• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:edee5a6356bb20cc5366872a22da125e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>ความหมายของการบวช</strong>\n</p>\n<p>\n       คำว่า บวช มาจากคำว่า ป + วช แปลว่า เว้นชั่ว คือเว้นจากกาม ในที่นี้หมายเพียงบวชเป็นสามเณรและบวชเป็นพระภิกษุเท่านั้น จุดมุ่งหมายในการบวชก็คือการปฏิบัติตนเพื่อรื้อถอนออกจากความทุกข์ และทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน คือความดับทุกข์ อย่างไรก็ตาม การบวชได้แม้เพียงชั่วคราวก็นับว่าดี เพราะนอกจากเป็นการสืบต่อพระพุทธศาสนาแล้ว อย่างน้อยก็ยังเป็นเหตุให้รู้จักฝึกหัดความอดทน และความเสียสละอย่างมาก อาจทำให้เข้าถึงพุทธธรรมได้โดยใกล้ชิด\n</p>\n<p>\n<strong>ประเภทของการบวช</strong>\n</p>\n<p>\n       การบวชจะมี ๒ ลักษณะ ได้แก่ การบวชเป็นสามเณร เรียกว่า &quot;บรรพชา&quot; และการบวชเป็นพระภิกษุ เรียกว่า &quot;อุปสมบท&quot;</p>\n<p><strong>การบรรพชา</strong>\n</p>\n<p>\n       การบรรพชา หมายถึง การบวชเป็นสามเณร ซึ่งเป็นการเว้นจากพฤติกรรมต่าง ๆ ที่เคยกระทำในชีวิตฆราวาส หันมาใช้ชีวิตแบบสันโดษ สงบ ด้วยจุดมุ่งหมายเพื่อความหลุดพ้นจากกิเลสอันเป็นจุดหมายปลายทางของชีวิต การบรรพชา เป็นกิจเบื้องต้นของการอุปสมบท </p>\n<p><strong> </strong> \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"229\" src=\"/files/u11367/2_resize.jpg\" height=\"200\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nถ่ายภาพโดย  ครูจารี  จอมมงคล\n</div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<strong>คุณสมบัติของผู้ที่จะบรรพชา</strong> จะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ </p>\n<p> ๑. ต้องรู้เดียงสา คือมีอายุตั้งแต่ ๗ ปีขึ้นไป <br />\n ๒. ไม่เป็นโรคติดต่อ หรือโรคร้ายแรงเช่น โรคเรื้อน โรคฝีดาษ โรคกลาก โรคมงคร่อ หอบหืด ลมบ้าหมูและโรคที่สังคมรังเกียจอื่น ๆ <br />\n ๓. ไม่เป็นผู้มีอวัยวะบกพร่อง หรือพิการ เช่น มือด้วน แขนด้วน ขาเป๋ ตาบอด หูหนวก เป็นใบ้ เป็นง่อย <br />\n ๔. ไม่เป็นคนมีอวัยวะไม่สมประกอบ เช่น เตี้ยเกินไป สูงเกินไป คนคอพอก <br />\n ๕. ไม่เป็นคนทุรพล เช่น แก่เกินไป ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ <br />\n ๖. ไม่เป็นคนมีพันธะ คือ คนที่บิดามารดาไม่อนุญาต คนมีหนี้สินล้นพ้นตัว ข้าราชการที่ไม่ได้รับอนุญาต <br />\n ๗. ไม่เป็นคนเคยถูกลงอาญาหลวง เช่น