• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c4dd9479803d1fd810126aa2f98dcc3f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000000\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u7496/123456.jpg\" height=\"136\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\">ที่มาภาพ </span><a href=\"http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/rheumatoid/ra/osteoarthritis.htm\"><span style=\"color: #000000\">http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/rheumatoid/ra/osteoarthritis.htm</span></a>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1.ชื่อโรค - โรคข้อเสื่อม (Osteoarthritis)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2.ผู้ค้นพบ - ไม่พบเนื้อหา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3.อยุ่ในกลุ่มโรค - ระบบโรคข้อ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">4.สาเหตุของการเกิดโรค - อายุ พบมากในคนสูงอายุแต่ก็ไม่ใช่ปัจจัยสำคัญ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">                                    อ้วน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">                                    ข้อได้รับอุบัติเหตุจากการเล่นกีฬา หรือจากการทำงาน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">                                   กรรมพันธุ์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">                                   อายุน้อยกว่า 45 ผู้ชายเป็นมากกว่าผู้หญิง อายุมากกว่า 45 ผู้หญิงเป็นมากกว่าผู้ชาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">5.อาการของโรค  - มีอาการปวดข้ออยู่ตลอดเวลา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">                          ข้อจะยึดหรือข้อติดหลังจากตื่นนอน หรืออยู่ท่าใดท่าหนึ่งนานๆ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">                          ข้อบวมหรือกดเจ็บ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">                          รู้สึกเหมือนกระดูกกระทบกัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">                          ข้อเสื่อมมักจะไม่มีแดง หรือร้อน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"> 6.วิธีการรักษา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">มีวิธีที่สามารถรักษาโรค โดยตนเองและโดยแพทย์ดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\">1. ลดน้ำหนัก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1.1 การตรวจสอบน้ำหนักว่าเกินเกณฑ์หรืออ้วนเกินไป สูตรดรรชนีมวลกาย (body mass index) คือ ใช้น้ำหนัก (กิโลกรัม) เป็นตัวตั้งหารด้วยส่วนสูง (เมตร) ยกกำลังสอง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">สูตร body mass index (BMI)=น้ำหนัก (กิโลกรัม)/ส่วนสูง (ม.2) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ถ้า BMI ไม่เกิน 25 กก./ม.2 ถือว่า น้ำหนักไม่เกิน ถ้าเกิน 30 กก./ม.2 ถือว่าอ้วน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1.2 วิธีการลดน้ำหนัก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">- ดื่มน้ำต้มสุกก่อนรับประทานอาหารทุกมื้อ ถ้าท้องผูกให้เพิ่มการดื่มน้ำในตอนเช้า ประมาณ 3-4 แก้วทุกเช้า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">- ลดอาหารรสหวาน ของหวาน น้ำหวาน ผลไม้หวาน นมข้นหวาน ฯลฯ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">- งดของมันทุกชนิด ได้แก่ ข้าวผัด ก๋วยเตี๋ยวผัด ก๋วยเตี๋ยวแห้ง ข้าวมันไก่ ข้าวขาหมู แกงกะทิ ฯลฯ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">- รับประทานอาหารให้พออิ่มทุกมื้อ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2. การรักษาโดยการใช้ยา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2.1 ยากิน ยาที่แพทย์สั่งให้ได้แก่ ยาแก้ปวด (แอสไพริน พาราเซทตามอล) และยาแก้อักเสบ (ไดโครฟีแนค, ไพร็อกซิแคม อินโดเมทาซิน ฯลฯ) ยาแก้อักเสบเหล่านี้ ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ) การใช้ยาเป็นการรักษาที่ปลายเหตุเพื่อลดปวดและลดการอักเสบ ถ้าไปใช้งานหรือรับน้ำหนักอีก ข้อก็จะอักเสบอีก ผลข้างเคียงของยาแก้อักเสบ คือ ผลต่อไต ผลระคายกระเพาะอาหาร และลำไส้อันอาจทำให้กระเพาะอาหารทะลุ มีแผลในกระเพาะอาหาร เลือดออกในกระเพาะอาหารทำให้อุจจาระดำ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\">2.2 ยาฉีด ยาที่ฉีดเป็นยาจำพวกสเตียรอยด์ เป็นการฉีดเข้าข้ออักเสบเฉพาะที่ ข้อเสียของการฉีดยา (มีมากกว่าข้อดี) ได้แก่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">- ทำให้ข้อเสื่อมเร็วขึ้น การฉีดยาจะส่งสัญญาณเตือนภัย คือ อาการเจ็บปวด (แต่ข้อยังคงมีการอักเสบอยู่) เมื่อฉีดยาแล้ว