• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:443df43e207a478d37fe1aca6d6cac0c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>ประวัติกีฬาแบดมินตัน</strong> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"214\" src=\"/files/u7503/1.jpg\" height=\"245\" />\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffff99\">ที่มาของภาพ: <span style=\"font-size: x-small\"><a href=\"http://www.badmintonthai.com/main/spaw/images/Badminton_cat.jpg\">http://www.badmintonthai.com/main/spaw/images/Badminton_cat.jpg</a></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Courier New\"></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"left\">\nแบดมินตันเป็นกีฬาที่นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลายมากในโลกประเภทหนึ่ง เชื่อกันว่ากีฬาประเภทนี้นิยมเล่นกันมามากกว่า 60 ปีมาแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานยืนยันแน่นอนตายตัวว่ามาจากแหล่งใด คงมีแต่หลักฐานบางชิ้นที่บ่งว่ามีการเล่นประปรายในยุโรปตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17  เกมที่ฝรั่งเขาเรียกกันว่า แบทเทิลดอร์กับลูกขนไก่ก็นับได้ว่าเป็นต้นตระกูลของกีฬาแบดมินตัน แม้จะมีชื่อเรียกต่างกันไปก็ตาม แต่วิธีเล่นยังคงเหมือนกัน มีบางคนกล่าวว่าได้มีการเล่นแบดมินตันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 12 ในราชสำนักในอังกฤษและในประเทศจีนก็มีการเล่นเกมที่มีลักษณะคล้าย ๆ กับแบดมินตันในศตวรรษเดียวกัน\n</p>\n<p align=\"left\">\nในปี พ.ศ. 2403 ได้ค้นพบลูกขนไก่แบบโบราณ ซึ่งอยู่ในสภาพดีจำนวนมากถูกเก็บรักษาเอาไว้ที่แบดมินตันเฮ้าส์ ซึ่งมีรูปร่างและขนาดที่แตกต่างกันออกไปไม่แน่นอน แต่มีขนาดใหญ่ และหนักกว่าลูกขนไก่ในปัจจุบันมาก มีกำมะหยี่ห่อหุ้มที่ฐาน และผูกริบบิ้นสีสวยเอาไว้ และต่อมาได้พบลูกขนไก่ซึ่งมีหลักฐานระบุว่าทำขึ้นที่อินเดียในปี พ.ศ. 2408 ถูกเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์มีขนไก่ 19 ขน ความยาวของขนไก่ 3 นิ้ว มีฐานเป็นไม้คอร์ก พื้นเรียบมีริบบิ้นผูกติดเอาไว้ด้วย\n</p>\n<p align=\"left\">\nในปี ค.ศ. 1870 ได้มีการจดบันทึกประวัติกีฬาแบดมินตันไว้เป็นการแน่นอนโดยกล่าวว่าการเล่นกีฬาแบดมินตันได้เกิดขึ้นที่เมืองปูนา ซึ่งเป็นเมืองเล็ก ๆ ห่างจากบอมเบย์ในประเทศอินเดียประมาณ 50 ไมล์ โดยเล่นบนพื้นสนามหญ้าเอาไม้แผ่นกระดานบาง ๆ มาทำเป็นไม้ตีคล้ายพัดตีลูกขนไก่โต้กันไปมา ต่อมามีนายทหารอังกฤษที่ไปประจำการอยู่ที่นั้น นำเกมการตีลูกขนไก่นี้กลับไปยังเกาะอังกฤษ และเล่นกันอย่างแพร่หลาย ณ คฤหาสน์แบดมินตัน ของท่านดยุค แห่งบิวฟอร์ดที่กล๊อสเตอร์ในปี ค.ศ. 1873 เป็นคฤหาสน์ที่ใหญ่โตกว้างขวาง มีเนื้อที่เป็นสวนรุกขชาติล้อมรอบมีปริมณฑล 10 ไมล์ อยู่ในทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองบริสตอลราว ๆ 17 ไมล์ ต่อมาก็เรียกชื่อกีฬาลูกขนไก่นี้ว่า &quot;แบดมินตัน&quot; ตามชื่อคฤหาสน์ ดังกล่าวตั้งแต่นั้นมา หลังจากนั้นก็มีการเล่นกีฬาแบดมินตันแพร่หลายไปยังประเทศต่าง ๆ ในภาคพื้นยุโรป เช่นเดนมาร์ก สวีเดน เป็นต้น เกมกีฬาแบดมินตันนี้มีลักษณะคล้าย ๆ กับการเล่นเทนนิสแต่สามารถเล่นได้ภายในตัวตึกโดยไม่ต้องกังวลต่อลม หรือหิมะที่กระหน่ำมารบกวนการเล่นเกมในฤดูหนาว เมื่อมีชาวยุโรปได้อพยพไปอยู่ในทวีปอเมริกา ได้นำเอาเกมการเล่นนี้ไปด้วย ส่วนทางเอเชียนั้น ได้มีการแพร่หลายมาโดยทหารเรืออังกฤษนำมาเล่นในอาณานิคมของอังกฤษที่ถูกยึดครองเป็นส่วนใหญ่ เช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ มาเลเซีย ต่างนำเกมแบดมินตันไปเล่นยังประเทศของตนอย่างแพร่หลาย การที่ประเทศอังกฤษมีอาณานิคมกว้างขวางทำให้เกมการเล่นแบดมินตันแพร่หลายไปยังส่วนต่าง ๆ ของโลกอย่างกว้างขวาง รวมทั้งประเทศไทยด้วย</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p align=\"center\">\n<strong>แบดมินตันในประเทศไทย</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7503/2.jpg\" height=\"234\" style=\"width: 226px; height: 204px\" />\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffff99\">ที่มาของภาพ: <span style=\"font-size: x-small\"><a href=\"http://www.badmintonthai.com/main/spaw/photo/548000020214201.jpg\">http://www.badmintonthai.com/main/spaw/photo/548000020214201.jpg</a></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: Courier New\"></span></p>\n<p>\nการเล่นแบดมินตันได้เข้ามาสู่ประเทศไทยในราวปี พ.ศ. 2456 โดยเริ่มเล่นกีฬาแบดมินตันแบบมีตาข่าย และสนามที่บ้านข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในจังหวัดธนบุรี แล้วนิยมเล่นกันอย่างแพร่หลายออกไป ส่วนมากเล่นกันตามบ้านผู้ดีมีตระกูล วังเจ้านายและในราชสำนัก การเล่นแบดมินตันครั้งนั้น นิยมเล่นข้างละ 3 คนกันมาก ประมาณปี พ.ศ 2462 สโมสรกลาโหมได้เป็นผู้จัดการแข่งขัน 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทเดี่ยว ประเภทคู่ และประเภทสามคน ปรากฏว่าทีมแบดมินตันบางขวางนนทบุรี ( โรงเรียนราชวิทยาลัยบางขวางนนทบุรี ) ชนะเลิศทุกประเภท นอกจากนี้มีนักกีฬาแบดมินตันฝีมือดีเดินทางไปแข่งขันยังประเทศใกล้เคียงอยู่บ่อย ๆ \n</p>\n<p>\nต่อมาปี พ.