• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:476c8328e2362d21b1290dd72b853b7c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด</span> : อายุ พันธุกรรม การสูบบุหรี่ ไขมัน โคเลสเตอรอล ความดันโลหิตสูง ความเครียด เบาหวาน ถ้าหากมีปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้มากเท่าไหร่ โอกาสที่จะเกิดโรคก็มากขึ้นเป็นทวีคูณ\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\">อาการผิดปกติที่อาจบ่งชี้ว่าเป็นโรคหัวใจ</span> : ซึ่งพบบ่อยจะประกอบไปด้วยอาการเหนื่อยเวลาออกกำลังกาย อาการเจ็บหน้าอก แน่นหน้าอก หรือมีอาการอึดอัดหายใจไม่สะดวกโดยเฉพาะเวลาออกกำลังกาย แต่อาจจะเกิดเวลาที่นั่งพักอยู่ปกติก็ได้ อาการหายใจลำบาก อาการนอนราบแล้วอึดอัดถ้านั่งแล้วจะสบายขึ้น อาการลุกขึ้นมากลางดึกหายใจแรงๆ แล้วจึงนอนต่อไปได้ อาการใจสั่น หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะ อาการเป็นลมหมดสติ\n</p>\n<p>\nอาการเจ็บหน้าอกหรือแน่นหน้าอก อาการนี้จะพบบ่อยในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือตัน เนื่องจากมีไขมันอุดตันในหลอดเลือดหัวใจ อาการเจ็บหน้าอกหรือแน่นหน้าอกหายใจอึดอัด เนื่องจากหลอดเลือดหัวใจตีบ จะมีลักษณะเฉพาะคือ จะมีอาการเจ็บหรือแน่นบริเวณกลางหน้าอกเหมือนมีอะไรหนักๆ มาทับไว้ไม่ให้หน้าอกขยายตัว อาการนี้มักจะเป็นเวลาออกกำลังกาย อาการเจ็บหรือแน่นหน้าอกเนื่องจากหลอดเลือดหัวใจตีบมีความรุนแรงต่างๆ กัน บางรายอาการเจ็บมีการร้าวขึ้นไปที่คอ ขึ้นไปที่กรามทั้ง 2 ข้าง ที่ไหล่ทั้ง 2 ข้าง หรืออาจจะเป็นเฉพาะข้างซ้ายข้างเดียวก็ได้ และอาจจะร้าวลงไปที่แขนจนถึงปลายแขนได้ อาการเหล่านี้บางครั้งทำให้แพทย์วินิจฉัยผิดหรือผู้ป่วยอาจเข้าใจว่าเป็นโรคฟันผุจึงไปหาหมอฟัน บางครั้งอาจพบว่าฟันผุจริงบริเวณซี่ใดซี่หนึ่งแล้วทำการถอน แต่อาการเหล่านี้ก็ไม่หายไป ทั้งนี้เพราะอาการเกิดจากโรคหัวใจมิใช่เกิดจากฟันผุแต่พบร่วมกันโดยบังเอิญ\n</p>\n<p>\nอาการเจ็บหน้าอกเนื่องจากเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ จะมีอาการเจ็บที่มีลักษณะเหมือนถูกมีดแทงหรือเป็นอาการเจ็บแปลบๆ อาการของเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบจะดีขึ้นในท่านั่งและเมื่อเอนตัวไปข้างหน้า แต่อาการเจ็บหน้าอกจะมากขึ้นถ้านอนหรือเมื่อหายใจเข้าแรงๆ ส่วนอาการเจ็บหน้าอกเนื่องจากการปริของผนังหลอดเลือดแดงใหญ่เอออต้า มักจะมีอาการเจ็บที่รุนแรงมากกว่า ลักษณะเหมือนมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อภายในและอาจจะเจ็บทะลุไปจนถึงด้านหลังก็ได้\n</p>\n<p>\nอาการของภาวะหัวใจล้มเหลว