อาการปวดหมดไป ก็จะเริ่มใช้งาน เริ่มเดิน ยืน ตามปกติ ข้อก็จะอักเสบเพิ่มขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">- มีโอกาสติดเชื้อ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">- ยาสเตียรอยด์จะตกตะกอนในข้อ ทำให้ข้อเสื่อมเร็ว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">- เสียเงินค่าฉีดยาโดยไม่จำเป็น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ข้อบ่งชี้การฉีดยาคือ อาการปวดที่รุนแรง เมื่อฉีดแล้วต้องพักข้อข้างที่ถูกฉีดให้เต็มที่ไม่ให้รับน้ำหนัก หรือใช้งานเวลา 1-2 สัปดาห์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3. การรักษาโดยการผ่าตัด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3.1 ใช้การส่องกล้องเพื่อกวาดล้างสิ่งแปลกปลอมในข้ออก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3.2 ตัดกระดูกและจัดกระดูกที่โก่งงอให้ตรง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3.3 เปลี่ยนข้อเทียม ในกรณีที่ข้อเสื่อมขั้นรุนแรง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">4. การใช้เครื่องช่วยพยุงเข้าและใช้ไม้เท้าช่วยเดิน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">เพื่อลดการรับน้ำหนักของข้อ เครื่องช่วยพยุงข้อชนิดต่างๆ จะเสริมความมั่นคงของข้อให้กระชับและแข็งแรงขึ้น แต่ต้องหมั่นบริหารกล้ามเนื้อรอบข้อให้แข็งแรงอยู่เสมอ เพื่อป้องกันกล้ามเนื้อลีบเล็กลง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">7.วิธีการป้องกัน - </span><span style=\"color: #0000ff\">การป้องกันในรายที่ยังไม่มีอาการใดๆ ได้แก่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1. จำกัดอาหารมันและหวานเพื่อมิให้น้ำหนักเกินพิกัด อาหารที่แนะนำ คือผักผลไม้ที่ไม่หวาน เต้าหู้ เนื้อปลา วุ้นเส้นที่ทำจากถั่วเขียวและดื่มน้ำต้มสุก ลดน้ำหวาน น้ำอัดลม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2. หลีกเลี่ยงการใช้งานที่เกินกำลัง และท่าทางที่จะทำให้ข้อมีความดันเพิ่มสูง ได้แก่ ท่านั่งยองคุกเข่า พับเพียบ ท่าก้มหลัง เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3. บริหารร่างกายให้แข็งแรงอย่างสม่ำเสมอ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">4. หลีกเลี่ยงการบาดเจ็บจากอุบัติที่อาจทำให้กระดูกหักผ่านข้อ เอ็นยืดข้อฉีกขาด ข้อแพลง เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">5.ตรวจเช็คร่างกายอย่างสม่ำเสมอทุกปี </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">การป้องกันในรายที่ข้อมีอาการปวดบวมอักเสบ ที่สำคัญคือการป้องกัน การโก่งงอผิดรูปของข้อได้แก่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1. ลดน้ำหนัก เปลี่ยนข้าวเป็นข้าวซ้อมมือ หรือข้าวกล้อง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2. ลดการใช้งานเข่า การวิ่งหรือจ๊อกกิ้งจะทำให้ข้อเข่า ต้องรับน้ำหนัก 10 เท่าของน้ำหนักตัว การเดินเข่าจะรับน้ำหนัก ประมาณ 4.5 เท่าของน้ำหนักตัว ส่วนการถีบจักรยาน เข่าจะรับน้ำหนักเพียง 1.5 เท่าของน้ำหนักตัว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3. ประคบน้ำเย็นหรือน้ำแข็งเมื่อข้อเกิดการอักเสบ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">4. ใช้เครื่องช่วยพยุงข้อ หรือใช้ไม้เท้าช่วยเดินขณะเกิดการอักเสบ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">5. บริหารกล้ามเนื้อรอบเข่า และออกกำลังกาย ให้ร่างกายแข็งแรงอย่างสม่ำเสมอ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">6. กินยาแก้ปวด แก้อักเสบ เป็นครั้งคราว หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข่าข้อ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">8.สะท้อนความคิดเห็น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\"> 8.1- ทำไมสนใจศึกษาโรคนี้ - เพราะโรคนี้พบมากในผู้สูงอายุและที่บ้านก้อมีผู้สูงอายุอาศัยอยู่ด้วย เพื่อเป็นแนวทางป้องกันจึงอยากศึกษาไว้เป็นความรู้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">8.2 - คิดอย่างไรกับโรคนี้ - เป็นโรคที่น่ากลัวโรคหนึ่ง หากเราไม่รักษาและดูแลสุขภาพของเราเอง ในอนาคตเราก็จะเป็นผู้สูงอายุ ควรที่จะบำรุงรักษาไว้แต่เนิ่นๆ เพื่อไม่ให้โรคนี้เกิดขึ้นกับตัวเราเอง </span><strong> </strong>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ที่มาเนื้อหา </span><a href=\"http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/rheumatoid/ra/osteoarthritis.htm\"><span style=\"color: #000000\">http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/rheumatoid/ra/osteoarthritis.htm</span></a>\n</p>\n', created = 1727542901, expire = 1727629301, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c4dd9479803d1fd810126aa2f98dcc3f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคข้อเสื่อม