คนถูกสักหมายโทษ คนถูกเฆี่ยนหลังลาย <br />\n ๘. ไม่เป็นคนประทุษร้ายความสงบ เช่น เป็นโจรผู้ร้ายต้องอาญาแผ่นดิน<br />\n     <br />\n     นอกจากนี้ต้องได้รับอนุญาตจากบิดามารดาด้วย \n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n      สามเณร แปลว่า ผู้เป็นเหล่ากอแห่งสมณะ เมื่อเป็นสามเณรแล้ว ต้องถือศีล 10  </p>\n<p><strong>ศีลสำหรับสามเณร</strong>\n</p>\n<p>\n ๑. เว้นจากการฆ่าสัตว์ ทั้งมนุษย์และสัตว์เดรัจฉาน <br />\n ๒. เว้นจากการลักทรัพย์ ฉ้อ โกง ตู่ หรือหยิบฉวยเอาสิ่งของที่เจ้าของมิได้อนุญาต <br />\n ๓. เว้นจากเพศสัมพันธ์ หรือการเสพเมถุน <br />\n ๔. เว้นจากการพูดเท็จ <br />\n ๕. เว้นจากการเสพสุราเมรัย เครื่องดองของเมา<br />\n ๖. เว้นจากการรับประทานอาหารในเวลาวิกาล คือตั้งแต่เที่ยงวันจนถึงรุ่งอรุณของวันใหม่ <br />\n ๗. เว้นจากการฟ้อนรำ ขับร้อง และประโคมดนตรี หรือดูการละเล่นต่าง ๆ<br />\n ๘. เว้นจากการทัดทรง หรือประดับกายด้วยดอกไม้ ลูบไล้ด้วยของหอม <br />\n ๙. เว้นจากการนอนบนที่นอนที่สูงหรือใหญ่ ข้างในยัดด้วยนุ่นหรือสำลีอันมีลายวิจิตร <br />\n ๑๐.เว้นจากการรับเงินและทอง นอกจากนี้ ยังมีต้อง ปัจจเวกขณะ คือ การพิจารณา จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คลานเภสัช ตลอดถึงวัตรที่ควรศึกษา อันเกี่ยวด้วยมารยาท คือ เสขิยวัตร อีก ๗๕ ข้อด้วย</p>\n<p><strong> สถานที่ทำพิธีบรรพชา<br />\n</strong>          เป็นกุฏิของพระอุปัชฌาย์ผู้ให้บวชก็ได้ เป็นวิหาร หรืออุโบสถก็ได้ มีพระอันดับตั้งแต่ 4 รูปขึ้นไปก็ได้ หรือไม่มีก็ได้\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<strong>การอุปสมบท<br />\n</strong>           การอุปสมบท คือ การบวชพระ ผู้ที่จะอุปสมบทได้นั้น จะต้องเป็นชายมีอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ได้รับการอนุญาตจากบิดามารดา และต้องถือศีล 227 ข้อ</p>\n<p><strong> คุณสมบัติของผู้ขออุปสมบท </strong></p>\n<p>           ผู้ที่จะบวชเป็นพระได้ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้</p>\n<p> ๑.เป็นสุภาพชนที่มีความประพฤติดีประพฤติชอบ ไม่มีความประพฤติเสียหาย เช่นติดสุราหรือยาเสพติดให้โทษเป็นต้นไม่เป็นคนจรจัด <br />\n ๒.มีความรู้อ่านและเขียนหนังสือไทยได้ <br />\n ๓.ไม่เป็นผู้มีทิฏฐิวิบัติ <br />\n ๔.ไม่เป็นคนล้มละลาย หรือมีหนี้สินผูกพัน <br />\n ๕.เป็นผู้ปราศจากบรรพชาโทษ และมีร่างกายสมบูรณ์ อาจบำเพ็ญสมณกิจได้ ไม่เป็นคนชราไร้ความสามารถหรือทุพพลภาพ หรือพิการ <br />\n ๖.