ศ. 2494 พระยาจินดารักษ์ได้ก่อตั้งขึ้นเป็นสมาคมชื่อว่า &quot;สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทย&quot; เมื่อแรกตั้งมีอยู่ 7 สโมสร คือ สโมสรสมานมิตร สโมสรบางกอก สโมสรนิวบอย สโมสรยูนิตี้ สโมสร ส. ธรรมภักดี สโมสรสิงห์อุดม และสโมสรศิริบำเพ็ญบุญ ซึ่งในปัจจุบันนี้เหลือเป็นสโมสรสมาชิกของสมาคมอยู่เพียง 2 สโมสร คือ สโมสรนิวบอย และสโมสรยูนิตี้เท่านั้น และในปีเดียวกัน สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทยก็ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกของสหพันธ์แบดมินตันนานาชาติด้วย สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทยมีนักกีฬาแบดมินตันที่มีฝีมือดีอยู่มาก และจากการเข้าแข่งในรายการต่าง ๆ ของโลกได้สร้างชื่อเสียงให้กับประเทศไทยเป็นอย่างมาก ทั้งโธมัสคัพ อูเบอร์คัพ และการแข่งขันออลอิงแลนด์ ซึ่งวงการแบดมินตันถือว่าเป็นการแข่งขันชิงชนะเลิศของโลกประเภทรายบุคคล ซึ่งนักกีฬาของประเทศไทยก็เคยได้ตำแหน่งรองชนะเลิศทั้งประเภทชายเดี่ยวและชายคู่มาแล้ว\n</p>\n<p>\nปัจจุบันแบดมินตันในประเทศไทยเป็นที่นิยมกันมากเล่นกันทั่วประเทศทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้ชาย ผู้หญิง มีการเรียนการสอนในโรงเรียน มีสนามแบดมินตันอยู่ทั่งประเทศ มีอุปกรณ์ที่ได้มาตรฐาน ซึ่งผลิตเองได้ จึงเชื่อได้ว่าในเวลาไม่นานนี้ประเทศไทยคงจะก้าวหน้าเป็นผู้นำกีฬาแบตมินตันของโลกได้แน่นอน</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p align=\"center\">\n<strong>มารยาทในการแข่งขัน</strong>\n</p>\n<p>\n<strong>มารยาทของผู้แข่งขัน </strong>\n</p>\n<p>\n1. ผู้แข่งขันต้องตระหนักอยู่เสมอว่าผู้เข้าแข่งขันเป็นนักกีฬาสมัครเล่น ซึ่งต้องมีน้ำใจเป็นนักกีฬาอยู่เสมอ และพร้อมที่จะให้อภัยแกความผิดพลาดทุกโอกาส โดยไม่คำนึงถึงผลแพ้ชนะเป็นสำคัญจนเกินไป\n</p>\n<p>\n2. ผู้เข้าแข่งขันแต่งกายด้วยชุดกีฬาสีขาว สะอาด เรียบร้อย\n</p>\n<p>\n3. ยิ้มแย้มแจ่มใสต่อคู่แข่งขันแสดงออกถึงมิตรภาพความสุภาพ อ่อนโยนด้วยการสัมผัสมือ หรือเปิดโอกาสให้คู่แข่งขันได้วอร์ม รวมทั้งไม่เอาเปรียบคู่ต่อสู้หรือคู่แข่งขันในการเสี่ยง ให้โอกาสคู่ต่อสู้เป็นผู้นำการเลือกเสี่ยงก่อน\n</p>\n<p>\n4. ไม่แสดงกริยาที่ไม่ดีเมื่อทำเสียเอง ด้วยท่าทางหรือคำพูด รวมทั้งการกล่าวตำหนิผู้เล่นฝ่ายเดียวกัน\n</p>\n<p>\n5. ใช้คำพูดที่สุภาพในการแข่งขัน\n</p>\n<p>\n6. การถามข้อสงสัย หรือถามคะแนนต่อผู้ตัดสินในระหว่างการแข่งขันควรจะใช้ถ้อยคำที่สุภาพ\n</p>\n<p>\n7. การอุทธรณ์คำวินิจฉัยของผู้ตัดสิน ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ผู้แข่งขันควรจะใช้ถ้อยคำที่ระมัดระวัง และเมื่อได้ทำการอุทธรณ์แล้ว ผู้อุทธรณ์ต้องอยู่ในความสงบ และพร้อมที่จะทำการแข่งขันต่อไปได้ และเมื่อผู้ตัดสินชี้ขาดอย่างไรก็ต้องปฏิบัติตามด้วยความเต็มใจ\n</p>\n<p>\n8. เมื่อขณะดำเนินการแข่งขันอยู่หากจะหยุดพัก เช่น ขอเช็ดเหงื่อ ดื่มน้ำ เปลี่ยนแร็กเกต เปลี่ยนรองเท้าถุงเท้า ฯลฯ ต้องขออนุญาตผู้ตัดสินทุกครั้ง เมื่อได้รับอนุญาติแล้วจึงปฏิบัติได้\n</p>\n<p>\n9. ในการส่งลูกเสียไปให้คู่ต่อสู้จะต้องส่งลูกข้ามตาข่ายไปให้เสมอ การส่งลูกลอดใต้ตาข่ายไปให้คู่ต่อสู้ถือว่าเป็นการเสียมารยาทอย่างรุนแรง\n</p>\n<p>\n10. ในระหว่างการแข่งขัน ถ้าผู้ตัดสินทำหน้าที่ผิดพลาดแต่เราอยู่ในฐานะได้เปรียบไม่ควรใช้ความได้เปรียบนั้นเป็นประโยชน์\n</p>\n<p>\n11. การตีลูกเสีย นักกีฬาที่ดีต้องร้องออกมาดัง ๆ ว่า &quot;เสีย&quot; โดยไม่ต้องรอให้ผู้ตัดสินร้องออกมาก่อน แต่ถ้าผู้ตัดสินดูไม่ทัน ผู้ตีลูกเสียไม่ควรจะฉวยโอกาสเล่นต่อไปด้วย เพราะการฉวยโอกาสเช่นนี้เป็นการกระทำที่ไม่สุจริต\n</p>\n<p>\n12. เมื่อการแข่งขันเสร็จสิ้นลง ถ้าเราเป็นฝ่ายชนะจะต้องไม่แสดงความดีใจจนเกินควร ต้องเข้าไปจับมือคู่แข่งขันทันทีพร้อมแสดงความเสียใจ ถ้าเป็นฝ่ายแพ้ไม่ควรจะแสดงอารมณ์ฉุนเฉียวต้องควบคุมอารมณ์ และรีบไปแสดงความยินดีกับคู่แข่งโดยทันทีเหมือนกัน\n</p>\n<p>\n13. ยอมรับและเชื่อฟังการตัดสินโดยไม่โต้แย้ง และเมื่อเสร็จสิ้นการแข่งขันควรแสดงความเคารพผู้ตัดสิ้น\n</p>\n<p>\n14. ในสนามที่มีผู้มารอเล่นอยู่มาก และไม่ใช่การแข่งขัน ไม่ควรเล่นกันนานจนเกินไป ควรเปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้เล่นบ้าง</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<strong>มารยาทของผู้ชม</strong>\n</p>\n<p>\n1. แต่งกายให้สุภาพ เรียบร้อย เป็นการให้เกียรติแก่การแข่งขันนั้น ๆ\n</p>\n<p>\n2. ให้เกียรติแก่นักกีฬาทั้ง 2 ฝ่าย ด้วยการปรบมือเมื่อมีการแนะนำคู่แข่งขัน\n</p>\n<p>\n3. ไม่กล่าววาจาไม่สุภาพ และไม่เชียร์ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจนไม่น่าดู\n</p>\n<p>\n4. ขณะการแข่งขันยังดำเนินอยู่ไม่ควรรบกวนสมาธิของผู้แข่ง หรือผู้ชมด้วยกัน\n</p>\n<p>\n5. การนิ่งเงียบ ในขณะที่นักกีฬากำลังเล่นถือว่าเป็นมารยาทของผู้ชมที่ดี\n</p>\n<p>\n6. ควรปรบมือเมื่อผู้เล่นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเล่นได้ดี สวยงาม และกระทำเมื่อลูกไม่ได้อยู่ในการเล่น\n</p>\n<p>\n7. ไม่แสดงออกด้วยกิริยา หรือวิพากษ์วิจารณ์การตัดสินของกรรมการ ขณะทำการแข่งขัน แม้ว่าจะมีข้อผิดพลาด\n</p>\n<p>\n8. เมื่อการแข่งขันสิ้นสุดลง ควรปรบมือเป็นเกียรติแก่นักกีฬาทั้งสองฝ่าย</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<strong>มารยาทในการเป็นผู้ตัดสิน</strong>\n</p>\n<p>\n1. เมื่อเข้าสู่สนามแข่งขัน ต้องแต่งกายให้ถูกต้องตามลักษณะของการเป็นผู้ตัดสิน เครื่องแต่งกายต้องประณีต และสะอาด วางตัวในลักษณะสุภาพอ่อนน้อม แต่สำรวมไม่หลอกล้อกับผู้หนึ่งผู้ใด แสดงออกถึงอาการที่จะให้ความร่วมมือกับผู้อื่นด้วยท่าทีกระฉับกระเฉง ไม่ใช่ประหม่าหรือลุกลี้ลุกลน\n</p>\n<p>\n2. ระหว่างการแข่งขัน หลีกเลี่ยงการพบปะสนทนากับผู้เล่น ผู้ฝึกสอน ตลอดจนผู้คุ้นเคยอื่น ๆ พยายามตั้งใจจริงในการปฏิบัติหน้าที่ในการตัดสิน ตัดสินใจด้วยความเด็ดขาดถูกต้อง แสดงออกถึงความมีน้ำใจเป็นนักกีฬา ไม่แสดงอารมณ์ออกมา ควรใช้วาจาเฉพาะในสิ่งที่จำเป็นพูดเฉพาะหลักการเท่านั้น เพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ฟัง และไม่ควรโต้เถียงกับผู้ใดผู้หนึ่ง ซึ่งจะเป็นการลดฐานะของตนเอง อันเป็นการทำให้เสื่อมศักดิ์ศรี และเป็นการนำไปสู่การทะเลาะวิวาทหรือทำให้เกิดคับข้องขุ่นเคืองใจได้\n</p>\n<p>\n3. เมื่อจบการแข่งขัน หลังจากตรวจใบนับคะแนนเรียบร้อยแล้ว ควรรีบออกจากสนามแข่งขันทันที ไม่ควรรีรออยู่เพื่อขออภัยในความผิดพลาดในการตัดสิน หรือเพื่อแสดงความยินดีหรือเสียใจต่อคู่แข่ง ไม่ควรแสดงความคิดเห็นใด ๆ เกี่ยวกับปัญหาต่าง ๆ ที่มีการถกเถียงกัน ในกรณีที่มีผู้สื่อข่าวขอสัมภาษณ์ ควรให้ความร่วมมือด้วยอัธยาศัยอันดี โดยชี้แจงอย่างเป็นธรรมและเหมาะสมในขอบเขตของการเป็นผู้ตัดสิน แต่ไม่ควรแสดงความคิดเห็นที่ซ้ำเติม หรือก้าวก่ายหน้าที่ของผู้อื่น</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p align=\"center\">\n<strong>อุปกรณ์ในการเล่น</strong>\n</p>\n<p>\n<strong>ไม้แร็กเกต</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u7503/1_0.