• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:32780c6ecdefe0d5519389222966d80a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<u>ชื่อโรค</u>  :  โรคกระเพาะ (Peptic ulcer)\n</p>\n<p>\n<u>สาเหตุของการเกิดโรคกระเพาะ</u>  :  มีมากมายเเต่เชื่อกันว่าสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากมีกรดในกระเพาะอาหารมาก และ เยื่อบุกระเพาะอาหาร อ่อนแอลง\n</p>\n<p>\n1. สาเหตุที่กระเพาะอาหารมีกรดมากขึ้น เกิดขึ้นเนื่องจากสิ่งต่อไปนี้กระตุ้นให้กรดหลั่งมาก <br />\n- กระตุ้นของปลายประสาท เกิดจากความเครียด วิตกกังวลและอารมณ์ <br />\n- การดื่มแอลกอฮอล์ ได้แก่ เหล้า เบียร์ ยาดอง ชา กาแฟ และน้ำดื่มที่มี Caffeine จะทำให้กรดหลั่งออกมามาก <br />\n- การสูบบุหรี่ เนื่องจากบุหรี่ทำให้เกิดการหลั่งกรดออกมามาก <br />\n- การกินอาหารไม่เป็นเวลา <br />\n- ภาวะที่มีกรดหลั่งออกมามาก เช่นโรค Zollinger-Ellisson syndrome กรดที่หลั่งออกมามากจะทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหารทำให้เกิด แผลในกระเพาะอาหาร\n</p>\n<p>\n2. มีการทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหาร เกิดจาก <br />\n- การกินยาแก้ปวด ลดไข้ แก้ปวดกระดูก ปวดกล้ามเนื้อ ยาชุดที่มีแอสไพริน และยาสเตียรอยด์ ยาลูกกลอนต่างๆโดยเฉพาะสารที่ระคายกระเพาะ เช่น ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAID แม้วว่าจะให้ยาโดยการฉีดหรืออมใต้ลิ้นก็มีโอกาสเกิดแผลที่กระเพาะ เนื่องจากนี้จะไปกระตุ้นให้เกิด cyclooxigenase II (Cox II) ซึ่งจะทำให้เกิดการอักเสบที่กระเพาะ <br />\n- การกินอาหารเผ็ดจัด และเปรี้ยวจัดจากน้ำสมสายชู <br />\n- การดื่มแอลกอฮอล์ ได้แก่ เหล้า เบี้ย ยาดอง\n</p>\n<p>\n3. ประวัติเป็นโรคกระเพาะในครอบครัวหากครอบครัวไหนมีโรคกระเพาะ คนในครอบครัวนั้นก็จะมีโอกาสเกิดโรคกระสูง \n</p>\n<p>\n<u>อาการของโรคกระเพาะ </u>\n</p>\n<p>\n1. ปวดท้อง ลักษณะอาการปวดท้องที่สำคัญ คือ<br />\n- ปวดบริเวณลิ้มปี ปวดแบบแสบๆหรือร้อนๆ ปวดเรื้อรังมานาน เป็นๆ หายๆ เป็นเดือนหรือเป็นปี <br />\n- ปวดสัมพันธ์กับอาหาร เช่น ปวดเวลาหิวหรือท้องว่างเมื่อกินอาหารหรือนม จะหายปวด บางรายจะปวดหลังจากกินอาหารหรือนมจะหายปวด บางรายจะปวดหลังจากกินอาหารหรือปวดกลางดึกก็ได้\n</p>\n<p>\n2. จุกเสียด แน่นท้อง ท้องอืด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ เรอลม มีลมในท้อง ร้อนในท้อง คลื่นไส้อาเจียน\n</p>\n<p>\n3. อาการโรคแทรกซ้อน ได้แก่<br />\n- อาเจียนเป็นเลือดดำ หรือแดง หรือถ่ายดำ เนื่องจากมีเลือดออกในกระเพาะอาหาร หรือลำไส้เล็กส่วนต้น <br />\n- ปวดท้องรุนแรง และ ช๊อค เนื่องจากแผลกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็กทะลุ <br />\n- ปวดท้องและอาเจียนมาก เนื่องจากการอุดต้นของกระเพาะอาหาร\n</p>\n<p>\nอาการของโรคกระเพาะอาหารจะไม่สัมพันธ์กับความรุนแรงของโรค บางรายไม่มีอาการปวดท้อง แต่มีแผลใหญ่มากในกระเพราะอาหาร หรือลำไส้ บางรายปวดท้องมากแต่ไม่มีแผลเลยก็ได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                        <img width=\"122\" src=\"/files/u7471/pu1.jpg\" height=\"92\" />                        <img width=\"121\" src=\"/files/u7471/pu3.jpg\" height=\"92\" />\n</p>\n<p>\n                             <span style=\"color: #993300\">     </span><u><span style=\"color: #993300\">แผลที่กระเพาะอาหารก่อนการรักษา</span></u><span style=\"color: #993300\">                <u>แผลหายไปหลังจากการรักษา</u></span>\n</p>\n<p>\n<u></u>\n</p>\n<p>\n<u>อาการอื่นที่พบ</u>                                                                                                                                                      <br />\n- น้ำหนักลด <br />\n- เบื่ออาหาร <br />\n- แน่นท้อง ท้องเฟ้อ <br />\n- คลื่นไส้ อาเจียน\n</p>\n<p>\n<u>วิธีการรักษาโรคกระเพาะอาหาร </u>\n</p>\n<p>\n1. กำจัดต้นเหตุของการเกิดโรค ได้แก่\n</p>\n<p>\n- กินอาหารให้เป็นเวลา<br />\n- งดอาหารรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด<br />\n- งดดื่มเหล้า เบียร์ หรือยาดอง<br />\n- งดดื่มน้ำชา กาแฟ<br />\n- งดสูบบุหรี่<br />\n- งดเว้นการกินยา ที่มีผลต่อกระเพาะอาหาร<br />\n- พักผ่อนให้เพียงพอ ผ่อนคลายคลายตึงเครียด\n</p>\n<p>\n2. การให้ยารักษา โดยกินยาอย่างถูกต้อง คือ ต้องกินยาให้สม่ำเสมอ กินยาให้ครบตามจำนวน และ ระยะเวลาที่แพทย์สั่งยารักษาโรคกระเพาะอาหาร