มีสมณบริขารครบถ้วนและถูกต้องตามพระวินัย <br />\n ๗.เป็นผู้สามารถกล่าวคำขอบรรพชาอุปสมบทได้ด้วยตนเอง และถูกต้องไม่วิบัติ </p>\n<p><strong>ลักษณะต้องห้ามสำหรับผู้จะบวช  </strong>ได้แก่<br />\n ๑.เป็นคนทำความผิด หลบหนีอาญาแผ่นดิน <br />\n ๒.เป็นคนหลบหนีราชการ <br />\n ๓.เป็นคนต้องหาในคดีอาญา <br />\n ๔.เป็นคนเคยถูกตัดสินจำคุกฐานเป็นผู้ร้ายสำคัญ <br />\n ๕.เป็นคนถูกห้ามอุปสมบทเด็ดขาดทางพระศาสนา <br />\n ๖.เป็นคนมีโรคติดต่ออันน่ารังเกียจ เช่นวัณโรคในระยะอันตราย <br />\n ๗.เป็นคนมีอวัยวะพิการจนไม่สามารถปฏิบัติกิจพระศาสนาได้</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><strong>การเตรียมตัวก่อนบวช <br />\n</strong>           ผู้จะบวชเรียกว่า อุปสัมปทาเปกข์ หรือ นาคซึ่งต้องท่องคำบาลีหรือที่เรียกกันว่าขานนาคให้คล่องเพื่อใช้ในพิธีโดยต้องฝึกซ้อมกับพระอาจารย์ให้คล่องก่อนทำพิธีบวชเพื่อจะได้ไม่เคอะเขิน</p>\n<p><strong>ลำดับพิธีบรรพชาอุปสมบท<br />\n</strong><br />\n           การลาญาติผู้ใหญ่ หรือผู้ที่เคารพนับถือ เป็นเรื่องที่ผู้จะบวชพึงทำ วิธีปฏิบัติคือ ให้เตรียมกระทงดอกไม้มีกรวยครอบ พร้อมธูปเทียนแพวางลงบนพาน เมื่อไปถึงผู้ที่จะรับการลา ก็เข้าไปกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง เปิดกรวยกระทงดอกไม้แล้วยกขึ้นประคองต่อหน้าผู้รับการลาพร้อมกับกล่าวคำขอขมาว่า &quot;กรรมใดที่ข้าพเจ้าได้เคยล่วงเกินต่อท่าน ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ทั้งต่อหน้า และลับหลัง ทั้งที่รู้และไม่รู้ เพื่อความบริสุทธิ์แห่งเพศพรหมจรรย์ ขอท่านโปรดอโหสิกรรมนั้นแก่ข้าพเจ้าด้วย เทอญ&quot; ญาติผู้ใหญ่จะเอื้อมมือมาแตะพาน แล้วกล่าวว่า สาธุ ข้าพเจ้ายินดีอโหสิกรรมให้เธอทุกอย่าง และขอให้เธอจงอโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้าด้วย ข้าพเจ้าขออนุโมทนาต่อท่านที่ได้บวชในพระพุทธศาสนา ทดแทนคุณบิดามารดา และจงเป็นศาสนทายาท สืบต่อพระพุทธศาสนาด้วยดีในเพศพรหมจรรย์ เทอญ&quot; จบแล้วนาคจึงเอาพานวางที่พื้น กราบเบญจางคประดิษฐ์อีกสามครั้ง แล้วนั่งพับเพียบ เมื่อสนทนาพอสมควรแก่เวลาแล้ว บอกลาท่าน ท่านจะมอบพานดอกไม้ เทียนแพคืนให้ เพื่อจะได้นำไปใช้ลาท่านผู้อื่นต่อไป<br />\n          การปลงผม ถ้าในงานบวชนาคนั้นมีพิธีทำขวัญนาคด้วย ก็จะปลงผมก่อนวันบวชหนึ่งวัน แล้วนุ่งขาวห่มขาวเข้าพิธีทำขวัญนาค ถ้าไม่มีการทำขวัญนาคก็จะปลงผมในวันบวช