• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c76de65c4d562bf7cabad5b0909c2246' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7379/giant-swing.jpg\" height=\"451\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\">ที่มา <span class=\"a\"><span style=\"font-size: x-small; color: #008000\">www.sema.go.th</span></span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>เสาชิงช้า</strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000080\">สถานที่ตั้ง</span> <span style=\"color: #ff0000\">ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของโบสถ์พราหมณ์ หรือหน้าวัดสุทัศน์เทพวนาราม แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"445\" src=\"/files/u7379/Pillar_20swing.jpg\" height=\"306\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\">ที่มา <span class=\"a\"><span style=\"font-size: x-small; color: #008000\">www.our-teacher.com</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000080\">ประวัติความเป็นมา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">มีพราหมณ์ นาฬิวัน ชาวเมืองสุโขทัย มีนามว่า พระครูสิทธิชัย (กระต่าย) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">นำความขึ้นกราบบังคมทูลต่อพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ว่าการประกอบพิธีตรียัมปวายอันเป็นประเพณีของพราหมณ์มีมาแต่โบราณจำเป็นต้องมีการโล้ชิงช้า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเสาชิงช้าขึ้นตรงหน้าเทวสถาน เมื่อวันพุธ แรม ๔ ค่ำ เดือน ๕ ปีมะโรง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">พุทธศักราช ๒๓๒๗ ต่อมาได้สร้างโรงก๊าด (โรงเก็บน้ำมันก๊าด) ขึ้น ณ เทวสถาน จึงย้ายเสาชิงช้ามา ณ ที่ตั้งปัจจุบัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">การสร้างเสาชิงช้าขึ้นก็เพื่อจะรักษาธรรมเนียมการสร้างพระนครตามอย่างโบราณไว้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">โดยถือคติว่าจะทำให้พระนครมีความมั่นคงแข็งแรง กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนเสาชิงช้า</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๖๖ ตอนที่ ๖๔ วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๒ หน้า ๕๒๘๑ เป็น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">&quot;โบราณวัตถุสถาน&quot; สำคัญของชาติ ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๒ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">การปฏิสังขรณ์เสาชิงช้า ได้รับการปฏิสังขรณ์เมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๓ มีคำจารึกติดไว้ที่เสาชิงช้า ดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\">&quot;ไม้เสาชิงช้าคู่นี้ กับทั้งเสาตะเกียบและทับหลัง เมื่อถึงคราวเปลี่ยนเสาเก่า บริษัท หลุยตีลี โอโนเวนส์ จำกัด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ซึ่งทำการค้าไม้ได้ให้ไม้สร้างขึ้นใหม่ เพื่อเป็นที่ระลึกแก่นายหลุยส์โทมัส เลียวโอเวนส์ ซึ่งได้ถึงแก่กรรมไปแล้ว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">เป็นผู้ที่เคยเข้ามาตั้งเคหะสถาน อยู่ในประเทศสยามกว่า ๕๐ ปี เสาชิงช้านี้ได้สร้างเสร็จ เมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๖๓&quot;</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\">     พุทธศักราช ๒๔๙๐ เกิดไฟไหม้เสาชิงช้า เนื่องจากธูปกราบไหว้ไฟจากธูปตกลงไปในรอยแตก ทำให้คุไหม้เสาขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">รัฐบาลครั้งนั้นมีดำริจะรื้อ แต่เมื่อมีเสียงวิพากวิจารณ์มากขึ้นจึงระงับไว้มีคำสั่งให้เทศบาลนครกรุงเทพฯ ซ่อมกระจังไว้ชั่วคราว<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">     พุทธศักราช ๒๕๐๒ กระจังที่เป็นลวดลายผุลง ได้เปลี่ยนใหม่และทาสี</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\">     พุทธศักราช ๒๕๑๓ สภาพของเสาชิงช้าชำรุดทรุดโทรมมาก ต้องเปลี่ยนเสาใหม่ เพื่อให้มั่นคงแข็งแรง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">การปรับปรุงบูรณะ ได้พยายามรักษาลักษณะเดิมไว้ทุกประการ งานแล้วเสร็จ และได้ทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๑๕</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u7379/1.jpg\" height=\"293\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\">ที่มา </span><a href=\"http://www.oknation.net/blog/mitsunjon/category/t\"><span style=\"color: #999999\">http://www.oknation.net/blog/mitsunjon/category/t</span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\">ลักษณะทางสถาปัตยกรรม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">เสาชิงช้ามีความสูงจากฐานกลมถึงยอดลายกระจังไม้ประมาณ ๒๑.๑๕ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางฐานกลมประมาณ ๑๐.๕๐ เมตร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ฐานกลมก่อด้วยหินสีขาว พื้นบนปูกระเบื้องดินเผาสีแดง มีบันได ๒ ชั้น ทั้ง ๒ ด้าน ที่ถนนบำรุงเมืองตัดผ่านตามแนวโค้งของฐาน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ติดแผ่นจารึกเสาชิงช้า เสาชิงช้าแกนกลางคู่และเสาตะเกียบ ๒ คู่ เป็นเสาหัวเม็ดล้วนทำด้วยไม้สักกลึงกลมติดแผ่นจารึกเสาชิงช้า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">กระจังและหูช้างไม้เป็นลวดลายไทย ติดสายล่อฟ้าจากลวดลายกระจังด้านบนลงดิน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #000080\">ความสำคัญต่อชุมชน</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\">เป็นโบราณวัตถุสถานที่สำคัญของกรุงเทพมหานคร ซึ่งตามประวัติได้ใช้โล้ชิงช้า ในพิธีกรรมตรียัมปวาย ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๑ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000\">และเลิกโล้ชิงช้าในสมัยรัชกาลที่ ๕<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #999999\">ที่มา </span><a href=\"http://tarachai.tripod.com/03seethaitumnan/central/bangkok003.htm\"><span style=\"color: #999999\">http://tarachai.tripod.com/03seethaitumnan/central/bangkok003.htm</span></a>\n</p>\n', created = 1719001685, expire = 1719088085, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c76de65c4d562bf7cabad5b0909c2246' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รอบเกาะรัตนโกสิทร์

