• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3c620fe0f811514bb504003fed5bf303' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                                                          <img border=\"0\" width=\"133\" src=\"/files/u7487/E0_B8_8B_E0_B8_B9_E0_B8_A5_E0_B8_B4_E0_B8_99.jpg\" height=\"200\" /></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">                                       ที่มาของรูป  <strong> </strong><a href=\"http://thaidiabetes.blogspot.com/\"><u><span style=\"color: #810081\">http://thaidiabetes.blogspot.com/</span></u></a>   </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">ประเภทของโรคเบาหวาน</span></span></span>                                                                                                                            <br />\n<span style=\"color: #0000ff\">1.  เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน (Insulin-dependent diabetes mellitus/ IDDM)Type I Diabetes</span>                           </strong></span>เป็นชนิดที่พบได้น้อย แต่มีความรุนแรงและอันตรายสูง มักพบในเด็กและคนอายุต่ำกว่า 25 ปี แต่ก็อาจพบในคนสูงอายุได้บ้าง ตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้ จะสร้างอินซูลินไม่ได้เลย หรือได้น้อยมาก เชื่อว่าร่างกายมีการสร้างแอนติบอดีขึ้น ต่อต้านทำลายตับอ่อนของตัวเอง จนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ ดังที่เรียกว่า &quot;โรค ภูมิแพ้ต่อตัวเอง&quot; หรือ &quot;ออโตอิมมูน (autoimmune)&quot; ทั้งนี้ เป็นผลมาจาก ความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ ร่วมกับการติดเชื้อ หรือการได้รับสารพิษจากภายนอก ผู้ป่วยจำเป็นต้องพึ่งพาการฉีดอินซูลิน เข้าทดแทนในร่างกายทุกวัน จึงจะสามารถเผาผลาญน้ำตาลได้เป็นปกติ มิเช่นนั้น ร่างกายจะเผาผลาญไขมัน จนทำให้ผ่ายผอมอย่างรวดเร็ว  และถ้าเป็นรุนแรง จะมีการคั่งของ สารคีโตน (ketones) ซึ่งเป็นสารที่เกิดจาก การเผาผลาญไขมัน สารนี้จะเป็นพิษ ต่อระบบประสาท ทำให้ผู้ป่วยหมดสติถึงตายได้รวดเร็ว เรียกว่า &quot;ภาวะคั่งสารคีโตน หรือ คีโตซิส (Ketosis)&quot;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>2.   เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน (Non-insulin-dependent diabetes mellitus/NIDDM) Type II Diabetes</strong></span>           เป็น เบาหวาน ชนิดที่พบเห็นกันเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งมักจะมีความรุน แรงน้อย มักพบในคนอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป แต่ก็อาจพบในเด็ก หรือวัยหนุ่มสาวได้บ้าง ตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้ ยังสามารถสร้างอินซูลิน แต่ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย จึงทำให้มีน้ำตาลที่เหลือใช้ กลายเป็นเบาหวานได้ ผู้ป่วยชนิดนี้ ยังอาจแบ่งเป็นพวกที่อ้วนมากๆ กับพวกที่ไม่อ้วน (รูปร่างปกติ หรือผอม) สาเหตุอาจเกิดจากกรรมพันธุ์ อ้วนเกินไป มีลูกดก จากการใช้ยา หรือพบร่วมกับโรคอื่นๆ ผู้ป่วยมักไม่เกิดภาวะคีโตซิส เช่นที่เกิดกับ ชนิดพึ่งอินซูลิน การควบคุมอาหาร หรือการใช้ยาเบาหวานชนิดกิน ก็มักจะได้ผลในการควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติได้ หรือบางครั้งถ้าระดับน้ำตาลสูงมากๆ ก็อาจต้องใช้อินซูลิน ฉีดเป็นครั้งคราว แต่ไม่ต้องใช้อินซูลินตลอดไป จึงถือว่าไม่ต้องพึ่ง อินซูลิน\n</p>\n<p>\n       นอกจากนี้ยังมีสาเหตุมาจากการใช้ยาด้วย เช่น สเตอรอยด์ ยาขับปัสสาวะ ยาเม็ดคุมกำเนิด\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>เบาหวานชนิดที่ 1                                 เบาหวานชนิดที 2                                                                               </strong></span>\n</p>\n<p>\n• เกิดในคนอายุน้อย(30)                          •   เกิดในคนอายุมาก(40) <br />\n•  ผอม                                               •   น้ำหนักเกินหรืออ้วน <br />\n•  ไม่สามารถสร้างอินซูลิน                         •   ผลิตอินซูลินได้บ้าง แต่ไม่พอ   ผลิตอินซูลินได้บ้าง แต่ไม่พอ  <br />\n•  เกิดอาการรุนแรงได้ง่าย                         •   มีอาการเล็กน้อย <br />\n•  จำเป็นต้องใช้อินซูลิน                           •   คุมอาหารและใช้ยาเม็ด\n</p>\n<p>ที่มาของเนื้อหา<br />\n<a href=\"http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/endocrine/DM/risk.htm\" title=\"http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/endocrine/DM/risk.htm\">http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/endocrine/DM/risk.htm</a><br />\n<a href=\"http://www.yourhealthyguide.com/article/topic-diabete.htm\" title=\"http://www.yourhealthyguide.com/article/topic-diabete.htm\">http://www.yourhealthyguide.com/article/topic-diabete.htm</a><br />\n<a href=\"http://thaidiabetes.blogspot.com/\" title=\"http://thaidiabetes.blogspot.com/\">http://thaidiabetes.blogspot.com/</a> </p>\n<p></p>', created = 1719168750, expire = 1719255150, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3c620fe0f811514bb504003fed5bf303' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคเบาหวาน

รูปภาพของ sss27492

                                                         

                                       ที่มาของรูป   http://thaidiabetes.blogspot.com/  

ประเภทของโรคเบาหวาน                                                                                                                            
1.  เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน (Insulin-dependent diabetes mellitus/ IDDM)Type I Diabetes                          
เป็นชนิดที่พบได้น้อย แต่มีความรุนแรงและอันตรายสูง มักพบในเด็กและคนอายุต่ำกว่า 25 ปี แต่ก็อาจพบในคนสูงอายุได้บ้าง ตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้ จะสร้างอินซูลินไม่ได้เลย หรือได้น้อยมาก เชื่อว่าร่างกายมีการสร้างแอนติบอดีขึ้น ต่อต้านทำลายตับอ่อนของตัวเอง จนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ ดังที่เรียกว่า "โรค ภูมิแพ้ต่อตัวเอง" หรือ "ออโตอิมมูน (autoimmune)" ทั้งนี้ เป็นผลมาจาก ความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ ร่วมกับการติดเชื้อ หรือการได้รับสารพิษจากภายนอก ผู้ป่วยจำเป็นต้องพึ่งพาการฉีดอินซูลิน เข้าทดแทนในร่างกายทุกวัน จึงจะสามารถเผาผลาญน้ำตาลได้เป็นปกติ มิเช่นนั้น ร่างกายจะเผาผลาญไขมัน จนทำให้ผ่ายผอมอย่างรวดเร็ว  และถ้าเป็นรุนแรง จะมีการคั่งของ สารคีโตน (ketones) ซึ่งเป็นสารที่เกิดจาก การเผาผลาญไขมัน สารนี้จะเป็นพิษ ต่อระบบประสาท ทำให้ผู้ป่วยหมดสติถึงตายได้รวดเร็ว เรียกว่า "ภาวะคั่งสารคีโตน หรือ คีโตซิส (Ketosis)"

2.   เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน (Non-insulin-dependent diabetes mellitus/NIDDM) Type II Diabetes           เป็น เบาหวาน ชนิดที่พบเห็นกันเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งมักจะมีความรุน แรงน้อย มักพบในคนอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป แต่ก็อาจพบในเด็ก หรือวัยหนุ่มสาวได้บ้าง ตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้ ยังสามารถสร้างอินซูลิน แต่ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย จึงทำให้มีน้ำตาลที่เหลือใช้ กลายเป็นเบาหวานได้ ผู้ป่วยชนิดนี้ ยังอาจแบ่งเป็นพวกที่อ้วนมากๆ กับพวกที่ไม่อ้วน (รูปร่างปกติ หรือผอม) สาเหตุอาจเกิดจากกรรมพันธุ์ อ้วนเกินไป มีลูกดก จากการใช้ยา หรือพบร่วมกับโรคอื่นๆ ผู้ป่วยมักไม่เกิดภาวะคีโตซิส เช่นที่เกิดกับ ชนิดพึ่งอินซูลิน การควบคุมอาหาร หรือการใช้ยาเบาหวานชนิดกิน ก็มักจะได้ผลในการควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติได้ หรือบางครั้งถ้าระดับน้ำตาลสูงมากๆ ก็อาจต้องใช้อินซูลิน ฉีดเป็นครั้งคราว แต่ไม่ต้องใช้อินซูลินตลอดไป จึงถือว่าไม่ต้องพึ่ง อินซูลิน

       นอกจากนี้ยังมีสาเหตุมาจากการใช้ยาด้วย เช่น สเตอรอยด์ ยาขับปัสสาวะ ยาเม็ดคุมกำเนิด

เบาหวานชนิดที่ 1                                 เบาหวานชนิดที 2                                                                               

• เกิดในคนอายุน้อย(30)                          •   เกิดในคนอายุมาก(40)
•  ผอม                                               •   น้ำหนักเกินหรืออ้วน
•  ไม่สามารถสร้างอินซูลิน                         •   ผลิตอินซูลินได้บ้าง แต่ไม่พอ   ผลิตอินซูลินได้บ้าง แต่ไม่พอ  
•  เกิดอาการรุนแรงได้ง่าย                         •   มีอาการเล็กน้อย
•  จำเป็นต้องใช้อินซูลิน                           •   คุมอาหารและใช้ยาเม็ด

ที่มาของเนื้อหา
http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/endocrine/DM/risk.htm
http://www.yourhealthyguide.com/article/topic-diabete.htm
http://thaidiabetes.blogspot.com/

รูปภาพของ ssspoonsak

มีข้อมูลดี แต่พิมพ์ตกๆหล่นๆ
ขออีกนิด อย่าลืมอ้างแหล่งที่มาของภาพไว้ใต้ภาพ
และอ้างแหล่งที่มาของข้อมูลไว้ทุกหน้า
จะเป็นกำลังใจให้ แล้วจะมาดูอีกครั้ง

อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 337 คน กำลังออนไลน์