เกิดจากการที่หัวใจทำงานไม่เพียงพอต่อความต้องการของออกซิเจนและอาหารพยาธิสภาพอื่นๆ เช่น ลิ้นหัวใจรั่ว ลิ้นหัวใจตีบหรือโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันระยะสุดท้าย หรืออาจเกิดจากภาวะต่อมไทรอยด์เป็นพิษ หรืออาจเกิดจากการให้น้ำทางหลอดเลือดดำอย่างรวดเร็วในผู้ป่วยสูงอายุ หรือพบในผู้ป่วยที่มีไตวายเนื่องจากมีภาวะน้ำเกินในร่างกาย และร่างกายไม่สามารถขับน้ำออกมาได้ อาการจะมีความรุนแรงไม่เท่ากัน โดยเริ่มจากอาการเหนื่อยซึ่งอาจจะเป็นอาการเหนื่อยขณะออกกำลังกายนิดหน่อย หรือเหนื่อยในขณะนั่งพักเฉยๆ ก็ได้แล้วแต่ความรุนแรง ถ้าเป็นมากก็อาจมีอาการนอนราบไม่ลง นอกจากนั้น อาจมีการตื่นขึ้นมาหอบตอนกลางคืน ซึ่งส่วนมากจะพบว่าเมื่อนอนหลับไปแล้ว 3 – 4 ชั่วโมง ต้องตื่นขึ้นมาเนื่องจากมีอาการแน่นอึดอัดในหน้าอก ต้องลุกขึ้นมานั่งแล้วหายใจแรงๆ หลายๆ ครั้ง จากนั้นจึงนอนหลับต่อไปได้ อาการนี้อาจเป็นอาการที่เกิดจากน้ำท่วมปอดซึ่งเกิดจากสาเหตุที่ภาวะหัวใจล้มเหลวนั่นเอง\n</p>\n<p>\nอาการใจสั่น หัวใจเต้นรัว หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะ : ปกติหัวใจคนเราจะเต้นในจังหวะ 60 – 100 ครั้งต่อนาที\n</p>\n<p>\nอาการเป็นลมหมดสติ : อาการเป็นลมหมดสติชั่วคราวแล้วฟื้นขึ้นมาได้เอง เป็นอาการหนึ่งที่อาจจะเป็นอาการของโรคหัวใจได้ โดยเฉพาะในกรณีที่จังหวะการเต้นของหัวใจช้าเกินไป หรือมีจังหวะหยุดนานเกินกว่า 3 วินาที อาจจะทำให้คุณมีอาการเป็นลมหมดสติชั่วคราวแล้วฟื้นกลับขึ้นมาใหม่ได้เอง เมื่อหัวใจเริ่มเต้นกลับมาปกติเหมือนเดิม อาการเป็นลมหมดสติดังกล่าวนี้เกิดจากหัวใจหยุดเต้นชั่วคราวหรือเต้นช้าไม่เพียงพอที่จะส่งเลือดไปเลี้ยงสมองนั่นเอง\n</p>\n<p>\nอาการหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน ผู้ป่วยที่มีอาการหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน หากไม่ได้รับการช่วยชีวิตอย่างทันท่วงทีอาจถึงแก่ความตายได้\n</p>\n<p>\nอาการแสดงที่เเสดงให้เห็น\n</p>\n<p>\n  • เท้าบวม : กดบุ๋ม ถ้าสังเกตว่าเท้าบวมขึ้น คุณอาจจะมีภาวะหัวใจล้มเหลวด้านขวา วิธีสังเกตอาการขาบวมกดบุ๋มนั้น ให้กดบริเวณหน้าแข็งไว้ 1 นาที จากนั้นปล่อยมือออก หากพบว่าเป็นรอยบุ๋มตามนิ้วมือที่กดลงไปไม่คืนตัวอย่างรวดเร็วให้รีบไปพบแพทย์เพื่อทำการตรวจร่างกายต่อไป  <br />\n  • เมื่อไปตรวจร่างกายแล้วพบ Chest X-ray ว่ามีขนาดหัวใจโต คุณก็ควรที่จะไปพบแพทย์หัวใจ \n</p>\n<p>\n อาการผิดปกติที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน\n</p>\n<p>\n คือ  อาการผิดปกติเบื้องต้นของร่างกาย ที่บ่งชี้ว่าอาจเป็นโรคหัวใจ พบบ่อยในคนทั่วไป ที่คิดว่าตัวเองมีสุขภาพดี ทั้งที่ความจริงอาจเป็นโรคหัวใจในระยะแรกเริ่ม