รูปภาพของ sss27208

 

 

 

 

 

ที่มา www.sema.go.th

 

เสาชิงช้า


สถานที่ตั้ง ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของโบสถ์พราหมณ์ หรือหน้าวัดสุทัศน์เทพวนาราม แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร

 

 

 

ที่มา www.our-teacher.com


ประวัติความเป็นมา

มีพราหมณ์ นาฬิวัน ชาวเมืองสุโขทัย มีนามว่า พระครูสิทธิชัย (กระต่าย)

นำความขึ้นกราบบังคมทูลต่อพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ว่าการประกอบพิธีตรียัมปวายอันเป็นประเพณีของพราหมณ์มีมาแต่โบราณจำเป็นต้องมีการโล้ชิงช้า

พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเสาชิงช้าขึ้นตรงหน้าเทวสถาน เมื่อวันพุธ แรม ๔ ค่ำ เดือน ๕ ปีมะโรง

พุทธศักราช ๒๓๒๗ ต่อมาได้สร้างโรงก๊าด (โรงเก็บน้ำมันก๊าด) ขึ้น ณ เทวสถาน จึงย้ายเสาชิงช้ามา ณ ที่ตั้งปัจจุบัน

การสร้างเสาชิงช้าขึ้นก็เพื่อจะรักษาธรรมเนียมการสร้างพระนครตามอย่างโบราณไว้

โดยถือคติว่าจะทำให้พระนครมีความมั่นคงแข็งแรง กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนเสาชิงช้า

ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๖๖ ตอนที่ ๖๔ วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๒ หน้า ๕๒๘๑ เป็น

"โบราณวัตถุสถาน" สำคัญของชาติ ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๒

การปฏิสังขรณ์เสาชิงช้า ได้รับการปฏิสังขรณ์เมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๓ มีคำจารึกติดไว้ที่เสาชิงช้า ดังนี้


"ไม้เสาชิงช้าคู่นี้ กับทั้งเสาตะเกียบและทับหลัง เมื่อถึงคราวเปลี่ยนเสาเก่า บริษัท หลุยตีลี โอโนเวนส์ จำกัด