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 242px; height: 218px\" /><span style=\"background-color: #ffff99\">ที่มาของภาพ: <span style=\"font-size: x-small\"><a href=\"http://www.officemate.co.th/lpgimage/91312.jpg\">http://www.officemate.co.th/lpgimage/91312.jpg</a></span></span>\n</p>\n<p>\nไม้แร็กเกตมีหลายประเภท เช่น ไม้ล้วน ๆ ไม้ผสมโลหะ และโลหะล้วน ๆ มีขนาดและน้ำหนักไม่เท่ากันแล้วแต่ความเหมาะสมของแต่ละบุคคล ไม้แร็กเกตที่ดีต้องขึงเอ็นตึง ไม้ไม่บิดเบี้ยว เมื่อเอามือกดเอ็นไม่หย่อน หรือในการตรวจสอบดูว่า เอ็นตึงหรือไม่ โดยใช้เอ็นตีฝ่ามือ ฟังเสียงเอ็นนั้น หรือใช้หลังเล็บกรีดเอ็นจากล่างขึ้นบนแล้วฟังเสียงเอ็นนั้น เสียงสูงย่อมหมายถึงตึงมาก แสดงว่าขึงเอ็นตึงดีแล้ว จากการวิจัยและทดสอบมีข้อยืนยันเกี่ยวกับชนิดของเอ็นที่ใช้ขึงแร็กเกตว่าขนาดของเอ็นเส้นเล็ก จะมีแรงสปริงดีกว่าเอ็นเส้นใหญ่\n</p>\n<p>\nไม้แร็กเกตแบดมินตันมีน้ำหนักเบาประมาณ 4 - 5.5 ออนซ์ โดยปกติความยาวของไม้แร็กเกตแบดมินตันจะมีความยาวประมาณ 26 นิ้วฟุต และเป็นอุปกรณ์ที่มีความละเอียดอ่อน การเลือกไม้แร็กเกตแบดมินตันจึงควรทำด้วยความรอบรู้เพื่อประหยัดทั้งทรัพย์และสูงด้วยประสิทธิภาพที่จะนำไปใช้ ไม้แร็กเกตที่มีน้ำหนักมากจะมีส่วนช่วยในการเพิ่มแรงเหวี่ยงขณะตีลูก แต่มีข้อเสียที่ทำให้ไม่คล่องตัวเท่าที่ควร ความสำคัญของการเลือกไม้แร็กเกตแบดมินตัน ขึ้นอยู่กับความสมดุลย์ของน้ำหนักถ่วงระหว่างหัวไม้ กับปลายไม้มากกว่าสิ่งอื่น สิ่งที่สำคัญที่สุดในการเลือกไม้แร็กเกตนี้คือ &quot;ความรู้สึกขณะสัมผัส หมายถึง ขณะจับไม้ขึ้นอยู่กับขนาดของด้านจับ และแรงกระจายน้ำหนักของไม้ หัวไม้จะหนักหรือเบาขึ้นอยู่กับการถือไม้ของผู้เล่น แร็กเกตบางอันมีน้ำนหนักเฉลี่ยสมดุลย์กันทั้งด้านหัวและด้ามจับ วิธีการเลือกไม้แร็กเกตควรจะเลือกหลาย ๆ ชนิด จนกว่าจะพบหน้าไม้มีความสมดุลย์และถือได้สบาย ผู้เล่นสามารถควบคุมหน้าไม้และเพิ่มพลังในการตีลูกได้ด้วย\n</p>\n<p>\nไม้แร็กเกตถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญมากซึ่งถ้าเปรียบแร็กเกตคงเทียบได้กับอาวุธที่สำคัญประจำตัวของนักรบในสนามรบเลยทีเดียว นักรบที่มีความสามารถประกอบกับมีอาวุธที่ดีย่อมชนะการแข่งขันได้ง่าย ดังนั้นการเลือกหาแร็กเกตที่มีคุณภาพดีมีประสิทธิภาพสูงไว้เป็นคู่มือในการฝึกหรือเล่น จึงเป็นเรื่องที่ผู้เล่นจะต้องศึกษาให้ละเอียดเสียก่อน ต้องรู้และเข้าใจถึงคุณภาพแร็กเกตในแต่ละชนิด\n</p>\n<p>\nสหพันธ์แบดมินตันนานาชาติ มิได้ตราข้อกำหนดสำหรับเรื่องน้ำหนักหรือขนาดของไม้แร็กเกตแต่อย่างใด คงปล่อยให้บริษัทผู้ผลิตไม้แร็กเกตกำหนดและออกแบบรูปร่าง น้ำหนักและขนาดของไม้แร็กเกตตามรสนิยมของนักแบดมินตันโดยทั่วไป\n</p>\n<p>\n<strong>ลูกขนไก่</strong>\n</p>\n<p>\nลูกขนไก่เป็นอุปกรณ์สำคัญชิ้นหนึ่งที่ทำขึ้นอย่างละเอียดอ่อน คุณภาพของลูกขนไก่มีความสำคัญมาก เพราะหากนำลูกขนไก่ที่ด้อยคุณภาพมาใช้ในการฝึกซ้อมหรือแข่งขัน อาจเป็นผลทำให้การฝึกซ้อมหรือแข่งขันไม่ประสบผลเท่าที่ควร  <br />\nสหพันธ์แบดมินตันนานาชาติ ได้กำหนดให้ลูกขนไก่ที่ใช้ในการแข่งขัน อาจจะทำด้วยวัสดุธรรมชาติ หรือวัสดุสังเคราะห์ก็ได้ แต่ต้องมีวิถีการวิ่งเหมือนวัสดุธรรมชาติมีหัวเป็นไม้คอร์กเป็นฐาน ห่อหุ้มด้วยหนังบาง มีขน 16 ขน ปักบนฐานบนเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว ถึง 1 เศษหนึ่งส่วนแปดนิ้ว ความยาวของขน 2 นิ้วครึ่ง ถึง 2 นิ้วเศษสามส่วนสี่นิ้ว โดยตอนปลายของขนแผ่เป็นวงกลมมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 เศษหนึ่งส่วนสี่นิ้ว ถึง 2 เศษห้าส่วนแปดนิ้ว มีด้ายมัดติดกันจนแน่น มีน้ำหนักตั้งแต่ 4.74 กรัม ถึง 5.50 กรัม </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<strong>สนาม</strong>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u7503/1_1.jpg\" height=\"333\" style=\"width: 340px; height: 206px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff99\">ที่มาของภาพ: <span style=\"font-size: x-small\"><a href=\"http://static.sanook.com/classified/category/2009/06/25/4/b/5245304_4.jpg\">http://static.sanook.com/classified/category/2009/06/25/4/b/5245304_4.jpg</a></span></span>\n</p>\n<p>\nสนามจัดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญอีกประการหนึ่ง เนื่องจากกีฬาแบดมินตันได้วิวัฒนาการจากกีฬาที่นิยมเล่นกลางแจ้ง แต่เดิมเคยใช้สนามหญ้าหรือสนามดิน หรือปูนซีเมนต์มาสู่ความเป็นมาตรฐานที่อยู่ในร่ม ตามประวัติสนามที่เป็นมาตรฐานในร่มแห่งแรกได้ริเริ่มสร้างที่สโมสรยูนิตี้ โดยคุณหลวงธรรมนูญวุฒิกร หรือนายประวัติ ปัตตพงษ์ ซึ่งท่านได้รับการยกย่องจากวงการแบดมินตันว่าเป็น บิดาแห่งวงการแบดมินตันไทย ท่านมีเป้าหมายเพื่อฝึกผู้เล่นให้เคยชินกับสภาพในร่ม ในระยะแรก ๆ นั้น สนามแบดมินตันในร่มนิยมทำด้วยปูนซีเมนต์ทาสี หรือวัสดุที่ทำให้เกิดความฝืด ต่อมาพัฒนาปรับปรุงเป็นพื้นไม้ปาร์เกต์ที่มีความสวยงามยืดหยุ่น และมีความฝืดพอสมควร ซึ่งพบเห็นมากในปัจจุบันนี้ ในทางตรงกันข้ามต่างประเทศกลับพัฒนาแบดมินตันในร่มไปเป็นพื้นที่เป็นยางผสมพลาสติก ซึ่งมีความฝืดมากกว่าสนามที่ปูด้วยไม้ปาร์เกต์เสียอีก ทำให้นักกีฬาไทย พบกับปัญหาในการแข่งขันในต่างประเทศ และความแตกต่างของพื้นสนามชนิดนี้ทำให้มีการสั่งซื้อมาใช้ในประเทศอยู่หลายแห่งจนปัจจุบันนักกีฬา