โดยพ่อแม่หรือญาติผู้ใหญ่ หรือพระภิกษุที่คุ้นเคยเป็นผู้ขลิบปลายผมให้ก่อนเป็นพิธี ต่อจากนั้นก็ให้ผู้ที่โกนผมเป็นผู้โกนผม หนวด เครา คิ้ว ให้หมดจด อาบน้ำแล้ว นุ่งขาวห่มขาว เตรียมเข้าโบสถ์เพื่อทำพิธีบรรพชาอุปสมบทต่อไป<br />\n          การนำนาคเข้าโบสถ์ ตามประเพณีนิยม มักปลงผมนาค และทำขวัญนาคที่บ้านของเจ้านาค วันรุ่งขึ้นจึงมีขบวนแห่ไปยังวัด แล้วแห่นาคไปยังโบสถ์ เวียนโบสถ์สามรอบแบบทักษิณาวรรต พร้อมด้วยเครื่องอัฏฐบริขารที่ใช้ในการบวช และของที่ถวายพระ จนครบแล้วจะให้นาคมาวันทาสีมา ส่วนเครื่องอัฏฐบริขาร และของถวายพระ จะนำไปตั้งในโบสถ์ก่อน การวันทาสีมา นาคจะจุดธูปเทียนที่เสมาหน้าโบสถ์ แล้วนั่งคุกเข่าประนมมือกล่าวคำวันทาสีมา แล้วกราบ ปักดอกไม้ธูปเทียน ณ ที่จัดไว้ เมื่อวันทาเสมาเสร็จแล้ว นำนาคมาที่หน้าโบสถ์ นาคจะโปรยทาน เสร็จแล้วจึงจูงนาคเข้าโบสถ์ โดยบิดาจูงมือข้างขวา มารดาจูงมือข้างซ้าย พวกญาติคอยจับชายผ้าตามส่งข้างหลัง นาคต้องก้าวข้ามธรณีประตูห้ามเหยียบเป็นอันขาด เมื่อพ้นประตูไปแล้วให้เดินตรงไปที่พระประธาน ไหว้พระประธานโดยใช้ดอกไม้ธูปเทียนอีกหนึ่งกำนำไปจุดธูปเทียนบูชาพระประธาน ใช้คำบูชาพระเหมือนคำวันทาเสมาข้างต้น แล้วกลับมานั่ง ณ ที่ซึ่งจัดไว้แถวผนังด้านหน้าของโบสถ์ </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>          พิธีบรรพชาอุปสมบท เมื่อถึงกำหนด พระสงฆ์ที่ได้รับอาราธนาในพิธีบวชมีพระอุปัชฌาย์ พระคู่สวดและพระอันดับจะเข้าอุโบสถ นั่งตามแผนผังที่คณะสงฆ์กำหนด พิธีเริ่มโดยพ่อแม่ผู้ปกครอง หรือญาติผู้ใหญ่เข้ามานั่งข้างหน้านาค เพื่อจะมอบผ้าไตรให้นาคเข้าทำพิธีบวชต่อพระสงฆ์ต่อไป ซึ่งปฏิบัติเช่นเดียวกับวิธีซ้อมขานนาคที่กล่าวมาแล้ว เมื่อพระอุปัชฌาย์บอก อนุศาสน์เสร็จแล้ว เจ้าภาพ ญาติมิตรถวายของพระอันดับ พระใหม่ถวายพระอาจารย์คู่สวดอีกหนึ่งรูปที่ยังมิได้ถวาย ต่อจากนั้นพระอุปัชฌาย์จะบอกให้พระใหม่มานั่งรับประเคนของบริวารบวชที่ด้านหน้า พระใหม่จะออกมานั่งพับเพียบอยู่ท้ายอาสนสงฆ์ ทอดผ้ากราบไว้ข้างหน้า หากผู้ชายประเคนก็รับของด้วยมือ หากเป็นผู้หญิงก็จับผ้ากราบไว้ โยมผู้หญิงจะวางบนผ้ากราบ เมื่อรับของประเคนหมดแล้ว ให้กลับนั่งหันหน้ามาทางพระสงฆ์ เตรียมกรวดน้ำ <br />\n         การกรวดน้ำ เมื่อเสร็จการรับประเคนแล้ว พระใหม่และพ่อแม่หรือผู้ปกครอง หรือเจ้าภาพในการบวชครั้งนี้ จะกรวดน้ำโดยใช้เต้ากรวดน้ำคนละที่ เมื่อพระอุปัชฌาย์ซึ่งเป็นประธานสงฆ์ในที่นั้น เริ่มบทอนุโมทนาว่า ยถา วารีวหา ปูร ....