• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1681d5818e3b3025a28b4d57cfb81bf9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #3366ff\"> <img border=\"0\" width=\"320\" src=\"/files/u7495/1227336150.jpg\" height=\"240\" /></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #3366ff\">แหล่งที่มาของรูป: <a href=\"http://www.kantang-hospital.net/html/modules/activeshow_mod/images/picture/1227336150.jpg\">http://www.kantang-hospital.net/html/modules/activeshow_mod/images/picture/1227336150.jpg</a></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #008080\">โรคหัด  ( Measles)</span></span></strong>\n</p>\n<p>\n     <span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\">โรคหัดเป็นโรคไข้ออกผื่น (Exanthematous fever)ที่พบบ่อยในเด็กเล็กนับว่าเป็นดรคที่มีความสำคัญมากโรคหนึ่ง  เพราะอาจมี</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\">โรคแทรกซ้อนทำให้ถึงเสียชีวิตได้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"><strong><span style=\"color: #3366ff\">สาเหตุ</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">     เกิดจ<span style=\"color: #808000\">ากเชื้อไวรัส Measles ซึ่งอยู่ในตระกูล Paramyxovirus ซึ่งเป็น RNA ไวรัสที่จะพบได้ในจมูกและลำคอของผู้ป่วย</span></span><span style=\"color: #808000\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #3366ff\"><strong>อาการของโรคหัด</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">     <span style=\"color: #808000\">อาการเริ่มด้วยมีไข้  น้ำมูกไหล  ไอ  ตาแดง ตาแฉะและกลัวแสงอาการต่างๆจะมากขึ้นพร้อมกับไข้สูงขึ้นและจะสูงเต็มที่เมื่อมีผื่นขึ้นในวันที่ 4 ของไข้ลักษณะผื่นนูนแดงติดกันเป็นปื้นๆดดยจะขึ้นที่หน้า บริเวณชิดขอบผมแล้วแผ่กระจายไปตามลำตัว แขน ขา เมื่อผื่นแพร่กระจายไปทั่วตัวซึ่งกินเวลาประมาณ 2-3 วัน ไข้ก้จะเริ่มลดลง  ผื่นที่ระยะแรกมีสีแดงจะมีสีเข้มขึ้นเป็นสีแดงคล้ำหรือน้ำตาลแดงซึ่งคงอยู่นาน5-6 </span><span style=\"color: #808000\">วันกว่าจะจางหายไปหมด กินเวลาประมาณ2 สัปดาห์ บางครั้งจะพบผิวหนังลอกเป็นขุย</span></span><span style=\"color: #808000\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\">     การตรวจในระยะ1-2 วันก่อนผื่นขึ้นจะพบจุดขาวๆเล็กๆมีขอบสีแดงๆอยู่ในกระพุ้งแก้ม วึ้งจะช่วยให้วินิจแยโรคหัดได้ก่อนที่จะมีผื่นขึ้น</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"><strong><span style=\"color: #3366ff\">การรักษา</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\">-  ให้การรักษาตามอาการ ถ้าไข้สูงมากให้ยาลดไข้เป็นครั้งคราวร่วมกับการเช็ดตัว ให้ยาแก้ไอที่เป็นยาขับเสมหะได้เป็นครั้งคราว</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\">-  ไม่จำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะ นอกจากรายที่มีโรคแทรกซ้อนเช่นปอดอักเสบหูอักเสบ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\">-  ให้อาหารอ่อนที่มีคุณค่าทางอาหารครบถ้วน ให้วิตามินเสริมโดยเฉพาะวิตามินเอ องค์การอนามัยโลกและUNICEF แนะนำให้วิตามินเอ  