ซึ่งทำการค้าไม้ได้ให้ไม้สร้างขึ้นใหม่ เพื่อเป็นที่ระลึกแก่นายหลุยส์โทมัส เลียวโอเวนส์ ซึ่งได้ถึงแก่กรรมไปแล้ว

เป็นผู้ที่เคยเข้ามาตั้งเคหะสถาน อยู่ในประเทศสยามกว่า ๕๐ ปี เสาชิงช้านี้ได้สร้างเสร็จ เมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๖๓"


     พุทธศักราช ๒๔๙๐ เกิดไฟไหม้เสาชิงช้า เนื่องจากธูปกราบไหว้ไฟจากธูปตกลงไปในรอยแตก ทำให้คุไหม้เสาขึ้น

รัฐบาลครั้งนั้นมีดำริจะรื้อ แต่เมื่อมีเสียงวิพากวิจารณ์มากขึ้นจึงระงับไว้มีคำสั่งให้เทศบาลนครกรุงเทพฯ ซ่อมกระจังไว้ชั่วคราว

     พุทธศักราช ๒๕๐๒ กระจังที่เป็นลวดลายผุลง ได้เปลี่ยนใหม่และทาสี


     พุทธศักราช ๒๕๑๓ สภาพของเสาชิงช้าชำรุดทรุดโทรมมาก ต้องเปลี่ยนเสาใหม่ เพื่อให้มั่นคงแข็งแรง

การปรับปรุงบูรณะ ได้พยายามรักษาลักษณะเดิมไว้ทุกประการ งานแล้วเสร็จ และได้ทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๑๕

 

 

 

ที่มา http://www.oknation.net/blog/mitsunjon/category/t

ลักษณะทางสถาปัตยกรรม

เสาชิงช้ามีความสูงจากฐานกลมถึงยอดลายกระจังไม้ประมาณ ๒๑.๑๕ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางฐานกลมประมาณ ๑๐.๕๐ เมตร

ฐานกลมก่อด้วยหินสีขาว พื้นบนปูกระเบื้องดินเผาสีแดง มีบันได ๒ ชั้น ทั้ง ๒ ด้าน ที่ถนนบำรุงเมืองตัดผ่านตามแนวโค้งของฐาน

ติดแผ่นจารึกเสาชิงช้า เสาชิงช้าแกนกลางคู่และเสาตะเกียบ ๒ คู่ เป็นเสาหัวเม็ดล้วนทำด้วยไม้สักกลึงกลมติดแผ่นจารึกเสาชิงช้า

กระจังและหูช้างไม้เป็นลวดลายไทย ติดสายล่อฟ้าจากลวดลายกระจังด้านบนลงดิน


ความสำคัญต่อชุมชน


เป็นโบราณวัตถุสถานที่สำคัญของกรุงเทพมหานคร ซึ่งตามประวัติได้ใช้โล้ชิงช้า ในพิธีกรรมตรียัมปวาย ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๑

และเลิกโล้ชิงช้าในสมัยรัชกาลที่ ๕

 

 ที่มา http://tarachai.tripod.com/03seethaitumnan/central/bangkok003.htm

รูปภาพของ ssspoonsak

ใช้ได้เลย อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

รูปภาพของ sss28781

สวยนะย่ะหล่อน

รูปภาพของ sss27209

เฮ้!!

รูปอันแรกคุ้นๆนะเนี่ย

555

งามนะเนี่ย >O<

รูปภาพของ sss27220

รูปสวย

น่าไปเที่ยวมากเลย 555+

รูปภาพของ sss27408

เห้ย

 

สวยมากเลยไง

 

ศิลป์จิงๆเลย

เห้ย สวย

เกาะรัตนโกสินทร์มี ม.ศิลปากร อยู่แถวๆนั้นช่ะ

ฮ่าๆๆๆ

ขอให้แกได้เที่ยวเกาะรัตนโกสินทร์ทุกวันเลยนะเว้ย ปีหน้า !

เพี๊ยง !!!

:)

รูปภาพของ sss27208

แน่นอน !!!!

คัดสรร รูปมาอย่างดี

ไม่ สวย ไม่ลงจร้า

รูปภาพของ sss27212

สวยๆ

รูปงามดี 

ชอบ ชอบ 

^^" 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 418 คน กำลังออนไลน์