พระใหม่และญาติที่เป็นเจ้าภาพก็จะกรวดน้ำพร้อมกัน เมื่อขึ้นบท สพฺพีติโย.... ก็กรวดน้ำหมดเต้าพอดี นั่งพนมมือรับพรจากพระสงฆ์ เสร็จแล้วพระใหม่กราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง เป็นอันเสร็จพิธีการบวช หลังจากนั้นพระพี่เลี้ยงจะนำพระใหม่ขึ้นจากโบสถ์ พระใหม่ควรสะพายบาตรด้วยไหล่ขวา มือซ้ายถือพัด ส่วนของอื่นให้ผู้อื่นถือไป พระพี่เลี้ยงจะนำออกทางประตูหน้า\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nที่มา หนังสือเรียนวิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อักษรเจริญทัศน์\n</p>\n<p>\nwww. meadiaceter.mcu.ac.th/data\n</p>\n', created = 1726859669, expire = 1726946069, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:edee5a6356bb20cc5366872a22da125e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:63683b05a91e4e054b4fd3ba6b541468' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>          พิธีบรรพชาอุปสมบท เมื่อถึงกำหนด พระสงฆ์ที่ได้รับอาราธนาในพิธีบวชมีพระอุปัชฌาย์ พระคู่สวดและพระอันดับจะเข้าอุโบสถ นั่งตามแผนผังที่คณะสงฆ์กำหนด พิธีเริ่มโดยพ่อแม่ผู้ปกครอง หรือญาติผู้ใหญ่เข้ามานั่งข้างหน้านาค เพื่อจะมอบผ้าไตรให้นาคเข้าทำพิธีบวชต่อพระสงฆ์ต่อไป ซึ่งปฏิบัติเช่นเดียวกับวิธีซ้อมขานนาคที่กล่าวมาแล้ว เมื่อพระอุปัชฌาย์บอก อนุศาสน์เสร็จแล้ว เจ้าภาพ ญาติมิตรถวายของพระอันดับ พระใหม่ถวายพระอาจารย์คู่สวดอีกหนึ่งรูปที่ยังมิได้ถวาย ต่อจากนั้นพระอุปัชฌาย์จะบอกให้พระใหม่มานั่งรับประเคนของบริวารบวชที่ด้านหน้า พระใหม่จะออกมานั่งพับเพียบอยู่ท้ายอาสนสงฆ์ ทอดผ้ากราบไว้ข้างหน้า หากผู้ชายประเคนก็รับของด้วยมือ หากเป็นผู้หญิงก็จับผ้ากราบไว้ โยมผู้หญิงจะวางบนผ้ากราบ เมื่อรับของประเคนหมดแล้ว ให้กลับนั่งหันหน้ามาทางพระสงฆ์ เตรียมกรวดน้ำ <br />\n         การกรวดน้ำ เมื่อเสร็จการรับประเคนแล้ว พระใหม่และพ่อแม่หรือผู้ปกครอง หรือเจ้าภาพในการบวชครั้งนี้ จะกรวดน้ำโดยใช้เต้ากรวดน้ำคนละที่ เมื่อพระอุปัชฌาย์ซึ่งเป็นประธานสงฆ์ในที่นั้น เริ่มบทอนุโมทนาว่า ยถา วารีวหา ปูร ....