มีความคุ้นเคยเป็นอย่างดีกับสนามในประเภทนี้\n</p>\n<p>\n<strong>เสา</strong>\n</p>\n<p>\nเสาแบดมินตันจะต้องมีความสูง 5 ฟุต 1 นิ้ว จากพื้นสนาม เสาจะต้องมีความมั่นคง พอที่จะรักษาตาข่ายให้ขึงตึงอยู่ได้และจะต้องตั้งอยู่บนเส้นเขตข้างสนาม ในกรณีที่ปฏิบัติดังกล่าวไม่ได้ จะต้องใช้วิธีหนึ่งแสดงให้เห็นว่าเส้นเขตข้างอยู่ใต้ตาข่าย ตรงจุดใดก็ได้ เช่น เสายาว ๆ หรือหาวัตถุอย่างหนึ่งกว้างไม่น้อยกว่า 1.5 นิ้วฟุต ไว้ที่เส้นเขตข้างให้ตั้งชี้ขึ้นมา ที่ตาข่ายถ้าใช้วิธีนี้กับสนามเล่นประเภทคู่ เสายาว ๆ นี้ต้องปักที่เส้นเขตข้างของสนาม ส่วนสนามการเล่นประเภทเดี่ยว ก็ปักไว้ที่เส้นเขตข้างของสนามเหมือนกัน\n</p>\n<p>\n<strong>ตาข่าย</strong>\n</p>\n<p>\nตาข่ายจะต้องทำด้วยดายเส้นละเอียดสีเข้มและมีขนาดตาเท่า ๆ กัน มีตากว้างยาว 5 ส่วน 8 ฟุต ตาข่ายต้องขึงให้ตึงจากเสาต้นหนึ่งถึงอีกต้นหนึ่ง ตาข่ายต้องกว้าง 2 ฟุต 6 นิ้ว ส่วนบนของตาข่ายต้องอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลางสนาม 5 ฟุต และเสาต้องอยู่ห่างจากพื้นสนาม 5 ฟุต 1 นิ้ว ตอนบนของตาข่ายติดแถบสีขาว พับสองขนาดกว้าง 3 นิ้ว มีเชือกหรือเส้นลวดตลอดแถบผ้าขาวนี้และขึงตึงอยู่ระดับกับหัวเสาทั้ง 2 ข้าง <br />\nความแตกต่างของตาข่ายที่ขึงด้วยเชือก กับเส้นลวดนั้นอยู่ที่การสะบัดของลูกขนไก่ ถ้าเป็นเชือก เมื่อลูกขนไก่กระทบถูกขอบบนสุดของตาข่ายจะมีโอกาสสะบัดพลิกตาข่าย แต่ถ้าเป็นการขึงด้วยเส้นลวดนั้นความยืดหยุ่นมีน้อย ดังนั้นเมื่อชนกับลูกขนไก่ที่เกิดจากแรงตีจะไม่ค่อยมีโอกาสพลิก ซึ่งปัจจุบันสนามที่เป็นมาตรฐานนิยมขึงด้วยลวดสลิงเป็นส่วนมาก และตาข่ายในบางสถานที่นิยมใช้เส้นด้ายคู่ ซึ่งมีสภาพทนทานกว่าและไม่ผิดกติกาแต่อย่างไร\n</p>\n<p>\n<strong>เครื่องแต่งกาย</strong>\n</p>\n<p>\n1. เสื้อกีฬา ควรตัดเย็บมาจากผ้าที่สามารถยืดหยุ่นได้ไม่คับหรือหลวมจนเกินไปผ้าที่ควรใช้คือผ้าฝ้ายชนิดบาง ควรมีสีขาวเป็นพื้นประมาณ 80 % ปัจจุบันนิยมมีลวดลายแต่ไม่ควรมีมากเกินไปจนดูไม่สุภาพ ฒยฬ <br />\n2. กางเกงกีฬา สำหรับสุภาพสตรี อาจจะใช้กระโปรงสั้นแทนก็ได้ คุณสมบัติของกางเกงกีฬาที่ใช้ เช่นเดียวกับเสื้อกีฬา <br />\n3. ถุงเท้ากีฬา มีความหนาแน่นพอสมควร เพื่อกันการเสียดสีกับรองเท้า มีสีขาวเช่นเดียวกัน <br />\n4. รองเท้ากีฬา ต้องเป็นรองเท้าผ้าใบ พื้นยางควรมีรองเท้ารองรับข้างล่างมีสีขาว มีความพอดีกับเท้าแต่ต้องให้ใหญ่กว่าเท้าเล็กน้อย เพื่อการสวมถุงเท้าให้ได้พอดี โดยควรเลือกใช้รองเท้าที่ผลิตขึ้นสำหรับกีฬาแบดมินตันโดยเฉพาะ <br />\n5. รัดข้อมือ ที่ข้อมือข้างที่จับแร็กเกตแบดมินตันอาจใช้ที่รัดข้อมือสวมใส่ไว้ เพื่อป้องกันเหงื่อจากแขนจะไหลลงไปสู่มือขณะเล่น</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>กติกาแบดมินตัน</strong>\n</p>\n<p>\nกติกาแบดมินตันของสหพันธ์แบดมินตันนานาชาติฉบับใหม่ มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2534 และฉบับแก้ไขกติกาข้อ 5 ใหม่ มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2535 แปลโดยนายสุนทร สุภาพันธ์ ประธานสภากรรมการผู้ตัดสิน สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทย\n</p>\n<p>\n<u>ผู้เล่น</u>\n</p>\n<p>\n1. ผู้เล่น หมายถึงทุกคนที่ร่วมเล่นในแมตช์หนึ่ง\n</p>\n<p>\n2. ในประเภทคู่ต้องมีผู้เล่นฝ่ายละ 2 คน หรือในประเภทเดี่ยว ต้องมีผู้เล่นฝ่ายละ 1 คน\n</p>\n<p>\n3. ฝ่ายใดมีสิทธิ์ส่งลูกเรียกว่า ฝ่ายส่งลูก และฝ่ายตรงข้ามเรียกว่า ฝ่ายรับลูก\n</p>\n<p>\n<u>การเสี่ยง</u>\n</p>\n<p>\n1. ก่อนเริ่มการเล่นคู่ต่อสู้ทั้งสองฝ่ายจะทำการเสี่ยง ฝ่ายที่ชนะการเสี่ยงมีสิทธิ์เลือกตามกติกาข้อ 1.1 หรือ 1.2\n</p>\n<p>\n1.1 ส่งลูกหรือรับลูกก่อน\n</p>\n<p>\n1.2 เลือกข้างใดข้างหนึ่ง\n</p>\n<p>\n2. ฝ่ายที่แพ้การเสี่ยง มีสิทธิ์จากที่เหลือในการเลือก\n</p>\n<p>\n<u>การนับแต้ม</u>\n</p>\n<p>\n1. คู่ต่อสู้ทั้งสองฝ่ายจะต้องเล่นเอาชนะให้ได้มากที่สุดใน 3 เกม เว้นแต่จะได้ตกลงกัน\n</p>\n<p>\n2. ฝ่ายส่งลูกเท่านั้นทำแต้มได้\n</p>\n<p>\n3. ในประเภทคู่และประเภทชายเดี่ยว ฝ่ายที่ได้ 11 แต้มก่อนเป็นฝ่ายชนะในเกมนั้น ยกเว้นตามที่ได้ระบุไว้ในกติกาข้อ 5\n</p>\n<p>\n4. ในประเภทหญิงเดี่ยว ฝ่ายที่ได้ 11 แต้มก่อนเป็นฝ่ายชนะในเกมนั้น ยกเว้นตามที่ได้ระบุไว้ในกติกาข้อ 5\n</p>\n<p>\n4.1 ถ้าได้ 13 แต้มเท่ากัน หรือ 14 แต้มเท่ากัน (9 เท่ากันหรือ 10 เท่ากันในประเภทหญิงเดี่ยว) ฝ่ายที่ได้แต้ม 13 หรือ 14 (9 หรือ 10) ก่อน มีสิทธิ์เลือกเล่นต่อ หรือไม่เล่นต่อ ในเกมนั้น (กติกาข้อ 5)\n</p>\n<p>\n4.2 ฝ่ายที่ได้แต้มก่อนมีสิทธิ์เลือก และต้องเลือกก่อนการส่งลูกครั้งต่อไป\n</p>\n<p>\n4.3 ฝ่ายที่กล่าว (กติกาข้อ 4.1) มีโอกาสเลือกเล่นต่อ เมื่อมี 14 แต้มเท่ากัน (10 เท่ากันในประเภทหญิงเดี่ยว) ถึงแม้จะได้ปฏิเสธไม่เล่นต่อมาก่อน โดยฝ่ายนั้นหรืออีกฝ่ายหนึ่งได้ 13 แต้มเท่ากัน (9 เท่ากันในประเภทหญิงเดี่ยว)\n</p>\n<p>\n5. ถ้ามีการเล่นต่อในเกมนั้นต้องขานแต้มว่าศูนย์เท่ากัน และฝ่ายที่ได้แต้มตามที่กำหนดในการเล่นต่อก่อน (กติกาข้อ 5.1 ถึง 5.4) เป็นฝ่ายชนะ\n</p>\n<p>\n5.1 13 แต้มเท่ากัน เล่นต่อ 5 แต้ม\n</p>\n<p>\n5.2 14 แต้มเท่ากัน เล่นต่อ 3 แต้ม\n</p>\n<p>\n5.3 10 แต้มเท่ากัน เล่นต่อ 3 แต้ม\n</p>\n<p>\n5.4 10 แต้มเท่ากัน เล่นต่อ 2 แต้ม\n</p>\n<p>\n6. ฝ่ายที่ชนะ จะเป็นฝ่ายส่งลูกก่อนในเกมต่อไป</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<u>การเปลี่ยนข้าง</u>\n</p>\n<p>\n1. ผู้เล่นจะเปลี่ยนข้าง เมื่อ\n</p>\n<p>\n1.1 หลังจากเกมที่ 1 สิ้นสุด\n</p>\n<p>\n1.2 ก่อนเริ่มเล่นเกมที่ 3 (ถ้ามี)\n</p>\n<p>\n1.3 ในเกมที่ 3 หรือในการแข่งขันเกมเดียว เมื่อฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดได้แต้มก่อน\n</p>\n<p>\n- 6 แต้ม สำหรับเกม 11 แต้ม\n</p>\n<p>\n- 8 แต้ม สำหรับเกม 15 แต้ม\n</p>\n<p>\n2. เมื่อผู้เล่นลืมเปลี่ยนข้างตามที่ระบุไว้ในกติกาข้อ 1 ผู้เล่นต้องเปลี่ยนข้างทันทีเมื่อรู้ตัว