• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2407b3659907815856f6743f88b97dd5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080; background-color: #ccffff\">โรคในโรคนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008080; background-color: #ccffff\">1. ชื่อโรค  ชื่อภาษาไทย  ไมเกรน, ลมตะกัง<br />\n              ชื่อภาษาอังกฤษ  Migraine </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008080; background-color: #ccffff\">2.อยู่ในกลุ่มโรคชนิดใด </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008080; background-color: #ccffff\">3.ผู้ค้นพบ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008080; background-color: #ccffff\">4. สาเหตุของการเกิดโรค  โรคปวดศีรษะไมเกรนเป็นโรคที่พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ประมาณว่าร้อยละ 25 ของผู้หญิง และร้อยละ 10 ของผู้ชาย วัยผู้ใหญ่ตอนต้นจะมีอาการปวดศีรษะไมเกรนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเริ่มมีอาการตั่งแต่วัยเด็ก หรือวัยรุ่น ต่อเนื่องเรื้อรัง เป็น ๆ หาย ๆ  และลดลงเมื่อถึงวัยหมดประจำเดือน ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน แต่เชื่อว่าเกิดจากปรากฏการณ์ทางสมองที่เรียกว่า “Cortical spreading depression” ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เซลล์ประสาทบริเวณผิวสมอง (cerebral cortex) ถูกกระตุ้นและตามมาด้วยการยับยั้งการทำงาน ก่อให้เกิดการหดและขยายตัวของหลอดเลือดแดงบริเวณผิวสมอง จนเกิดการหลั่งสาร inflammatory mediators และ neuropeptide ออกมาในลักษณะที่เรียกว่า “sterile inflammation” ส่งผลให้เกิดการระคายเคืองต่อเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 (Trigerminal nerve) และเกิดอาการปวดศีรษะขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าโรคปวดศีรษะไมเกรนมีปัจจัยทางกรรมพันธุ์ร่วมด้วย </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008080; background-color: #ccffff\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008080; background-color: #ccffff\">4.1 เชื้อโรค </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008080; background-color: #ccffff\">4.2 พฤติกรรม/จิตใจ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008080; background-color: #ccffff\">5. อาการของโรค  ผู้ป่วยจะมีอาการปวดศีรษะเป็นครั้งคราว มักจะเริ่มเป็นครั้งแรกตั้งแต่อายุน้อย (วัยรุ่น หรือวัยหนุ่มสาว) และจะเป็นๆหายๆ จนเลยวัย ๕๕ ปี หรือตลอดชีวิต<br />\nแต่ละครั้ง จะมีอาการปวดตุบๆ ที่ขมับ หรือรอบๆ เบ้าตาซีกใดซีกหนึ่ง อาจปวดสลับข้างในแต่ละคราว หรือปวดพร้อมกันทั้ง ๒ ข้างก็ได้ ผู้ป่วยมักจะคลำได้หลอดเลือดที่บริเวณขมับมีลักษณะโป่งพองและเต้นตุบๆ บางคนอาจปวดแบบตื้อๆ ทั้งศีรษะ หรืออาจมีอาการเวียนศีรษะ กลัวแสง ปวดเสียวหนังศีรษะ บางรายก่อนปวดหรือขณะปวด อาจมีอาการตาพร่า ตาลาย ตาเห็นแสงวอบแวบ หรือมืดมัวไปครึ่งซีก แต่ละครั้งมักปวดนาน ๔-๗๒ ชั่วโมง แต่ถ้าได้กินยาบรรเทาปวด และนอนหลับสักครู่ ก็อาจทำให้อาการทุเลาได้เร็วขึ้น บางรายที่มีอาการปวดมากหรือปวดนาน ก่อนจะทุเลาอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน เมื่ออาเจียนแล้วอาการปวดจะทุเลาไปได้เอง ในรายที่เป็นไมเกรนชนิดรุนแรง ก็อาจมีอาการ หน้าชา ริมฝีปากชา มือชา วิงเวียน ตาเห็นภาพซ้อน หรือแขนขาอ่อนแรงซีกหนึ่ง แต่อาการแบบนี้พบได้น้อยมาก และมักเป็นเพียงชั่วคราวก็จะหายได้เอง </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008080; background-color: #ccffff\">6. วิธีการป้องกัน <br />\n  </span>\n</p>\n', created = 1719568726, expire = 1719655126, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2407b3659907815856f6743f88b97dd5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรค... ไมเกรนด์