พระใหม่และญาติที่เป็นเจ้าภาพก็จะกรวดน้ำพร้อมกัน เมื่อขึ้นบท สพฺพีติโย.... ก็กรวดน้ำหมดเต้าพอดี นั่งพนมมือรับพรจากพระสงฆ์ เสร็จแล้วพระใหม่กราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง เป็นอันเสร็จพิธีการบวช หลังจากนั้นพระพี่เลี้ยงจะนำพระใหม่ขึ้นจากโบสถ์ พระใหม่ควรสะพายบาตรด้วยไหล่ขวา มือซ้ายถือพัด ส่วนของอื่นให้ผู้อื่นถือไป พระพี่เลี้ยงจะนำออกทางประตูหน้า\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nที่มา หนังสือเรียนวิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อักษรเจริญทัศน์\n</p>\n<p>\nwww. meadiaceter.mcu.ac.th/data\n</p>\n', created = 1726859669, expire = 1726946069, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:63683b05a91e4e054b4fd3ba6b541468' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ศาสนพิธี - การบวช

รูปภาพของ twkjaree

          พิธีบรรพชาอุปสมบท เมื่อถึงกำหนด พระสงฆ์ที่ได้รับอาราธนาในพิธีบวชมีพระอุปัชฌาย์ พระคู่สวดและพระอันดับจะเข้าอุโบสถ นั่งตามแผนผังที่คณะสงฆ์กำหนด พิธีเริ่มโดยพ่อแม่ผู้ปกครอง หรือญาติผู้ใหญ่เข้ามานั่งข้างหน้านาค เพื่อจะมอบผ้าไตรให้นาคเข้าทำพิธีบวชต่อพระสงฆ์ต่อไป ซึ่งปฏิบัติเช่นเดียวกับวิธีซ้อมขานนาคที่กล่าวมาแล้ว เมื่อพระอุปัชฌาย์บอก อนุศาสน์เสร็จแล้ว เจ้าภาพ ญาติมิตรถวายของพระอันดับ พระใหม่ถวายพระอาจารย์คู่สวดอีกหนึ่งรูปที่ยังมิได้ถวาย ต่อจากนั้นพระอุปัชฌาย์จะบอกให้พระใหม่มานั่งรับประเคนของบริวารบวชที่ด้านหน้า พระใหม่จะออกมานั่งพับเพียบอยู่ท้ายอาสนสงฆ์ ทอดผ้ากราบไว้ข้างหน้า หากผู้ชายประเคนก็รับของด้วยมือ หากเป็นผู้หญิงก็จับผ้ากราบไว้ โยมผู้หญิงจะวางบนผ้ากราบ เมื่อรับของประเคนหมดแล้ว ให้กลับนั่งหันหน้ามาทางพระสงฆ์ เตรียมกรวดน้ำ
         การกรวดน้ำ เมื่อเสร็จการรับประเคนแล้ว พระใหม่และพ่อแม่หรือผู้ปกครอง หรือเจ้าภาพในการบวชครั้งนี้ จะกรวดน้ำโดยใช้เต้ากรวดน้ำคนละที่ เมื่อพระอุปัชฌาย์ซึ่งเป็นประธานสงฆ์ในที่นั้น เริ่มบทอนุโมทนาว่า ยถา วารีวหา ปูร ....พระใหม่และญาติที่เป็นเจ้าภาพก็จะกรวดน้ำพร้อมกัน เมื่อขึ้นบท สพฺพีติโย.... ก็กรวดน้ำหมดเต้าพอดี นั่งพนมมือรับพรจากพระสงฆ์ เสร็จแล้วพระใหม่กราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง เป็นอันเสร็จพิธีการบวช หลังจากนั้นพระพี่เลี้ยงจะนำพระใหม่ขึ้นจากโบสถ์ พระใหม่ควรสะพายบาตรด้วยไหล่ขวา มือซ้ายถือพัด ส่วนของอื่นให้ผู้อื่นถือไป พระพี่เลี้ยงจะนำออกทางประตูหน้า

 

ที่มา หนังสือเรียนวิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อักษรเจริญทัศน์

www. meadiaceter.mcu.ac.th/data

สร้างโดย: 
ครูจารี จอมมงคล โรงเรียนเทิงวิทยาคม อ. เทิง จ. เชียงราย Tel.0867293807

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 436 คน กำลังออนไลน์