และให้นับแต้มต่อจากแต้มที่ได้ในขณะนั้น\n</p>\n<p>\n<u>การส่งลูก</u>\n</p>\n<p>\n1. การส่งลูกที่ถูกต้อง คือ\n</p>\n<p>\n1.1 ทั้งสองฝ่ายจะต้องไม่พยายามถ่วงเวลาให้เกิดความล่าช้าในการส่งลูก\n</p>\n<p>\n1.2 ผู้ส่งลูกและผู้รับลูก จะต้องยืนในสนามส่งลูกทแยงมุมตรงข้ามโดยเท้าไม่สัมผัสเส้นเขตของสนามส่งลูก บางส่วนของเท้าทั้งสองของผู้ส่งลูกและผู้รับลูกจะต้องสัมผัสพื้นสนามในท่านิ่งจนกว่าจะส่งลูกแล้ว\n</p>\n<p>\n1.3 ผู้ส่งลูกต้องส่งลูกโดยตีฐานของลูกขณะที่ทุกส่วนของลูกอยู่ต่ำกว่าเอวของผู้ส่งลูก\n</p>\n<p>\n1.4 ก้านไม้แร็กเกตของผู้ส่งลูกในขณะที่ตีลูกจะต้องชี้ลงต่ำจนเห็นได้ชัดว่าส่วนหัวทั้งหมดของไม้แร็กเกตอยู่ต่ำกว่าทุกส่วนของมือที่จับไม้แร็กเกตของผู้ส่งลูก\n</p>\n<p>\n1.5 การเคลื่อนไม้แร็กเกตของผู้ส่งลูกไปข้างหน้าต้องต่อเนื่อง หลักจากเริ่มมีการส่งลูก จนกระทั้งได้ส่งลูกแล้ว และ\n</p>\n<p>\n1.6 ลูกจะมีวิถีพุ่งขึ้นจากไม้แร็กเก็ตของผู้ส่งลูกข้ามตาข่าย และถ้าปราศจากการสกัดกั้น ลูกจะตกลงบนพื้นสนามส่งลูกของผู้รับลูก\n</p>\n<p>\n2. เมื่อผู้เล่นอยู่ในท่าพร้อมแล้ว การเคลื่อนไม้แร็กเกตไปข้างหน้าของผู้ส่งลูกถือว่าเป็นการเริ่มส่งลูก\n</p>\n<p>\n3. ผู้ส่งลูกเริ่มส่งลูกไม้ได้ถ้าผู้รับลูกยังไม่พร้อม แต่จะถือว่าผู้รับลูกพร้อมแล้วถ้าพยายามตีลูกที่ส่งมากลับไป\n</p>\n<p>\n4. การส่งลูกได้ส่งแล้วหลังจากที่เริ่มต้น (ตามกติกาข้อ 2) ลูกถูกตีจากไม้แร็กเกตของผู้ส่งลูก หรือลูกตกลงบนพื้น\n</p>\n<p>\n5. ในประเภทคู่ คู่ขาของผู้ส่งลูกและผู้รับลูกจะยืนอยู่ ณ ที่ใดก็ได้ โดยไม่บังผู้ส่งลูกหรือผู้รับลูก</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<strong>การเล่นประเภทเดี่ยว</strong>\n</p>\n<p>\n1. ผู้เล่นจะส่งลูกและรับลูกในสนามส่งลูกทางขวามือ เมื่อผู้ส่งลูกทำแต้มไม่ได้ หรือแต้มที่ได้เป็นเลขคู่ในเกมนั้น\n</p>\n<p>\n2. ผู้เล่นจะส่งลูกและรับลูกในสนามส่งลูกทางซ้ายมือ เมื่อผู้ส่งลูกได้แต้มเป็นเลขคี่ในเกมนั้น\n</p>\n<p>\n3. ถ้ามีการเล่นต่อในแต่ละเกม ให้ใช้กติกาข้อ 1 และ ข้อ 2 ตามแต้ม ทั้งหมดของผู้ส่งลูกในเกมนั้น\n</p>\n<p>\n4. ผู้ส่งลูกและผู้รับลุกจะตีโต้ลูกจนกว่าจะเกิดเสียหรือลูกไม่อยู่ในการเล่น\n</p>\n<p>\n4.1 ถ้าผู้รับลูกทำเสีย หรือลูกไม่อยู่ในการเล่นเพราะตกลงบนพื้นภายในสนามของผู้รับลูก ผู้ส่งลูกได้หนึ่งแต้ม และยังได้ส่งลูกต่อในสนามส่งลูกอีกข้างหนึ่ง\n</p>\n<p>\n4.2 ถ้าผู้ส่งลูกทำเสีย หรือลูกไม่อยู่ในการเล่นเพราะตกลงบนพื้นภายในสนามของผู้ส่งลูก ผู้ส่งลูกหมดสิทธิ์ส่งลูก และผู้รับลูกจะกลับเป็นผู้ส่งลูก โดยผู้เล่นทั้งสองฝ่ายไม่ได้แต้ม\n</p>\n<p>\n<strong>การเล่นประเภทคู่</strong>\n</p>\n<p>\n1. เมื่อเริ่มเล่นแต่ละครั้ง ฝ่ายที่ได้สิทธิ์ส่งลูกจะต้องเริ่มส่งลูกจากสนามส่งลูกทางขวามือ\n</p>\n<p>\n2. ผู้รับลูกเท่านั้นเป็นผู้ตีลูกกลับไป ถ้าลูกถูกตัวหรือคู่ขาของผู้รับลูกตีลูกกลับไป ผู้ส่งลูกได้หนึ่งแต้ม\n</p>\n<p>\n2.1 หลังจากได้รับลูกที่ส่งมาแล้ว ผู้เล่นของฝ่ายส่งลูกคนหนึ่งคนใดตีลูกกลับไป และผู้เล่นคนหนึ่งคนใดของฝ่ายรับลูกโต้ลูกกลับมา เป็นเช่นนี้เรื่อยไปจนกว่าลูกไม่อยู่ในการเล่น\n</p>\n<p>\n2.2 หลังจากได้รับลูกที่ส่งมาแล้ว ผู้เล่นคนหนึ่งคนใดจะตีโต้ลูกจากที่ไหน ๆ ก็ได้ภายในสนามของตนโดยมีตาข่ายกั้น\n</p>\n<p>\n2.3 ถ้าฝ่ายรับลูกทำเสียหรือลูกไม่อยู่ในการเล่นเพราะลูกตกลงบนพื้นภายในสนามของฝ่ายรับลูก ฝ่ายส่งลูกได้หนึ่งแต้ม และผู้ส่งลูกยังคงได้ส่งลูกอีก\n</p>\n<p>\n2.4 ถ้าฝ่ายส่งลูกทำเสียหรือลูกไม่อยู่ในการเล่นเพราะลูกตกลงบนพื้นที่ภายในสนามของฝ่ายส่งลูก ผู้ส่งลูกหมดสิทธิ์ส่งลูก โดยผู้เล่นทั้งสองฝ่ายไม่ได้แต้ม\n</p>\n<p>\n2.5 ผู้เล่นที่มีสิทธิ์ส่งลูกในตอนเริ่มต้นของแต่ละเกมจะส่งลูกหรือรับลูกในสนามส่งลูกทางขวามือ เมื่อผู้เล่นฝ่ายนั้นไม่ได้แต้มหรือในเกมนั้นเป็นเลขคู่ และในสนามส่งลูกทางซ้ายมือเมื่อแต้มในเกมนั้นเป็นเลขคี่\n</p>\n<p>\n2.6 ผู้เล่นที่เป็นผู้รับลูกในตอนเริ่มต้นของแต่ละเกมจะรับลูกหรือส่งลูกในสนามส่งลูกทางขวามือ เมื่อผู้เล่นฝ่ายนั้นไม่ได้แต้ม หรือแต้มในเกมนั้นเป็นเลขคู่และในสนามส่งลูกทางซ้ายมือเมื่อแต้มในเกมนั้นเป็นเลขคี่\n</p>\n<p>\n2.7 คู่ขาของผู้เล่นจะต้องปฏิบัติเช่นเดียวกันในทางตรงข้าม\n</p>\n<p>\n2.8 ถ้ามีการเล่นต่อในแต่ละเกม ให้ใช้กติกาข้อ 2.5 ถึง 2.7 ตามแต้มทั้งหมดของฝ่ายหนึ่งในเกมนั้น\n</p>\n<p>\n3. การส่งลูกทุกครั้งจะต้องส่งจากสนามส่งลูกทแยงมุมตรงข้าม\n</p>\n<p>\n4. สิทธิ์การส่งลูกผ่านติดต่อกันจากผู้ส่งลูกคนแรกของแต่ละเกมไปยังผู้รับลูกคนแรกในเกมนั้น และจากผู้เล่นคนนั้นไปยังคู่ขา และแล้วต่อไปยังผู้เล่นคนหนึ่งของฝ่ายตรงข้าม่และคู่ขาเช่นนี้เรื่อยไป\n</p>\n<p>\n5. ห้ามมิให้ผู้เล่นคนหนึ่งคนใดส่งลูกก่อนถึงเวลาตนเป็นผู้ส่ง หรือรับลูกก่อนถึงเวลาคนเป็นผู้รับ หรือรับลูกติดต่อกันสองครั้งในเกมเดียวกัน\n</p>\n<p>\n6. ผู้เล่นคนหนึ่งคนใดของฝ่ายชนะจะเป็นผู้ส่งลูกก่อนในเกมต่อไปก็ได้ และผู้เล่นคนหนึ่งคนใดของฝ่ายแพ้ จะเป็นผู้รับลูกก่อนก็ได้</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<u>การทำผิดในสนามส่งลูก</u>\n</p>\n<p>\n1. การทำผิดในสนามส่งลูกเกิดขึ้นเมื่อผู้เล่น\n</p>\n<p>\n1.1 ส่งลูกก่อนถึงเวลาตนเป็นผู้ส่ง\n</p>\n<p>\n1.2 ส่งลูกจากสนามส่งลูกที่ไม่ถูกต้อง หรือ\n</p>\n<p>\n1.3 ยืนในสนามส่งลูกที่ไม่ถูกต้องโดยอยู่ในท่าพร้อมที่จะรับลูกหรือไม่มีการแก้ไข\n</p>\n<p>\n2. เมื่อมีการทำผิดเกิดขึ้นในสนามส่งลูก ให้ปฏิบัติดังนี้\n</p>\n<p>\n2.1 ถ้าพบการทำผิดเกิดขึ้นก่อนการส่งลูกครั้งต่อไป ให้เอาใหม่เว้นเสียแต่ว่ามีฝ่ายทำผิดเพียงฝ่ายเดียวและแพ้ในการตีโต้ลูกด้วย ในกรณีดังกล่าวไม่มีการแก้ไข\n</p>\n<p>\n2.2 ถ้าไม่พบการทำผิดเกิดขึ้นก่อนการส่งลูกครั้งต่อไปไม่ต้องแก้ไข\n</p>\n<p>\n3. ถ้ามีการเอาใหม่เพราะมีการทำผิดในสนามส่งลูก ให้เล่นใหม่พร้อมกับแก้ไข\n</p>\n<p>\n4. ถ้าไม่มีการแก้ไขเมื่อมีการทำผิดในสนามส่งลูก การเล่นในเกมนั้นคงดำเนินต่อไป