ส่วนใหญ่ต้องใช้เวลาประมาณอย่างน้อย 4-6 อาทิตย์ แผลจึงจะหาย ดังนั้นภายหลังกินยา ถ้าอาการดีขึ้นห้ามหยุดยา ต้องกินยาต่อจนครบ และแพทย์แน่ใจว่าแผลหายแล้ว จึงจะลดยาหรือหยุดยาวได้\n</p>\n<p>\n3. การผ่าตัด ซึ่งในปัจจุบัน มียาที่รักษาโรคกระเพาะอาหารอย่างดีจำนวนมากถ้าให้การรักษาที่ถูกต้อง ก็ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดสำหรับการผ่าตัดอาจทำให้เป็นกรณีที่เกิดโรคแทรกซ้อน ได้แก่\n</p>\n<p>\n- เลือดออกในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก โดยไม่สามารถทำให้หยุดเลือดออกได้<br />\n- แผลกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กเกิดการทะลุ<br />\n- กระเพาะอาหารมีการอุดตัน\n</p>\n<p>\n<u>วิธีการป้องกัน </u>\n</p>\n<p>\n1. กินอาหารให้เป็นเวลา ไม่ปล่อยให้ท้องว่าง หรือหิว ถ้าหิวก่อนเวลาให้ดื่มนม หรือ น้ำเต้าหู้ น้ำข้าว น้ำผลได้\n</p>\n<p>\n2. หลีกเลี่ยงอาหารรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด จากน้ำสมสายชู\n</p>\n<p>\n3. งดดื่มเหล้า เบียร์ กาแฟ ยาดอง\n</p>\n<p>\n4. งดการสูบบุหรี่\n</p>\n<p>\n5. หลีกเลี่ยงการกินยาแก้ปวด แก้ไข ที่มีแอสไพริน หรือยาชุดต่างๆ รวมทั้งยาแก้ปวดกระดูก และยาsteroid ยาลูกกลอน ยาหม้อต่างๆ\n</p>\n<p>\n6. ควรพักผ่อนให้มากเพียงพอ ทำจิตใจให้เบิกบานผ่อนคลายเครียดวิตกกังวล และไม่หงุดหงิดอารมณ์เสียง่าย\n</p>\n<p>\n7. กินยาตามแพทย์สั่ง ถ้ากินยาแล้วอาการดีขึ้น ต้องกินยาติดต่อกันอย่างน้อย 4-6 อาทิตย์ ไม่ควรหยุดยาก่อน เพราะอาการปวดท้องจะกำเริบได้อีก\n</p>\n<p>\n8. ควรออกกำลังกาย แต่ไม่ควรมากเกินไป\n</p>\n<p>\n9. อย่าซื้อยากินเอง มีโรคอื่นควรปรึกษาแพทย์\n</p>\n<p>\n<u>สะท้อนความเห็น</u>     \n</p>\n<p>\n- ปัจจุบันประชากรในประเทศไทยที่เป็นโรคกระเพาะมีจำนวนสูงขึ้นทุกปีเนื่องจากสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเป็นปัจจัยสำคัญอย่างมากที่สามารถทำให้เกิดโรคต่างๆได้ เเละ หนี่งในนั้นก็คือโรคกระเพาะ เพราะสาเหตุที่คนไทยเป็นโรคกระเพาะได้ง่ายเนื่องจาก เวลาประชากรในประเทศไทยเกิดเวลาความเครียด ก็จะหาทางออกโดยการสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บางคนก็เครียดจนทานอาหารไม่ลง จึงส่งผลต่อการเป็นโรคกระเพาะได้ง่าย\n</p>\n<p>\n<u>ทำไมถึงสนใจศึกษาเรื่องนี้ ?</u> \n</p>\n<p>\n- เพราะ ข้าพเจ้าคิดว่าโรคกระเพาะเป็นโรคที่คนไทยสามารถเป็นได้ง่าย เเละเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวเรา  จึงอยากศึกษาเรื่องโรคกระเพาะนี้ให้คนที่ได้เข้ามาอ่านเเละสามารถไปบอกกล่าวให้ผู้อื่นได้รับฟัง เพื่อเป็นแนวทางป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นกับตัวเองได้\n</p>\n<p>\n<u>คิดอย่างไรกับโรคนี้ ?</u>\n</p>\n<p>\n- ข้าพเจ้าคิดว่าคนไทยมองว่าโรคกระเพาะเป็นโรคที่ไม่ร้ายเเรง เเต่จริงๆแล้วโรคกระเพาะสามารถทำให้คนที่เป็นโรคนี้เสียชีวิตได้ เพราะฉะนั้น เราควรป้องกันเอาไว้ โดยการรับประทานอาหารครบทุกมื้อ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ไม่เครียดจนเกินไป ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่สูบบุหรี่ เพื่อประโยชน์แก่ตัวเราเองด้วย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><u>แหล่งที่มารูปภาพ</u> </span> <u>:</u>  <u>http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/picture/pu1.jpg</u></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><u>http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/picture/pu2.jpg</u></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><u>แหล่งที่มาข้อมูล</u></span><span style=\"color: #0000ff\">  </span><u><span style=\"color: #0000ff\">:</span></u>  <a href=\"http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/GI/pu/peptic_ulcer.htm\"><u><span style=\"color: #000000\">http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/GI/pu/peptic_ulcer.htm</span></u></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><u>http://www.thailabonline.com/sec51peptic.htm</u></span>\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #0000ff\"> http://www.yourhealthyguide.com/article/as-stomach.html</span></u>\n</p>\n', created = 1727528820, expire = 1727615220, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:32780c6ecdefe0d5519389222966d80a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคกระเพาะ

รูปภาพของ sss27431

ชื่อโรค  :  โรคกระเพาะ (Peptic ulcer)

สาเหตุของการเกิดโรคกระเพาะ  :  มีมากมายเเต่เชื่อกันว่าสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากมีกรดในกระเพาะอาหารมาก และ เยื่อบุกระเพาะอาหาร อ่อนแอลง

1. สาเหตุที่กระเพาะอาหารมีกรดมากขึ้น เกิดขึ้นเนื่องจากสิ่งต่อไปนี้กระตุ้นให้กรดหลั่งมาก
- กระตุ้นของปลายประสาท เกิดจากความเครียด วิตกกังวลและอารมณ์
- การดื่มแอลกอฮอล์ ได้แก่ เหล้า เบียร์ ยาดอง ชา กาแฟ และน้ำดื่มที่มี Caffeine จะทำให้กรดหลั่งออกมามาก
- การสูบบุหรี่ เนื่องจากบุหรี่ทำให้เกิดการหลั่งกรดออกมามาก
- การกินอาหารไม่เป็นเวลา
- ภาวะที่มีกรดหลั่งออกมามาก เช่นโรค Zollinger-Ellisson syndrome กรดที่หลั่งออกมามากจะทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหารทำให้เกิด แผลในกระเพาะอาหาร

2. มีการทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหาร เกิดจาก
- การกินยาแก้ปวด ลดไข้ แก้ปวดกระดูก ปวดกล้ามเนื้อ ยาชุดที่มีแอสไพริน และยาสเตียรอยด์ ยาลูกกลอนต่างๆโดยเฉพาะสารที่ระคายกระเพาะ เช่น ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAID แม้วว่าจะให้ยาโดยการฉีดหรืออมใต้ลิ้นก็มีโอกาสเกิดแผลที่กระเพาะ เนื่องจากนี้จะไปกระตุ้นให้เกิด cyclooxigenase II (Cox II) ซึ่งจะทำให้เกิดการอักเสบที่กระเพาะ
- การกินอาหารเผ็ดจัด และเปรี้ยวจัดจากน้ำสมสายชู
- การดื่มแอลกอฮอล์ ได้แก่ เหล้า เบี้ย ยาดอง

3. ประวัติเป็นโรคกระเพาะในครอบครัวหากครอบครัวไหนมีโรคกระเพาะ คนในครอบครัวนั้นก็จะมีโอกาสเกิดโรคกระสูง 

อาการของโรคกระเพาะ

1. ปวดท้อง ลักษณะอาการปวดท้องที่สำคัญ คือ
- ปวดบริเวณลิ้มปี ปวดแบบแสบๆหรือร้อนๆ ปวดเรื้อรังมานาน เป็นๆ หายๆ เป็นเดือนหรือเป็นปี
- ปวดสัมพันธ์กับอาหาร เช่น ปวดเวลาหิวหรือท้องว่างเมื่อกินอาหารหรือนม จะหายปวด บางรายจะปวดหลังจากกินอาหารหรือนมจะหายปวด บางรายจะปวดหลังจากกินอาหารหรือปวดกลางดึกก็ได้

2. จุกเสียด แน่นท้อง ท้องอืด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ เรอลม มีลมในท้อง ร้อนในท้อง คลื่นไส้อาเจียน

3. อาการโรคแทรกซ้อน ได้แก่
- อาเจียนเป็นเลือดดำ หรือแดง หรือถ่ายดำ เนื่องจากมีเลือดออกในกระเพาะอาหาร หรือลำไส้เล็กส่วนต้น
- ปวดท้องรุนแรง และ ช๊อค เนื่องจากแผลกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็กทะลุ
- ปวดท้องและอาเจียนมาก เนื่องจากการอุดต้นของกระเพาะอาหาร

อาการของโรคกระเพาะอาหารจะไม่สัมพันธ์กับความรุนแรงของโรค บางรายไม่มีอาการปวดท้อง แต่มีแผลใหญ่มากในกระเพราะอาหาร หรือลำไส้ บางรายปวดท้องมากแต่ไม่มีแผลเลยก็ได้

 

                                                               

                                  แผลที่กระเพาะอาหารก่อนการรักษา                แผลหายไปหลังจากการรักษา

อาการอื่นที่พบ                                                                                                                                                      
- น้ำหนักลด
- เบื่ออาหาร
- แน่นท้อง ท้องเฟ้อ
- คลื่นไส้ อาเจียน

วิธีการรักษาโรคกระเพาะอาหาร

1. กำจัดต้นเหตุของการเกิดโรค ได้แก่

- กินอาหารให้เป็นเวลา
- งดอาหารรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด
- งดดื่มเหล้า เบียร์ หรือยาดอง
- งดดื่มน้ำชา กาแฟ
- งดสูบบุหรี่
- งดเว้นการกินยา ที่มีผลต่อกระเพาะอาหาร
- พักผ่อนให้เพียงพอ ผ่อนคลายคลายตึงเครียด

2. การให้ยารักษา โดยกินยาอย่างถูกต้อง คือ ต้องกินยาให้สม่ำเสมอ กินยาให้ครบตามจำนวน และ ระยะเวลาที่แพทย์สั่งยารักษาโรคกระเพาะอาหาร ส่วนใหญ่ต้องใช้เวลาประมาณอย่างน้อย 4-6 อาทิตย์ แผลจึงจะหาย ดังนั้นภายหลังกินยา ถ้าอาการดีขึ้นห้ามหยุดยา ต้องกินยาต่อจนครบ และแพทย์แน่ใจว่าแผลหายแล้ว จึงจะลดยาหรือหยุดยาวได้