รูปภาพของ sss27187

1.ชื่อโรค - โรคข้อเสื่อม (Osteoarthritis)

2.ผู้ค้นพบ - ไม่พบเนื้อหา

3.อยุ่ในกลุ่มโรค - ระบบโรคข้อ

4.สาเหตุของการเกิดโรค - อายุ พบมากในคนสูงอายุแต่ก็ไม่ใช่ปัจจัยสำคัญ

                                    อ้วน

                                    ข้อได้รับอุบัติเหตุจากการเล่นกีฬา หรือจากการทำงาน

                                   กรรมพันธุ์

                                   อายุน้อยกว่า 45 ผู้ชายเป็นมากกว่าผู้หญิง อายุมากกว่า 45 ผู้หญิงเป็นมากกว่าผู้ชาย

5.อาการของโรค  - มีอาการปวดข้ออยู่ตลอดเวลา

                          ข้อจะยึดหรือข้อติดหลังจากตื่นนอน หรืออยู่ท่าใดท่าหนึ่งนานๆ

                          ข้อบวมหรือกดเจ็บ

                          รู้สึกเหมือนกระดูกกระทบกัน

                          ข้อเสื่อมมักจะไม่มีแดง หรือร้อน

 6.วิธีการรักษา

มีวิธีที่สามารถรักษาโรค โดยตนเองและโดยแพทย์ดังนี้

1. ลดน้ำหนัก

1.1 การตรวจสอบน้ำหนักว่าเกินเกณฑ์หรืออ้วนเกินไป สูตรดรรชนีมวลกาย (body mass index) คือ ใช้น้ำหนัก (กิโลกรัม) เป็นตัวตั้งหารด้วยส่วนสูง (เมตร) ยกกำลังสอง

สูตร body mass index (BMI)=น้ำหนัก (กิโลกรัม)/ส่วนสูง (ม.2)

ถ้า BMI ไม่เกิน 25 กก./ม.2 ถือว่า น้ำหนักไม่เกิน ถ้าเกิน 30 กก./ม.2 ถือว่าอ้วน

1.2 วิธีการลดน้ำหนัก

- ดื่มน้ำต้มสุกก่อนรับประทานอาหารทุกมื้อ ถ้าท้องผูกให้เพิ่มการดื่มน้ำในตอนเช้า ประมาณ 3-4 แก้วทุกเช้า

- ลดอาหารรสหวาน ของหวาน น้ำหวาน ผลไม้หวาน นมข้นหวาน ฯลฯ

- งดของมันทุกชนิด ได้แก่ ข้าวผัด ก๋วยเตี๋ยวผัด ก๋วยเตี๋ยวแห้ง ข้าวมันไก่ ข้าวขาหมู แกงกะทิ ฯลฯ

- รับประทานอาหารให้พออิ่มทุกมื้อ

2. การรักษาโดยการใช้ยา

2.1 ยากิน ยาที่แพทย์สั่งให้ได้แก่ ยาแก้ปวด (แอสไพริน พาราเซทตามอล) และยาแก้อักเสบ (ไดโครฟีแนค, ไพร็อกซิแคม อินโดเมทาซิน ฯลฯ) ยาแก้อักเสบเหล่านี้ ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ) การใช้ยาเป็นการรักษาที่ปลายเหตุเพื่อลดปวดและลดการอักเสบ ถ้าไปใช้งานหรือรับน้ำหนักอีก ข้อก็จะอักเสบอีก ผลข้างเคียงของยาแก้อักเสบ คือ ผลต่อไต ผลระคายกระเพาะอาหาร และลำไส้อันอาจทำให้กระเพาะอาหารทะลุ มีแผลในกระเพาะอาหาร เลือดออกในกระเพาะอาหารทำให้อุจจาระดำ

2.2 ยาฉีด ยาที่ฉีดเป็นยาจำพวกสเตียรอยด์ เป็นการฉีดเข้าข้ออักเสบเฉพาะที่ ข้อเสียของการฉีดยา (มีมากกว่าข้อดี) ได้แก่

- ทำให้ข้อเสื่อมเร็วขึ้น การฉีดยาจะส่งสัญญาณเตือนภัย คือ อาการเจ็บปวด (แต่ข้อยังคงมีการอักเสบอยู่) เมื่อฉีดยาแล้ว อาการปวดหมดไป ก็จะเริ่มใช้งาน เริ่มเดิน ยืน ตามปกติ ข้อก็จะอักเสบเพิ่มขึ้น