โดยไม่มีการเปลี่ยนสนามส่งลูกใหม่ของผู้เล่น (หรือสั่งให้ส่งลูกใหม่ในกรณีเดียวกัน)\n</p>\n<p>\n<u>การทำ &quot;เสีย&quot;</u>\n</p>\n<p>\n1. ถ้าการส่งลูกไม่ถูกต้อง\n</p>\n<p>\n2. ถ้าผู้ส่งลูกพยายามจะส่งลูก แต่ตีผิด\n</p>\n<p>\n3. หลังจากส่งลูกข้ามตาข่ายไปแล้ว ลูกขนไก่ติดอยู่ในหรือบนตาข่าย\n</p>\n<p>\n4. ถ้าในขณะเล่น ลูกขนไก่\n</p>\n<p>\n4.1 ตกลงบนพื้นนอกเส้นเขตสนาม\n</p>\n<p>\n4.2 ลอดผ่านหรือลอดใต้ตาข่าย\n</p>\n<p>\n4.3 ไม่ข้ามตาข่าย\n</p>\n<p>\n4.4 ถูกหลังคา เพดาน หรือข้างฝา\n</p>\n<p>\n4.5 ถูกตัวผู้เล่นหรือเครื่องแต่งกาย หรือ\n</p>\n<p>\n4.6 ถูกวัตถุหรือตัวบุคคลภายนอกที่อยู่ใกล้เคียงล้อมรอบสนาม (ในกรณีที่มีความจำเป็นเกี่ยวกับโครงสร้างของตัวอาคาร ผู้มีอำนาจเกี่ยวกับแบดมินตันประจำท้องถิ่นอาจวางกฎเพิ่มเติมเกี่ยวกับลูกถูกส่งที่กีดขวางได้ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ความเห็นชอบขององค์กรแบดมินตันแห่งชาติ)\n</p>\n<p>\n5. ถ้าในขณะเล่นผู้เล่นตีถูกลูกก่อนที่จะข้ามตาข่ายมาในเขตสนามตัวเอง (อย่างไรก็ตาม ผู้ตีลูกอาจใช้ไม้แร็กเกตตามลูกข้ามตาข่ายในระหว่างการตีลูก)\n</p>\n<p>\n6. ถ้าลูกอยู่ในขณะเล่น ผู้เล่น\n</p>\n<p>\n6.1 ถูกตาข่ายหรืออุปกรณ์ที่ขึงด้วยไม้แร็กเกต ด้วยตัว หรือด้วยเครื่องแต่งกาย\n</p>\n<p>\n6.2 ล้ำเข้าไปในเขตสนามของอีกฝ่ายหนึ่งด้วยไม้แร็กเกต หรือด้วยตัวจะมากน้อยเท่าใดก็ตาม ยกเว้นตามที่ได้อนุญาตไว้ในกติกาข้อ 5 หรือ\n</p>\n<p>\n6.3 กีดขวางคู่ต่อสู้ กล่าวคือ กันไม่ให้คู่ต่อสู้ตีลูกข้ามตาข่ายอย่างถูกต้องตามกติกา\n</p>\n<p>\n7. ถ้าในขณะเล่น ผู้เล่นคนหนึ่งคนใดจงใจทำลายสมาธิคู่ต่อสู้ด้วยการกระทำต่าง ๆ เช่น การตะโกน หรือการแสดงท่าทาง\n</p>\n<p>\n8. ถ้าในขณะเล่น ลูกขนไก่\n</p>\n<p>\n8.1 ติดอยู่ในไม้แร็กเกต แล้วถูกเหวี่ยงออกไปในระหว่างการตีลูก\n</p>\n<p>\n8.2 ถูกตีสองครั้งติดต่อกันโดยผู้เล่นคนเดียวกัน หรือ\n</p>\n<p>\n8.3 ถูกตีโดยผู้เล่นคนหนึ่ง และคู่ขาของผู้เล่นคนนั้นติดต่อกัน หรือ\n</p>\n<p>\n8.4 ถูกแร็กเกตของผู้เล่นคนหนึ่งคนใดแล้วลูกยังวิ่งต่อไปตกด้านหลังของสนาม\n</p>\n<p>\n9. ถ้าผู้เล่นทำผิดอย่างชัดแจ้ง ซ้ำซาก หรือเคืองแค้น\n</p>\n<p>\n<u>การ &quot;เอาใหม่&quot;</u>\n</p>\n<p>\nการเอาใหใม่ จะขานโดยกรรมการผู้ตัดสิน หรือโดยผู้เล่น (ถ้าไม่มีกรรมการผู้ตัดสิน) ขานให้หยุดการเล่น\n</p>\n<p>\n1. ให้เอาใหม่สำหรับกรณีที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิดมาก่อน หรือโดยเหตุบังเอิญ\n</p>\n<p>\n2. ถ้าลูกข้ามตาข่ายแล้วไปติดอยู่ในหรือตาข่ายให้เอาใหม่ ยกเว้นในระหว่างการส่งลูก\n</p>\n<p>\n3. ถ้าในระหว่างการส่งลูก ผู้รับลูกและผู้ส่งลูกทำเสียพร้อมกัน ให้เอาใหม่\n</p>\n<p>\n4. ถ้าผู้ส่งลูก ส่งลูกโดยที่ผู้รับลูกยังไม่พร้อม ให้เอาใหม่\n</p>\n<p>\n5. ถ้าในระหว่างการเล่น ลูกขนไก่แตกออกเป็นส่วน ๆ และฐานแยกออกจากส่วนที่เหลือของลูกโดยสิ้นเชิง ให้เอาใหม่\n</p>\n<p>\n6. ถ้ากรรมการกำกับเส้นมองไม่เห็น และกรรมการผู้ตัดสินไม่สามารถจะตัดสินใจให้เอาใหม่\n</p>\n<p>\n7. เมื่อมีการเอาใหม่เกิดขึ้น การเล่นต่อเนื่องจากการส่งลูกครั้งสุดท้ายถือเป็นโมฆะ และผู้เล่นที่ส่งลูกแล้วจะได้ส่งอีกครั้งหนึ่ง</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<u>ลูกไม่อยู่ในการเล่น</u>\n</p>\n<p>\n1. ลูกชนตาข่ายแล้วติดอยู่ที่ตาข่าย หรือค้างอยู่ข้างบนตาข่าย\n</p>\n<p>\n2. ลูกชนตาข่ายหรือเสาตาข่ายแล้วตกลงบนพื้นสนามในด้านของผู้ตีลูก\n</p>\n<p>\n3. ลูกถูกพื้น หรือ\n</p>\n<p>\n4. เกิดการเสีย หรือเอาใหม่\n</p>\n<p>\n<u>การเล่นต่อเนื่อง การทำผิด การลงโทษ</u>\n</p>\n<p>\n1.  การเล่นต้องต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มส่งลูกครั้งแรกจนสิ้นสุดการเล่นในแมตช์นั้น ยกเว้นตามที่ได้อนุญาตไว้ในกติกาข้อ 2 และ 3\n</p>\n<p>\n2. อนุญาตให้มีการพักไม่เกิน 5 นาทีระหว่างจบเกมที่ 2 และเริ่มเกมที่ 3 ของทุกแมตช์ในการแข่งขันต่อไปนี้\n</p>\n<p>\n2.1 การแข่งขันนานาชาติ\n</p>\n<p>\n2.2 การแข่งขันที่ได้อนุมัติรับรองโดยสหพันธ์แบดมินตันนานาชาติ และ\n</p>\n<p>\n2.3 การแข่งขันอื่น ๆ (นอกจากองค์กรแห่งชาติได้ตัดสินใจประกาศมิให้มีการพักดังกล่าว)\n</p>\n<p>\n3.เมื่อมีเหตุจำเป็นเกิดขึ้นโดยสุดวิสัยอันมิได้เนื่องมาจากผู้เล่นกรรมการผู้ตัดสินอาจสั่งให้พักการเล่นชั่วระยะเวลาหนึ่งตามที่กรรมการผู้ตัดสินใจพิจารณาว่าจำเป็น ถ้า มีการพักการเล่น แต้มที่ได้จะอยู่คงเดิม และจะเริ่มเล่นใหม่จากแต้มนั้น\n</p>\n<p>\n4. ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ทั้งสิ้น ห้ามมิให้พักการเล่นเพื่อให้ผู้เล่นฟื้นคืนกำลังหรือพักหายเหนื่อย หรือเพื่อรับการสอนหรือคำแนะนำ\n</p>\n<p>\n4.1 ยกเว้นการพักตามกติกาข้อ 2 และข้อ 3 ห้ามมิให้ผู้เล่นรับคำแนะนำในระหว่างการเล่น\n</p>\n<p>\n4.2 ห้ามมิให้ผู้เล่นเดินออกจากสนามโดยไม่ได้รับการยินยอมจากกรรมการผู้ตัดสิน ยกเว้นหลังจากการเล่นในแมตช์สิ้นสุดลง\n</p>\n<p>\n5. กรรมการผู้ตัดสินมีสิทธิ์สั่งให้พักการเล่นชั่วคราวแต่เพียงผู้เดียว\n</p>\n<p>\n6. ผู้เล่นจะต้องไม่\n</p>\n<p>\n6.1 จงใจให้เกิดการพักการเล่น\n</p>\n<p>\n6.2 จงใจทำให้ความเร็วและวิถีของลูกขนไก่เปลี่ยนไป\n</p>\n<p>\n6.3 แสดงกิริยาก้าวร้าว หรือ\n</p>\n<p>\n6.4 ทำความผิดอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากกติกา\n</p>\n<p>\n7. กรรมการผู้ตัดสินจะต้องดำเนินการกับความผิดที่ได้ระบุไว้ในกติกาข้อ 4, 5 หรือ 7 โดย\n</p>\n<p>\n7.1 เตือนผู้ทำผิด\n</p>\n<p>\n7.2 ตัดสิทธิ์ผู้ทำผิดหากได้รับการเตือนมาก่อน หรือ\n</p>\n<p>\n7.3 ในกรณีที่ทำผิดอย่างชัดแจ้ง หรือเคืองแค้น ให้ตัดสิทธิ์ผู้ทำผิดแล้วรายงานให้ผู้ชี้ขาดทราบทันที ซึ่งผู้ชี้ขาดมีอำนาจสั่งให้ผู้ทำผิดออกจากการแข่งขัน\n</p>\n<p>\n8. หากไม่มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ชี้ขาด ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบมีอำนาจสั่งให้ผู้ทำผิดออกจากการแข่งขัน\n</p>\n<p>\nเจ้าหน้าที่และการอุทธรณ์\n</p>\n<p>\n1. ผู้ชี้ขาดเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบการแข่งขันทั้งหมด\n</p>\n<p>\n2. ผู้ตัดสินมีหน้าที่ควบคุมเกมการแข่งขัน สนาม และสิ่งใกล้เคียงล้อมรอบ ผู้ตัดสินจะต้องรายงานต่อผู้ชี้ขาด ในกรณีที่ไม่มีผู้ชี้ขาด ผู้ตัดสินจะต้องรายงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการแข่งขัน\n</p>\n<p>\n3. กรรมการกำกับการส่งลูกเป็นผู้ขานเสีย สำหรับการส่งลูกที่ผู้ส่งลูกเป็นผู้กระทำ\n</p>\n<p>\n4. กรรมการกำกับเส้นเป็นผู้ขานลูกดี หรือลูกออก ผู้ตัดสินจะต้อง\n</p>\n<p>\n5. ควบคุมเกมการแข่งขันให้ดำเนินไปภายใต้กฎกติกาอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขานเสีย หรือเอาใหม่ เมื่อมีกรณีเกิดขึ้นไม่ว่าจะปราศจากการอุทธรณ์จากผู้เล่น\n</p>\n<p>\n6. ตัดสินคำอุทธรณ์เกี่ยวกับการโต้แย้งซึ่งมีขึ้นก่อนการส่งลูกครั้งต่อไป\n</p>\n<p>\n7. แน่ใจว่าผู้เล่นและผู้ชมได้รับทราบความคืบหน้าของเกมการแข่งขัน\n</p>\n<p>\n8. แต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการกำกับเส้นหรือกรรมการกำกับการส่งลูก หลังจากได้ปรึกษากับผู้ชี้ขาด\n</p>\n<p>\n9. ไม่ลบล้างคำตัดสินของกรรมการกำกับเส้น และกรรมการกำกับการส่งลูก\n</p>\n<p>\n10. เมื่อไม่มีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่สนามคนอื่น ให้มอบหมายหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติให้เรียบร้อย<br />\n      เมื่อเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งมองไม่เห็น ให้ตัดสินใจด้วยตนเอง หรือให้เอาใหม่\n</p>\n<p>\n11. ตัดสินใจเกี่ยวกับพักการเล่น\n</p>\n<p>\n12. บันทึกและรายงานต่อผู้ชี้ขาดให้ทราบทุกเรื่อง และ\n</p>\n<p>\n13. เสนอคำอุทธรณ์ที่ไม่พอใจในปัญหาเกี่ยวกับกติกา โดยเฉพาะให้ผู้ชี้ขาดทราบ (คำอุทธรณ์ดังกล่าวจะต้องกระทำก่อนการส่งลูกครั้งต่อไป หรือถ้าเกมการเล่นจบลงก่อนที่ฝ่ายอุทธรณ์เดินออกจากสนาม</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n \n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>ประโยชน์ของกีฬาแบดมินตัน</strong>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p>\n<br />\nแบดมินตันก็เช่นเดียวกับกีฬาชนิดอื่นๆที่มีประโยชน์มากสำหรับผู้เล่น ซึ่งสามารถสรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ <br />\n1.ทำให้มีพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ <br />\n2.ทำให้มีสายตาและการเคลื่อนไหวที่รวดเร็วว่องไว <br />\n3.ทำให้เป็นผู้ที่มีการคาดการณ์ล่วงหน้าได้ <br />\n4.ทำให้เป็นผู้ที่สามารถตัดสินใจได้อยางรวดเร็วทันเวลา <br />\n5.ทำให้รู้จักแบ่งหน้าที่และรักษาหน้าที่ มีการร่วมมือกับผู้อื่นได้ดี <br />\n6.สามารถเข้ากับคนอื่นได้ และมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี <br />\n7.ทำให้เป็นผู้ที่มีน้ำใจเป็นนักกีฬารู้แพ้รู้ชนะ และรู้จักให้อภัย <br />\n8.ทำให้เป็นผู้ที่รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u7503/4.jpg\" height=\"139\" />\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffff99\">ที่มาของภาพ: <span style=\"font-size: x-small\"><a href=\"http://www.geocities.com/comeupon_man/athens2004-4.jpg\">http://www.geocities.com/comeupon_man/athens2004-4.jpg</a></span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000; background-color: #ffffff\">แหล่งอ้างอิง:</span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">http://saynamkung.exteen.com/20070331/entry-5</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">http://www.geocities.com/boon_dit/mix1.html</span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.geocities.com/sportcu/badmin.html\"><span style=\"color: #000000\">http://www.geocities.com/sportcu/badmin.html</span></a>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<strong>จัดทำโดย : นางสาวจันทร์จิรา ทองโฉม ม.6/4 เลขที่ 31</strong>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1718510553, expire = 1718596953, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:443df43e207a478d37fe1aca6d6cac0c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e22eed99bc44928354053dfa1bd2da1f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>ประวัติกีฬาแบดมินตัน</strong> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"214\" src=\"/files/u7503/1.jpg\" height=\"245\" />\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffff99\">ที่มาของภาพ: <span style=\"font-size: x-small\"><a href=\"http://www.badmintonthai.com/main/spaw/images/Badminton_cat.jpg\">http://www.badmintonthai.com/main/spaw/images/Badminton_cat.jpg</a></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Courier New\"></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"left\">\nแบดมินตันเป็นกีฬาที่นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลายมากในโลกประเภทหนึ่ง เชื่อกันว่ากีฬาประเภทนี้นิยมเล่นกันมามากกว่า 60 ปีมาแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานยืนยันแน่นอนตายตัวว่ามาจากแหล่งใด คงมีแต่หลักฐานบางชิ้นที่บ่งว่ามีการเล่นประปรายในยุโรปตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17  เกมที่ฝรั่งเขาเรียกกันว่า แบทเทิลดอร์กับลูกขนไก่ก็นับได้ว่าเป็นต้นตระกูลของกีฬาแบดมินตัน แม้จะมีชื่อเรียกต่างกันไปก็ตาม แต่วิธีเล่นยังคงเหมือนกัน มีบางคนกล่าวว่าได้มีการเล่นแบดมินตันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 12 ในราชสำนักในอังกฤษและในประเทศจีนก็มีการเล่นเกมที่มีลักษณะคล้าย ๆ กับแบดมินตันในศตวรรษเดียวกัน\n</p>\n<p align=\"left\">\nในปี พ.