มีดังนี้\n</p>\n<p>\n  • เหนื่อยเวลาออกกําลังกาย เพราะหัวใจทําหน้าที่ในการสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ขณะที่เราออกกําลังกาย หัวใจจะทํางานหนักมากขึ้น ปกติเวลาที่เราออกกำลังกายไปถึงระดับหนึ่งจะรู้สึกเหนื่อย แต่ในรายของคนที่มีอาการเริ่มต้นของโรคหัวใจ แม้ออกกำลังกายเพียงเล็กน้อย จะรู้สึกเหนื่อยผิดปกติอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน ดังนั้นหากออกกำลังกาย แล้วรู้สึกเหนื่อยง่ายผิดปกติ อาจเป็นข้อบ่งชี้ได้ว่า คุณอาจเป็นโรคหัวใจ <br />\n  • เจ็บหน้าอกหรือแน่นหน้าอก มักพบบ่อยในคนที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ และไขมันอุดตันในหลอดเลือดหัวใจ อาการดังกล่าวจะมีลักษณะเฉพาะคือ รู้สึกเหมือนหายใจอึดอัด และแน่นบริเวณกลางหน้าอก เหมือนมีของหนักทับอยู่ หรือรัดไว้ให้ขยายตัวเวลาหายใจ โดยมากอาการนี้ จะแสดงออกเวลาที่หัวใจต้องทำงานหนัก เช่น ระหว่างการออกกำลังกาย หรือใช้แรงมากๆ เป็นต้น ซึ่ง เป็นอีกหนึ่งสัญญาณเตือนว่า อาจเป็นโรคหัวใจ <br />\n  • ภาวะหัวใจล้มเหลว เกิดจากการที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือด ไปเลี้ยงส่วนต่างของร่างกายได้อย่างเพียงพอ โดยผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการเหนื่อย ทั้งที่ออกกำลังกายเพียงนิดหน่อย หรือเหนื่อยทั้งที่นั่งอยู่เฉยๆ ในกรณีที่เป็นมาก อาจทำให้ไม่สามารถนอนราบได้เหมือนปกติ เพราะจะรู้สึกเหนื่อยเวลาหายใจ และอึดอัดตรงหน้าอก นอกจากนั้น อาจมีอาการหอบจนต้องตื่นขึ้นมาหอบกลางดึก อีกด้วย อาการภาวะหัวใจล้มเหลวนี้ หากไม่รีบไปพบแพทย์โดยเร็ว และไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที อาจมีอันตรายถึงชีวิตได้ <br />\n  • ใจสั่นและหัวใจเต้นผิดจังหวะ ปกติหัวใจของเราจะเต้นด้วยจังหวะที่สม่ำเสมอประมาณ 60 -100 ครั้ง/นาที แต่สำหรับคนที่มีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ อาจขยับไปถึง150 -250 ครั้ง/นาที ซึ่งอัตราการเต้นของหัวใจที่ไม่สม่ำเสมอนี้ จะทำให้เหนื่อยง่าย ใจสั่น หายใจไม่ทัน <br />\n  • เป็นลมหมดสติ คืออีกหนึ่งอาการที่เตือนว่าคุณอาจเป็นโรคหัวใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงอายุ ซึ่งมีอัตราเสี่ยงต่อการเป็นลมหมดสติสูง เนื่องจากจังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอ เพราะเซลล์ซึ่งทำหน้าที่ให้จังหวะไฟฟ้าในหัวใจเสื่อมสภาพ ส่งผลให้หัวใจเต้นช้าลง และส่งเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ จนทำให้เป็นลมไปชั่วคราวได้ ทั้งนี้ การเป็นลมหมดสติ มักจะเกิดในท่ายืนมากกว่านั่ง ทำให้ขณะล้มลงศีรษะมีโอกาสฟาดพื้น