- มีโอกาสติดเชื้อ

- ยาสเตียรอยด์จะตกตะกอนในข้อ ทำให้ข้อเสื่อมเร็ว

- เสียเงินค่าฉีดยาโดยไม่จำเป็น

ข้อบ่งชี้การฉีดยาคือ อาการปวดที่รุนแรง เมื่อฉีดแล้วต้องพักข้อข้างที่ถูกฉีดให้เต็มที่ไม่ให้รับน้ำหนัก หรือใช้งานเวลา 1-2 สัปดาห์

3. การรักษาโดยการผ่าตัด

3.1 ใช้การส่องกล้องเพื่อกวาดล้างสิ่งแปลกปลอมในข้ออก

3.2 ตัดกระดูกและจัดกระดูกที่โก่งงอให้ตรง

3.3 เปลี่ยนข้อเทียม ในกรณีที่ข้อเสื่อมขั้นรุนแรง

4. การใช้เครื่องช่วยพยุงเข้าและใช้ไม้เท้าช่วยเดิน

เพื่อลดการรับน้ำหนักของข้อ เครื่องช่วยพยุงข้อชนิดต่างๆ จะเสริมความมั่นคงของข้อให้กระชับและแข็งแรงขึ้น แต่ต้องหมั่นบริหารกล้ามเนื้อรอบข้อให้แข็งแรงอยู่เสมอ เพื่อป้องกันกล้ามเนื้อลีบเล็กลง

7.วิธีการป้องกัน - การป้องกันในรายที่ยังไม่มีอาการใดๆ ได้แก่

1. จำกัดอาหารมันและหวานเพื่อมิให้น้ำหนักเกินพิกัด อาหารที่แนะนำ คือผักผลไม้ที่ไม่หวาน เต้าหู้ เนื้อปลา วุ้นเส้นที่ทำจากถั่วเขียวและดื่มน้ำต้มสุก ลดน้ำหวาน น้ำอัดลม

2. หลีกเลี่ยงการใช้งานที่เกินกำลัง และท่าทางที่จะทำให้ข้อมีความดันเพิ่มสูง ได้แก่ ท่านั่งยองคุกเข่า พับเพียบ ท่าก้มหลัง เป็นต้น

3. บริหารร่างกายให้แข็งแรงอย่างสม่ำเสมอ

4. หลีกเลี่ยงการบาดเจ็บจากอุบัติที่อาจทำให้กระดูกหักผ่านข้อ เอ็นยืดข้อฉีกขาด ข้อแพลง เป็นต้น

5.ตรวจเช็คร่างกายอย่างสม่ำเสมอทุกปี

การป้องกันในรายที่ข้อมีอาการปวดบวมอักเสบ ที่สำคัญคือการป้องกัน การโก่งงอผิดรูปของข้อได้แก่

1. ลดน้ำหนัก เปลี่ยนข้าวเป็นข้าวซ้อมมือ หรือข้าวกล้อง

2. ลดการใช้งานเข่า การวิ่งหรือจ๊อกกิ้งจะทำให้ข้อเข่า ต้องรับน้ำหนัก 10 เท่าของน้ำหนักตัว การเดินเข่าจะรับน้ำหนัก ประมาณ 4.5 เท่าของน้ำหนักตัว ส่วนการถีบจักรยาน เข่าจะรับน้ำหนักเพียง 1.5 เท่าของน้ำหนักตัว

3. ประคบน้ำเย็นหรือน้ำแข็งเมื่อข้อเกิดการอักเสบ

4. ใช้เครื่องช่วยพยุงข้อ หรือใช้ไม้เท้าช่วยเดินขณะเกิดการอักเสบ

5. บริหารกล้ามเนื้อรอบเข่า และออกกำลังกาย ให้ร่างกายแข็งแรงอย่างสม่ำเสมอ

6. กินยาแก้ปวด แก้อักเสบ เป็นครั้งคราว หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข่าข้อ

8.สะท้อนความคิดเห็น 

 8.1- ทำไมสนใจศึกษาโรคนี้ - เพราะโรคนี้พบมากในผู้สูงอายุและที่บ้านก้อมีผู้สูงอายุอาศัยอยู่ด้วย เพื่อเป็นแนวทางป้องกันจึงอยากศึกษาไว้เป็นความรู้

8.2 - คิดอย่างไรกับโรคนี้ - เป็นโรคที่น่ากลัวโรคหนึ่ง หากเราไม่รักษาและดูแลสุขภาพของเราเอง ในอนาคตเราก็จะเป็นผู้สูงอายุ ควรที่จะบำรุงรักษาไว้แต่เนิ่นๆ เพื่อไม่ให้โรคนี้เกิดขึ้นกับตัวเราเอง 

ที่มาเนื้อหา http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/rheumatoid/ra/osteoarthritis.htm

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 261 คน กำลังออนไลน์