ศ. 2403 ได้ค้นพบลูกขนไก่แบบโบราณ ซึ่งอยู่ในสภาพดีจำนวนมากถูกเก็บรักษาเอาไว้ที่แบดมินตันเฮ้าส์ ซึ่งมีรูปร่างและขนาดที่แตกต่างกันออกไปไม่แน่นอน แต่มีขนาดใหญ่ และหนักกว่าลูกขนไก่ในปัจจุบันมาก มีกำมะหยี่ห่อหุ้มที่ฐาน และผูกริบบิ้นสีสวยเอาไว้ และต่อมาได้พบลูกขนไก่ซึ่งมีหลักฐานระบุว่าทำขึ้นที่อินเดียในปี พ.ศ. 2408 ถูกเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์มีขนไก่ 19 ขน ความยาวของขนไก่ 3 นิ้ว มีฐานเป็นไม้คอร์ก พื้นเรียบมีริบบิ้นผูกติดเอาไว้ด้วย\n</p>\n<p align=\"left\">\nในปี ค.ศ. 1870 ได้มีการจดบันทึกประวัติกีฬาแบดมินตันไว้เป็นการแน่นอนโดยกล่าวว่าการเล่นกีฬาแบดมินตันได้เกิดขึ้นที่เมืองปูนา ซึ่งเป็นเมืองเล็ก ๆ ห่างจากบอมเบย์ในประเทศอินเดียประมาณ 50 ไมล์ โดยเล่นบนพื้นสนามหญ้าเอาไม้แผ่นกระดานบาง ๆ มาทำเป็นไม้ตีคล้ายพัดตีลูกขนไก่โต้กันไปมา ต่อมามีนายทหารอังกฤษที่ไปประจำการอยู่ที่นั้น นำเกมการตีลูกขนไก่นี้กลับไปยังเกาะอังกฤษ และเล่นกันอย่างแพร่หลาย ณ คฤหาสน์แบดมินตัน ของท่านดยุค แห่งบิวฟอร์ดที่กล๊อสเตอร์ในปี ค.ศ. 1873 เป็นคฤหาสน์ที่ใหญ่โตกว้างขวาง มีเนื้อที่เป็นสวนรุกขชาติล้อมรอบมีปริมณฑล 10 ไมล์ อยู่ในทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองบริสตอลราว ๆ 17 ไมล์ ต่อมาก็เรียกชื่อกีฬาลูกขนไก่นี้ว่า &quot;แบดมินตัน&quot; ตามชื่อคฤหาสน์ ดังกล่าวตั้งแต่นั้นมา หลังจากนั้นก็มีการเล่นกีฬาแบดมินตันแพร่หลายไปยังประเทศต่าง ๆ ในภาคพื้นยุโรป เช่นเดนมาร์ก สวีเดน เป็นต้น เกมกีฬาแบดมินตันนี้มีลักษณะคล้าย ๆ กับการเล่นเทนนิสแต่สามารถเล่นได้ภายในตัวตึกโดยไม่ต้องกังวลต่อลม หรือหิมะที่กระหน่ำมารบกวนการเล่นเกมในฤดูหนาว เมื่อมีชาวยุโรปได้อพยพไปอยู่ในทวีปอเมริกา ได้นำเอาเกมการเล่นนี้ไปด้วย ส่วนทางเอเชียนั้น ได้มีการแพร่หลายมาโดยทหารเรืออังกฤษนำมาเล่นในอาณานิคมของอังกฤษที่ถูกยึดครองเป็นส่วนใหญ่ เช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ มาเลเซีย ต่างนำเกมแบดมินตันไปเล่นยังประเทศของตนอย่างแพร่หลาย การที่ประเทศอังกฤษมีอาณานิคมกว้างขวางทำให้เกมการเล่นแบดมินตันแพร่หลายไปยังส่วนต่าง ๆ ของโลกอย่างกว้างขวาง รวมทั้งประเทศไทยด้วย</p>\n', created = 1718510553, expire = 1718596953, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e22eed99bc44928354053dfa1bd2da1f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แบดมินตัน

รูปภาพของ sss28362

ประวัติกีฬาแบดมินตัน 

ที่มาของภาพ: http://www.badmintonthai.com/main/spaw/images/Badminton_cat.jpg

แบดมินตันเป็นกีฬาที่นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลายมากในโลกประเภทหนึ่ง เชื่อกันว่ากีฬาประเภทนี้นิยมเล่นกันมามากกว่า 60 ปีมาแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานยืนยันแน่นอนตายตัวว่ามาจากแหล่งใด คงมีแต่หลักฐานบางชิ้นที่บ่งว่ามีการเล่นประปรายในยุโรปตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17  เกมที่ฝรั่งเขาเรียกกันว่า แบทเทิลดอร์กับลูกขนไก่ก็นับได้ว่าเป็นต้นตระกูลของกีฬาแบดมินตัน แม้จะมีชื่อเรียกต่างกันไปก็ตาม แต่วิธีเล่นยังคงเหมือนกัน มีบางคนกล่าวว่าได้มีการเล่นแบดมินตันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 12 ในราชสำนักในอังกฤษและในประเทศจีนก็มีการเล่นเกมที่มีลักษณะคล้าย ๆ กับแบดมินตันในศตวรรษเดียวกัน

ในปี พ.ศ. 2403 ได้ค้นพบลูกขนไก่แบบโบราณ ซึ่งอยู่ในสภาพดีจำนวนมากถูกเก็บรักษาเอาไว้ที่แบดมินตันเฮ้าส์ ซึ่งมีรูปร่างและขนาดที่แตกต่างกันออกไปไม่แน่นอน แต่มีขนาดใหญ่ และหนักกว่าลูกขนไก่ในปัจจุบันมาก มีกำมะหยี่ห่อหุ้มที่ฐาน และผูกริบบิ้นสีสวยเอาไว้ และต่อมาได้พบลูกขนไก่ซึ่งมีหลักฐานระบุว่าทำขึ้นที่อินเดียในปี พ.ศ. 2408 ถูกเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์มีขนไก่ 19 ขน ความยาวของขนไก่ 3 นิ้ว มีฐานเป็นไม้คอร์ก พื้นเรียบมีริบบิ้นผูกติดเอาไว้ด้วย

ในปี ค.ศ. 1870 ได้มีการจดบันทึกประวัติกีฬาแบดมินตันไว้เป็นการแน่นอนโดยกล่าวว่าการเล่นกีฬาแบดมินตันได้เกิดขึ้นที่เมืองปูนา ซึ่งเป็นเมืองเล็ก ๆ ห่างจากบอมเบย์ในประเทศอินเดียประมาณ 50 ไมล์ โดยเล่นบนพื้นสนามหญ้าเอาไม้แผ่นกระดานบาง ๆ มาทำเป็นไม้ตีคล้ายพัดตีลูกขนไก่โต้กันไปมา ต่อมามีนายทหารอังกฤษที่ไปประจำการอยู่ที่นั้น นำเกมการตีลูกขนไก่นี้กลับไปยังเกาะอังกฤษ และเล่นกันอย่างแพร่หลาย ณ คฤหาสน์แบดมินตัน ของท่านดยุค แห่งบิวฟอร์ดที่กล๊อสเตอร์ในปี ค.ศ. 1873 เป็นคฤหาสน์ที่ใหญ่โตกว้างขวาง มีเนื้อที่เป็นสวนรุกขชาติล้อมรอบมีปริมณฑล 10 ไมล์ อยู่ในทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองบริสตอลราว ๆ 17 ไมล์ ต่อมาก็เรียกชื่อกีฬาลูกขนไก่นี้ว่า "แบดมินตัน" ตามชื่อคฤหาสน์ ดังกล่าวตั้งแต่นั้นมา หลังจากนั้นก็มีการเล่นกีฬาแบดมินตันแพร่หลายไปยังประเทศต่าง ๆ ในภาคพื้นยุโรป เช่นเดนมาร์ก สวีเดน เป็นต้น เกมกีฬาแบดมินตันนี้มีลักษณะคล้าย ๆ กับการเล่นเทนนิสแต่สามารถเล่นได้ภายในตัวตึกโดยไม่ต้องกังวลต่อลม หรือหิมะที่กระหน่ำมารบกวนการเล่นเกมในฤดูหนาว เมื่อมีชาวยุโรปได้อพยพไปอยู่ในทวีปอเมริกา ได้นำเอาเกมการเล่นนี้ไปด้วย ส่วนทางเอเชียนั้น ได้มีการแพร่หลายมาโดยทหารเรืออังกฤษนำมาเล่นในอาณานิคมของอังกฤษที่ถูกยึดครองเป็นส่วนใหญ่ เช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ มาเลเซีย ต่างนำเกมแบดมินตันไปเล่นยังประเทศของตนอย่างแพร่หลาย การที่ประเทศอังกฤษมีอาณานิคมกว้างขวางทำให้เกมการเล่นแบดมินตันแพร่หลายไปยังส่วนต่าง ๆ ของโลกอย่างกว้างขวาง รวมทั้งประเทศไทยด้วย

รูปภาพของ ssspoonsak

มีข้อมูลดี
ขออีกนิด ควรจัดข้อมูลให้ดูน่าสนใจ
ไม่ควรนำข้อมูลมาจากแหล่งเดียว
ควรนำมาจากหลายแหล่งเพื่อดูความถูกต้องของข้อมูล
อย่าลืมอ้างแหล่งที่มาของภาพไว้ใต้ภาพ
และอ้างแหล่งที่มาของข้อมูลไว้ทุกหน้า
จะเป็นกำลังใจให้ แล้วจะมาดูอีกครั้ง

อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 601 คน กำลังออนไลน์