รูปภาพของ sss28367

โรคในโรคนี้

1. ชื่อโรค  ชื่อภาษาไทย  ไมเกรน, ลมตะกัง
              ชื่อภาษาอังกฤษ  Migraine

2.อยู่ในกลุ่มโรคชนิดใด

3.ผู้ค้นพบ

4. สาเหตุของการเกิดโรค  โรคปวดศีรษะไมเกรนเป็นโรคที่พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ประมาณว่าร้อยละ 25 ของผู้หญิง และร้อยละ 10 ของผู้ชาย วัยผู้ใหญ่ตอนต้นจะมีอาการปวดศีรษะไมเกรนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเริ่มมีอาการตั่งแต่วัยเด็ก หรือวัยรุ่น ต่อเนื่องเรื้อรัง เป็น ๆ หาย ๆ  และลดลงเมื่อถึงวัยหมดประจำเดือน ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน แต่เชื่อว่าเกิดจากปรากฏการณ์ทางสมองที่เรียกว่า “Cortical spreading depression” ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เซลล์ประสาทบริเวณผิวสมอง (cerebral cortex) ถูกกระตุ้นและตามมาด้วยการยับยั้งการทำงาน ก่อให้เกิดการหดและขยายตัวของหลอดเลือดแดงบริเวณผิวสมอง จนเกิดการหลั่งสาร inflammatory mediators และ neuropeptide ออกมาในลักษณะที่เรียกว่า “sterile inflammation” ส่งผลให้เกิดการระคายเคืองต่อเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 (Trigerminal nerve) และเกิดอาการปวดศีรษะขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าโรคปวดศีรษะไมเกรนมีปัจจัยทางกรรมพันธุ์ร่วมด้วย

4.1 เชื้อโรค

4.2 พฤติกรรม/จิตใจ

5. อาการของโรค  ผู้ป่วยจะมีอาการปวดศีรษะเป็นครั้งคราว มักจะเริ่มเป็นครั้งแรกตั้งแต่อายุน้อย (วัยรุ่น หรือวัยหนุ่มสาว) และจะเป็นๆหายๆ จนเลยวัย ๕๕ ปี หรือตลอดชีวิต
แต่ละครั้ง จะมีอาการปวดตุบๆ ที่ขมับ หรือรอบๆ เบ้าตาซีกใดซีกหนึ่ง อาจปวดสลับข้างในแต่ละคราว หรือปวดพร้อมกันทั้ง ๒ ข้างก็ได้ ผู้ป่วยมักจะคลำได้หลอดเลือดที่บริเวณขมับมีลักษณะโป่งพองและเต้นตุบๆ บางคนอาจปวดแบบตื้อๆ ทั้งศีรษะ หรืออาจมีอาการเวียนศีรษะ กลัวแสง ปวดเสียวหนังศีรษะ บางรายก่อนปวดหรือขณะปวด อาจมีอาการตาพร่า ตาลาย ตาเห็นแสงวอบแวบ หรือมืดมัวไปครึ่งซีก แต่ละครั้งมักปวดนาน ๔-๗๒ ชั่วโมง แต่ถ้าได้กินยาบรรเทาปวด และนอนหลับสักครู่ ก็อาจทำให้อาการทุเลาได้เร็วขึ้น บางรายที่มีอาการปวดมากหรือปวดนาน ก่อนจะทุเลาอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน เมื่ออาเจียนแล้วอาการปวดจะทุเลาไปได้เอง ในรายที่เป็นไมเกรนชนิดรุนแรง ก็อาจมีอาการ หน้าชา ริมฝีปากชา มือชา วิงเวียน ตาเห็นภาพซ้อน หรือแขนขาอ่อนแรงซีกหนึ่ง แต่อาการแบบนี้พบได้น้อยมาก และมักเป็นเพียงชั่วคราวก็จะหายได้เอง

6. วิธีการป้องกัน
 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 226 คน กำลังออนไลน์