3. การผ่าตัด ซึ่งในปัจจุบัน มียาที่รักษาโรคกระเพาะอาหารอย่างดีจำนวนมากถ้าให้การรักษาที่ถูกต้อง ก็ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดสำหรับการผ่าตัดอาจทำให้เป็นกรณีที่เกิดโรคแทรกซ้อน ได้แก่

- เลือดออกในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก โดยไม่สามารถทำให้หยุดเลือดออกได้
- แผลกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กเกิดการทะลุ
- กระเพาะอาหารมีการอุดตัน

วิธีการป้องกัน

1. กินอาหารให้เป็นเวลา ไม่ปล่อยให้ท้องว่าง หรือหิว ถ้าหิวก่อนเวลาให้ดื่มนม หรือ น้ำเต้าหู้ น้ำข้าว น้ำผลได้

2. หลีกเลี่ยงอาหารรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด จากน้ำสมสายชู

3. งดดื่มเหล้า เบียร์ กาแฟ ยาดอง

4. งดการสูบบุหรี่

5. หลีกเลี่ยงการกินยาแก้ปวด แก้ไข ที่มีแอสไพริน หรือยาชุดต่างๆ รวมทั้งยาแก้ปวดกระดูก และยาsteroid ยาลูกกลอน ยาหม้อต่างๆ

6. ควรพักผ่อนให้มากเพียงพอ ทำจิตใจให้เบิกบานผ่อนคลายเครียดวิตกกังวล และไม่หงุดหงิดอารมณ์เสียง่าย

7. กินยาตามแพทย์สั่ง ถ้ากินยาแล้วอาการดีขึ้น ต้องกินยาติดต่อกันอย่างน้อย 4-6 อาทิตย์ ไม่ควรหยุดยาก่อน เพราะอาการปวดท้องจะกำเริบได้อีก

8. ควรออกกำลังกาย แต่ไม่ควรมากเกินไป

9. อย่าซื้อยากินเอง มีโรคอื่นควรปรึกษาแพทย์

สะท้อนความเห็น     

- ปัจจุบันประชากรในประเทศไทยที่เป็นโรคกระเพาะมีจำนวนสูงขึ้นทุกปีเนื่องจากสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเป็นปัจจัยสำคัญอย่างมากที่สามารถทำให้เกิดโรคต่างๆได้ เเละ หนี่งในนั้นก็คือโรคกระเพาะ เพราะสาเหตุที่คนไทยเป็นโรคกระเพาะได้ง่ายเนื่องจาก เวลาประชากรในประเทศไทยเกิดเวลาความเครียด ก็จะหาทางออกโดยการสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บางคนก็เครียดจนทานอาหารไม่ลง จึงส่งผลต่อการเป็นโรคกระเพาะได้ง่าย

ทำไมถึงสนใจศึกษาเรื่องนี้ ? 

- เพราะ ข้าพเจ้าคิดว่าโรคกระเพาะเป็นโรคที่คนไทยสามารถเป็นได้ง่าย เเละเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวเรา  จึงอยากศึกษาเรื่องโรคกระเพาะนี้ให้คนที่ได้เข้ามาอ่านเเละสามารถไปบอกกล่าวให้ผู้อื่นได้รับฟัง เพื่อเป็นแนวทางป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นกับตัวเองได้

คิดอย่างไรกับโรคนี้ ?

- ข้าพเจ้าคิดว่าคนไทยมองว่าโรคกระเพาะเป็นโรคที่ไม่ร้ายเเรง เเต่จริงๆแล้วโรคกระเพาะสามารถทำให้คนที่เป็นโรคนี้เสียชีวิตได้ เพราะฉะนั้น เราควรป้องกันเอาไว้ โดยการรับประทานอาหารครบทุกมื้อ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ไม่เครียดจนเกินไป ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่สูบบุหรี่ เพื่อประโยชน์แก่ตัวเราเองด้วย

 

แหล่งที่มารูปภาพ  :  http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/picture/pu1.jpg

http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/picture/pu2.jpg

 

แหล่งที่มาข้อมูล  :  http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/GI/pu/peptic_ulcer.htm

http://www.thailabonline.com/sec51peptic.htm

 http://www.yourhealthyguide.com/article/as-stomach.html

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 294 คน กำลังออนไลน์