และเกิดการกระทบกระเทือนต่อสมองได้มากกว่า ดังนั้น ใครที่เป็นลมบ่อยๆ ควรรีบไปพบแพทย์ <br />\n  • หัวใจหยุดเต้นกะทันหัน ในกรณีนี้มักเกิดจากความผิดปกติของเซลล์หัวใจโดยตรง และมักเกิดกับคนปกติที่ไม่มีอาการของโรคหัวใจมาก่อนล่วงหน้า ซึ่งหากมีอาการหัวใจหยุดเต้นกระทันหัน ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือที่รวดเร็ว อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้\n</p>\n<p>\nอาการผิดปกติที่สังเกตได้จากร่างกาย\n</p>\n<p>\nนอกจากความผิดปกติชนิดเฉียบพลันแล้ว อาการบ่งชี้ที่สังเกตได้จากร่างกายของเราเอง ก็เป็นอีกหนึ่งความผิดปกติที่เตือนให้รู้ว่า คุณอาจเป็นโรคหัวใจ และควรไปพบแพทย์โดยด่วนได้เช่นกัน เป็นต้นว่า\n</p>\n<p>\n  • ขาหรือเท้าบวมโดยไม่ทราบสาเหตุ เมื่อกดดูแล้วมีรอยบุ๋มตามนิ้วที่กดลงไป ซึ่งหากเกิดขึ้นกับใคร ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจเช็คโดยด่วน เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนให้รู้ว่า เวลานี้ คุณอาจอยู่ในภาวะหัวใจล้มเหลวโดยที่ไม่รู้ตัว   <br />\n  • ปลายมือ ปลายเท้า และริมฝีปากมีลักษณะเขียวคล้ำ อาการดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ทางเดินของเลือดในหัวใจห้องขวากับห้องซ้ายมีเชื่อมต่อที่ผิดปกติ ส่งผลให้เกิดการผสมของเลือดแดงกับเลือดดํา และทําให้ปริมาณของออกซิเจนในเลือดมีปริมาณน้อยลง \n</p>\n<p>\nอาการผิดปกติที่ตรวจพบขณะตรวจร่างกาย\n</p>\n<p>\nการไปพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพประจำปี เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะทำให้เราสามารถคาดคะเน ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจได้ เช่น ตรวจเลือดแล้วพบว่าเป็นเบาหวาน หรือมีไขมันในเลือดสูง ก็อาจสันนิษฐานได้ว่า มีความเสี่ยงต่อการเกิดหลอดเลือดหัวใจตีบได้เช่นกัน\n</p>\n<p>\nเอ็กซเรย์พบว่าขนาดของหัวใจโตกว่าปกติ ซึ่งอาจเกิดจากหลอดเลือดหัวใจตีบ ลิ้นหัวใจรั่ว และกล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวอ่อนกำลังลง ทำให้ห้องต่างๆ ของหัวใจขยายขนาดใหญ่ขึ้น ทั้งนี้ ในกรณีที่ตรวจพบว่ามีความเสี่ยงสูง ไม่ควรนิ่งนอนใจ รีบไปพบแพทย์โดยด่วน\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ป้องกันโรคหัวใจอย่างไรดี</span>\n</p>\n<p>\nข้อมูลที่ได้บอกไปข้างต้น เป็นเพียงข้อสันนิษฐานเบื้องต้นว่า เรามีอัตราเสี่ยงสูงต่อการป่วยเป็นโรคหัวใจเท่านั้น ซึ่งผู้ที่จะวินิจฉัยว่าเราเป็นโรคหัวใจหรือไม่ คือแพทย์โรคหัวใจเท่านั้น ดังนั้นหากพบความผิดปกติ ควรรีบไปพบแพทย์โดยด่วนดีที่สุด\n</p>\n<p>\nสำหรับคนที่หัวใจยังเป็นปกติ เรามีข้อแนะนำในการดูแลหัวใจ (ก่อนสายเกินไป) ดังนี้\n</p>\n<p>\n  • สังเกตความผิดปกติของตัวเองอยู่เสมอ โดยเฉพาะอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน เช่น ดูว่าอัตราการเต้นของหัวใจปกติดีหรือไม่ เจ็บหน้าอก ใจสั่น บ่อยๆหรือเปล่า เป็นต้น  <br />\n  • ออกกำลังกายเป็นประจำ ซึ่งนอกจากจะทำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ สุขภาพจิตแจ่มใสแล้ว ยังช่วยให้หัวใจสูบฉีดเลือดได้ดีขึ้นอีกด้วย  <br />\n  • ดูแลสุขภาพใจให้ผ่องใสอยู่เสมอ พยายามไม่เครียด รู้จักควบคุมอารมณ์ และพึงระลึกไว้เสมอว่า ความเครียดและความโกรธ เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้หัวใจเต้นแรง และทำงานหนักขึ้น  <br />\n  • รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ โดยงดอาหารที่มีไขมันสูง ซึ่งทำให้ความดันโลหิตสูง เกิดภาวะเส้นเลือดหัวใจตีบได้ง่าย หันไปกินอาหารจำพวกแป้งไม่ขัดขาว และผักผลไม้ให้มากขึ้น  <br />\n  • ควรไปตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี เพื่อป้องกันและรักษาโรคร้ายที่อาจคาดไม่ถึง ซึ่งแฝงเร้นอยู่ในตัวเราตั้งแต่เนิ่นๆ </p>\n', created = 1719236939, expire = 1719323339, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:476c8328e2362d21b1290dd72b853b7c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคหัวใจ *

รูปภาพของ sss27443

ปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด : อายุ พันธุกรรม การสูบบุหรี่ ไขมัน โคเลสเตอรอล ความดันโลหิตสูง ความเครียด เบาหวาน ถ้าหากมีปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้มากเท่าไหร่ โอกาสที่จะเกิดโรคก็มากขึ้นเป็นทวีคูณ


อาการผิดปกติที่อาจบ่งชี้ว่าเป็นโรคหัวใจ : ซึ่งพบบ่อยจะประกอบไปด้วยอาการเหนื่อยเวลาออกกำลังกาย อาการเจ็บหน้าอก แน่นหน้าอก หรือมีอาการอึดอัดหายใจไม่สะดวกโดยเฉพาะเวลาออกกำลังกาย แต่อาจจะเกิดเวลาที่นั่งพักอยู่ปกติก็ได้ อาการหายใจลำบาก อาการนอนราบแล้วอึดอัดถ้านั่งแล้วจะสบายขึ้น อาการลุกขึ้นมากลางดึกหายใจแรงๆ แล้วจึงนอนต่อไปได้ อาการใจสั่น หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะ อาการเป็นลมหมดสติ

อาการเจ็บหน้าอกหรือแน่นหน้าอก อาการนี้จะพบบ่อยในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือตัน เนื่องจากมีไขมันอุดตันในหลอดเลือดหัวใจ อาการเจ็บหน้าอกหรือแน่นหน้าอกหายใจอึดอัด เนื่องจากหลอดเลือดหัวใจตีบ จะมีลักษณะเฉพาะคือ จะมีอาการเจ็บหรือแน่นบริเวณกลางหน้าอกเหมือนมีอะไรหนักๆ มาทับไว้ไม่ให้หน้าอกขยายตัว อาการนี้มักจะเป็นเวลาออกกำลังกาย อาการเจ็บหรือแน่นหน้าอกเนื่องจากหลอดเลือดหัวใจตีบมีความรุนแรงต่างๆ กัน