แก่เด็กที่เป็นหัด</span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #3366ff\">การแยกผู้ป่วย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     </strong><span style=\"color: #808000\">แยกผู้ป่วยที่สงสัยเป็นหัดจนถึง 4 วันหลังผื่นขึ้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"><strong><span style=\"color: #3366ff\">การป้องกัน</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><strong>    </strong> <span style=\"color: #808000\">หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วย วิธีที่ดีที่สุดคือให้วัคซีนป้อกันปัจจุบันกระทรวงสาะรณสุขให้วัคซีนป้องกันโรคหัด2ครั้ง ครั้งแรกเมื่อเด็กอายุ9-12 เดือนโดยให้ในรูปของวัคซีนหัดชนิดเยว (m) ครั้งที่สองเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 โดยให้ในรูปของวัคซีนรวมป้องกันโรคหัด คางทูม หัดเยอรมัน (MMR) </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\">     สำหรับผู้ที่สัมผัสโรคภายในระยะ72 ชั่วโมงอาจพิจารณาให้วัคซีนหัดทันทีซึ่งจะป็องกันโรคได้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\">     ถ้าสัมผัสโรคเกิน72 ชั่วโมงแต่ไม่เกิน6 วันให้ Immune globulin(IG)เพื่อป้องกันหรือทำให้ความรุนแรงของโรคลดลง โดยให้ IG ฉีดเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน0.25 มล./กก. ผู้ที่ควรพิจารณาให้ IG ได้แก่เด็กเล็กอายุน้อกว่า1 ปี ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง หญิงมีครรภ์ และเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ซึ่งคนเหล่านั้นถ้าเป็นหัดแล้วจะมีภาวะแทรกซ้อนสูง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><strong>การวินิจฉัยโรค</strong></span>\n</p>\n<p>\n    <span style=\"color: #808000\"> จากอาการทางคลินิก ลักษณะการเกิดผื่นในวันที่ 4 และการแพร่กระจายของผื่นจากหน้าไปยังแขนขา การมีKoplik\'s spots แต่การวินิจฉัยที่แน่นอนคือการตรวจหา antibody ต่อ measles โดยการเจาะเลือดตรวจในระยะที่มีผื่น และครั้งที่สองห่างไป 2-4 สัปดาห์ ด้วยวิธี Hemagglutination inhibition test หรืออาจตรวจด้วยวิธี ELISA ตรวจหา specific IgM การแยกเชื้อไวรัสจาก nasopharyngeal secretion จากตาหรือปัสสาวะ ในระยะที่มีไข้จะสามารถยืนยันได้ว่าเป็นโรคหัดแต่การแยกเชื้อทำได้ยาก จึงไม่ได้ทำกันนอกจากเป็นการวิจัย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><strong>ระบาดวิทยา</strong></span>\n</p>\n<p>\n    <span style=\"color: #808000\"> โรคหัดติดต่อกันได้ง่ามาก โดยการไอ จาม หรือพูดกันในระยะใกล้ชิด เชื้อไวรัสจะกระจายอยู่ในละอองเสมหะ น้ำมูก น้ำลายของผู้ป่วยและเข้าสู่ร่างกายโดยทางการหายใจ บางครั้งเชื้ออยู่ในอากาศเมื่อหายใจเอาระอองที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัสเข้าไปก้ทำใหเป็นโรคได้ผู้ติดเชื้อจะเป็นโรคเกือบทุกราย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">     ถ้าไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรค เด็กมีโอกาสเป็นหัดได้เมื่อภูมิคุ้มกันที่ผ่านมาจากแม่หมดไปเมื่ออายุประมาณ 6-9 เดือนอายุที่พบบ่อยคือ 1-6 ปี ถ้าไม่มีภูมิต้านทานจะเป็นได้ทุกอายุ ในประเทศไทยเริ่มให้วัคซีนป้องกันโรคหัดเมื่อพ.