ผู้สูงอายุ  อีกทั้งยังไม่มีวิธีที่ช่วยรักษาให้หายขาด มีเพียงการรักษาให้อาการดีขึ้นเท่านั้น อาจจะเป้นโรคที่ผู้สูงอายุทุกคนจะต้องเป็นก็ได้ ด้วยตัวเลจของอายุทำให้การทำงานของระบบต่างๆเสื่อม รวทั้ง ระบบสมองด้วย
 

 คิดอย่างไรกับโรคนี้ :  เป็นโรคที่น่ากลัวอีกโรคหนึ่ง  เเหมจะดูเหมือนไม่มีอะไรที่น่ากลัวมากมายเหมือนกับโรคอื่นๆที่เป็นเเล้วรักษาไม่ทันอาจจะตายได้ เเต่โรคนี้ถ้าเป็นมากๆเเล้วจะทำให้ สมองในการจดจำสิ่งต่างลดน้อยลงเรื่อยๆ ใช้ชีวิตประจำวันผิดเเปลกไปจากเดิม อารมณ์เเปรปรวนง่าย เเละที่อันตรายที่สุด อาจจะจำอะไรไม่ได้เลยเเม้เเต่ ชื่อตัวเอง ดังนั้นหากมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคนี้ควรพบเเพทย์ เเละปฎิบัติตามการรักษาที่ถูกต้อง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 183 คน กำลังออนไลน์