ศ.2527 ทำให้อุบัติการณ์ของโรคลดลงเป็นจำนวนมากโดยเพาะในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีแต่ก็ยังพบโรคได้ประปรายและมีการระบาดเป็นครั้งคราวในชนบท ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่จะเป็นเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีน และเป็นเด็กอายุเกิน5 ปีมากขึ้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">     ผู้ป่วยหัดจะมีเชื้อไวรัสในลำคอและแพร่เชื่อได้ในระยะจาก 1-2วันก่อนที่จะเริ่มมีอาการไปถึงระยะหลังผื่นขึ้นแล้ว 4วัน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">ระยะฝักตัวของโรคจากที่เริ่มสัมผัสโรคจนถึงมีอาการประมาณ8-12 วันเฉลี่ยจากวันที่สัมผัสจนถึงมีผื่นเกิขึ้นประมาณ14วัน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><strong>โรคแทรกซ้อน</strong></span>\n</p>\n<p>\n    <span style=\"color: #808000\"> พบได้บ่อยมากโดยเฉพาะเด็กที่อยู่ในสภาพยากจน อยู่ในชุมชนแออัด มีภาวะทุพโภชนาการและในเด็กเล็กที่พบบ่อยมีดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">1.  ระบบทางเดินหายใจ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">     - หูส่วนกลางอักเสบ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">     - หลอดลมอักเสบ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">     - ปอดอักเสบ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">2.  ระบบทางเดินอาหาร พบอุจาระร่วงซึ่งจะนำไปสู่ภาวะทุพโภชนาการ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">3.  สมองอักเสบพบได้ประมาณ1ใน1000ราย ซึ่งจะทำให้มีการพิการเหลืออยู่ ถ้าไม่เสียชีวิต</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">4.  ในเด็กที่มีภาวะขาดวิตามินเออาจจะรุนแรงและอาจทำให้มีอาการตาบอด</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><strong>โรคหัดจัดอยู่ในกลุ่มโรคประเภท ผิวหนัง</strong></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><strong>แหล่งที่มาของข้อมูล</strong></span>:  <a href=\"http://thaigcd.ddc.moph.go.th/vac-p-Mea.html\">http://thaigcd.ddc.moph.go.th/vac-p-Mea.html</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"><strong>สะท้อนความคิดเห็น</strong></span>\n</p>\n<p>\n     <span style=\"color: #808000\">โรคหัดจะเกิดกับเด็กเล็กเพราะเด็กเล็กจะไม่มีภูมิคุ้มกันหรือภูมิต้านทานที่ดี โอกาสที่จะเป็นโรคหัดมีมากกว่าเด็กโต เด็กที่พบว่าเป็นโรคหัดส่วนใหญ่จะเป็นเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนป้องกันและเป็นเด็กอายุเกิน 5ปี  ดังนั้นพ่อแม่ควรพาเด็กไปรับวัคซีนเพื่อป้องกันการเป็นโรคหัด ในกรณีที่เด็กเป็นโรคหัดก็ไม่ต้องตกใจกลัวโรคชนิดนี้ เพราะโรคหัดมีวัคซีนป้องกันทำให้รักษาจนหายได้และเมื่อสงสัยว่าเด็กเป็นโรคหัดก็ควรพาไปพบแพทย์ถ้าปล่อยไว้เป็นเวลานานๆอาจเกิดโรคแทรกซ้อนขึ้นกับตัวเด็กได้และอาจจะเป็นอันตรายกับเด็กมากยิ่งขึ้น</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727542694, expire = 1727629094, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1681d5818e3b3025a28b4d57cfb81bf9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคหัด

รูปภาพของ sss27443

 

แหล่งที่มาของรูป: http://www.kantang-hospital.net/html/modules/activeshow_mod/images/picture/1227336150.jpg

โรคหัด  ( Measles)

     โรคหัดเป็นโรคไข้ออกผื่น (Exanthematous fever)ที่พบบ่อยในเด็กเล็กนับว่าเป็นดรคที่มีความสำคัญมากโรคหนึ่ง  เพราะอาจมี

โรคแทรกซ้อนทำให้ถึงเสียชีวิตได้

สาเหตุ

     เกิดจากเชื้อไวรัส Measles ซึ่งอยู่ในตระกูล Paramyxovirus ซึ่งเป็น RNA ไวรัสที่จะพบได้ในจมูกและลำคอของผู้ป่วย

อาการของโรคหัด

     อาการเริ่มด้วยมีไข้  น้ำมูกไหล  ไอ  ตาแดง ตาแฉะและกลัวแสงอาการต่างๆจะมากขึ้นพร้อมกับไข้สูงขึ้นและจะสูงเต็มที่เมื่อมีผื่นขึ้นในวันที่ 4 ของไข้ลักษณะผื่นนูนแดงติดกันเป็นปื้นๆดดยจะขึ้นที่หน้า บริเวณชิดขอบผมแล้วแผ่กระจายไปตามลำตัว แขน ขา เมื่อผื่นแพร่กระจายไปทั่วตัวซึ่งกินเวลาประมาณ 2-3 วัน ไข้ก้จะเริ่มลดลง  ผื่นที่ระยะแรกมีสีแดงจะมีสีเข้มขึ้นเป็นสีแดงคล้ำหรือน้ำตาลแดงซึ่งคงอยู่นาน5-6 วันกว่าจะจางหายไปหมด กินเวลาประมาณ2 สัปดาห์ บางครั้งจะพบผิวหนังลอกเป็นขุย

     การตรวจในระยะ1-2 วันก่อนผื่นขึ้นจะพบจุดขาวๆเล็กๆมีขอบสีแดงๆอยู่ในกระพุ้งแก้ม วึ้งจะช่วยให้วินิจแยโรคหัดได้ก่อนที่จะมีผื่นขึ้น

การรักษา

-  ให้การรักษาตามอาการ ถ้าไข้สูงมากให้ยาลดไข้เป็นครั้งคราวร่วมกับการเช็ดตัว ให้ยาแก้ไอที่เป็นยาขับเสมหะได้เป็นครั้งคราว

-  ไม่จำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะ นอกจากรายที่มีโรคแทรกซ้อนเช่นปอดอักเสบหูอักเสบ

-  ให้อาหารอ่อนที่มีคุณค่าทางอาหารครบถ้วน ให้วิตามินเสริมโดยเฉพาะวิตามินเอ องค์การอนามัยโลกและUNICEF แนะนำให้วิตามินเอ  แก่เด็กที่เป็นหัด

การแยกผู้ป่วย

     แยกผู้ป่วยที่สงสัยเป็นหัดจนถึง 4 วันหลังผื่นขึ้น

การป้องกัน

     หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วย วิธีที่ดีที่สุดคือให้วัคซีนป้อกันปัจจุบันกระทรวงสาะรณสุขให้วัคซีนป้องกันโรคหัด2ครั้ง ครั้งแรกเมื่อเด็กอายุ9-12 เดือนโดยให้ในรูปของวัคซีนหัดชนิดเยว (m) ครั้งที่สองเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 โดยให้ในรูปของวัคซีนรวมป้องกันโรคหัด คางทูม หัดเยอรมัน (MMR)

     สำหรับผู้ที่สัมผัสโรคภายในระยะ72 ชั่วโมงอาจพิจารณาให้วัคซีนหัดทันทีซึ่งจะป็องกันโรคได้

     ถ้าสัมผัสโรคเกิน72 ชั่วโมงแต่ไม่เกิน6 วันให้ Immune globulin(IG)เพื่อป้องกันหรือทำให้ความรุนแรงของโรคลดลง โดยให้ IG ฉีดเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน0.25 มล./กก. ผู้ที่ควรพิจารณาให้ IG ได้แก่เด็กเล็กอายุน้อกว่า1 ปี ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง หญิงมีครรภ์ และเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ซึ่งคนเหล่านั้นถ้าเป็นหัดแล้วจะมีภาวะแทรกซ้อนสูง

การวินิจฉัยโรค

     จากอาการทางคลินิก ลักษณะการเกิดผื่นในวันที่ 4 และการแพร่กระจายของผื่นจากหน้าไปยังแขนขา การมีKoplik's spots แต่การวินิจฉัยที่แน่นอนคือการตรวจหา antibody ต่อ measles โดยการเจาะเลือดตรวจในระยะที่มีผื่น และครั้งที่สองห่างไป 2-4 สัปดาห์ ด้วยวิธี Hemagglutination inhibition test หรืออาจตรวจด้วยวิธี ELISA ตรวจหา specific IgM การแยกเชื้อไวรัสจาก nasopharyngeal secretion จากตาหรือปัสสาวะ ในระยะที่มีไข้จะสามารถยืนยันได้ว่าเป็นโรคหัดแต่การแยกเชื้อทำได้ยาก จึงไม่ได้ทำกันนอกจากเป็นการวิจัย

ระบาดวิทยา

     โรคหัดติดต่อกันได้ง่ามาก โดยการไอ จาม หรือพูดกันในระยะใกล้ชิด เชื้อไวรัสจะกระจายอยู่ในละอองเสมหะ น้ำมูก น้ำลายของผู้ป่วยและเข้าสู่ร่างกายโดยทางการหายใจ บางครั้งเชื้ออยู่ในอากาศเมื่อหายใจเอาระอองที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัสเข้าไปก้ทำใหเป็นโรคได้ผู้ติดเชื้อจะเป็นโรคเกือบทุกราย

     ถ้าไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรค เด็กมีโอกาสเป็นหัดได้เมื่อภูมิคุ้มกันที่ผ่านมาจากแม่หมดไปเมื่ออายุประมาณ 6-9 เดือนอายุที่พบบ่อยคือ 1-6 ปี ถ้าไม่มีภูมิต้านทานจะเป็นได้ทุกอายุ ในประเทศไทยเริ่มให้วัคซีนป้องกันโรคหัดเมื่อพ.ศ.2527 ทำให้อุบัติการณ์ของโรคลดลงเป็นจำนวนมากโดยเพาะในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีแต่ก็ยังพบโรคได้ประปรายและมีการระบาดเป็นครั้งคราวในชนบท ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่จะเป็นเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีน และเป็นเด็กอายุเกิน5 ปีมากขึ้น

     ผู้ป่วยหัดจะมีเชื้อไวรัสในลำคอและแพร่เชื่อได้ในระยะจาก 1-2วันก่อนที่จะเริ่มมีอาการไปถึงระยะหลังผื่นขึ้นแล้ว 4วัน

ระยะฝักตัวของโรคจากที่เริ่มสัมผัสโรคจนถึงมีอาการประมาณ8-12 วันเฉลี่ยจากวันที่สัมผัสจนถึงมีผื่นเกิขึ้นประมาณ14วัน

โรคแทรกซ้อน

     พบได้บ่อยมากโดยเฉพาะเด็กที่อยู่ในสภาพยากจน อยู่ในชุมชนแออัด มีภาวะทุพโภชนาการและในเด็กเล็กที่พบบ่อยมีดังนี้

1.  ระบบทางเดินหายใจ

     - หูส่วนกลางอักเสบ

     - หลอดลมอักเสบ

     - ปอดอักเสบ

2.  ระบบทางเดินอาหาร พบอุจาระร่วงซึ่งจะนำไปสู่ภาวะทุพโภชนาการ

3.  สมองอักเสบพบได้ประมาณ1ใน1000ราย ซึ่งจะทำให้มีการพิการเหลืออยู่ ถ้าไม่เสียชีวิต

4.  ในเด็กที่มีภาวะขาดวิตามินเออาจจะรุนแรงและอาจทำให้มีอาการตาบอด

โรคหัดจัดอยู่ในกลุ่มโรคประเภท ผิวหนัง

 

แหล่งที่มาของข้อมูลhttp://thaigcd.ddc.moph.go.th/vac-p-Mea.html

สะท้อนความคิดเห็น

     โรคหัดจะเกิดกับเด็กเล็กเพราะเด็กเล็กจะไม่มีภูมิคุ้มกันหรือภูมิต้านทานที่ดี โอกาสที่จะเป็นโรคหัดมีมากกว่าเด็กโต เด็กที่พบว่าเป็นโรคหัดส่วนใหญ่จะเป็นเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนป้องกันและเป็นเด็กอายุเกิน 5ปี  ดังนั้นพ่อแม่ควรพาเด็กไปรับวัคซีนเพื่อป้องกันการเป็นโรคหัด ในกรณีที่เด็กเป็นโรคหัดก็ไม่ต้องตกใจกลัวโรคชนิดนี้ เพราะโรคหัดมีวัคซีนป้องกันทำให้รักษาจนหายได้และเมื่อสงสัยว่าเด็กเป็นโรคหัดก็ควรพาไปพบแพทย์ถ้าปล่อยไว้เป็นเวลานานๆอาจเกิดโรคแทรกซ้อนขึ้นกับตัวเด็กได้และอาจจะเป็นอันตรายกับเด็กมากยิ่งขึ้น

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 272 คน กำลังออนไลน์