บางรายอาการเจ็บมีการร้าวขึ้นไปที่คอ ขึ้นไปที่กรามทั้ง 2 ข้าง ที่ไหล่ทั้ง 2 ข้าง หรืออาจจะเป็นเฉพาะข้างซ้ายข้างเดียวก็ได้ และอาจจะร้าวลงไปที่แขนจนถึงปลายแขนได้ อาการเหล่านี้บางครั้งทำให้แพทย์วินิจฉัยผิดหรือผู้ป่วยอาจเข้าใจว่าเป็นโรคฟันผุจึงไปหาหมอฟัน บางครั้งอาจพบว่าฟันผุจริงบริเวณซี่ใดซี่หนึ่งแล้วทำการถอน แต่อาการเหล่านี้ก็ไม่หายไป ทั้งนี้เพราะอาการเกิดจากโรคหัวใจมิใช่เกิดจากฟันผุแต่พบร่วมกันโดยบังเอิญ

อาการเจ็บหน้าอกเนื่องจากเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ จะมีอาการเจ็บที่มีลักษณะเหมือนถูกมีดแทงหรือเป็นอาการเจ็บแปลบๆ อาการของเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบจะดีขึ้นในท่านั่งและเมื่อเอนตัวไปข้างหน้า แต่อาการเจ็บหน้าอกจะมากขึ้นถ้านอนหรือเมื่อหายใจเข้าแรงๆ ส่วนอาการเจ็บหน้าอกเนื่องจากการปริของผนังหลอดเลือดแดงใหญ่เอออต้า มักจะมีอาการเจ็บที่รุนแรงมากกว่า ลักษณะเหมือนมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อภายในและอาจจะเจ็บทะลุไปจนถึงด้านหลังก็ได้

อาการของภาวะหัวใจล้มเหลว เกิดจากการที่หัวใจทำงานไม่เพียงพอต่อความต้องการของออกซิเจนและอาหารพยาธิสภาพอื่นๆ เช่น ลิ้นหัวใจรั่ว ลิ้นหัวใจตีบหรือโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันระยะสุดท้าย หรืออาจเกิดจากภาวะต่อมไทรอยด์เป็นพิษ หรืออาจเกิดจากการให้น้ำทางหลอดเลือดดำอย่างรวดเร็วในผู้ป่วยสูงอายุ หรือพบในผู้ป่วยที่มีไตวายเนื่องจากมีภาวะน้ำเกินในร่างกาย และร่างกายไม่สามารถขับน้ำออกมาได้ อาการจะมีความรุนแรงไม่เท่ากัน โดยเริ่มจากอาการเหนื่อยซึ่งอาจจะเป็นอาการเหนื่อยขณะออกกำลังกายนิดหน่อย หรือเหนื่อยในขณะนั่งพักเฉยๆ ก็ได้แล้วแต่ความรุนแรง ถ้าเป็นมากก็อาจมีอาการนอนราบไม่ลง นอกจากนั้น อาจมีการตื่นขึ้นมาหอบตอนกลางคืน ซึ่งส่วนมากจะพบว่าเมื่อนอนหลับไปแล้ว 3 – 4 ชั่วโมง ต้องตื่นขึ้นมาเนื่องจากมีอาการแน่นอึดอัดในหน้าอก ต้องลุกขึ้นมานั่งแล้วหายใจแรงๆ หลายๆ ครั้ง จากนั้นจึงนอนหลับต่อไปได้ อาการนี้อาจเป็นอาการที่เกิดจากน้ำท่วมปอดซึ่งเกิดจากสาเหตุที่ภาวะหัวใจล้มเหลวนั่นเอง

อาการใจสั่น หัวใจเต้นรัว หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะ : ปกติหัวใจคนเราจะเต้นในจังหวะ 60 – 100 ครั้งต่อนาที

อาการเป็นลมหมดสติ : อาการเป็นลมหมดสติชั่วคราวแล้วฟื้นขึ้นมาได้เอง เป็นอาการหนึ่งที่อาจจะเป็นอาการของโรคหัวใจได้ โดยเฉพาะในกรณีที่จังหวะการเต้นของหัวใจช้าเกินไป หรือมีจังหวะหยุดนานเกินกว่า 3 วินาที อาจจะทำให้คุณมีอาการเป็นลมหมดสติชั่วคราวแล้วฟื้นกลับขึ้นมาใหม่ได้เอง เมื่อหัวใจเริ่มเต้นกลับมาปกติเหมือนเดิม อาการเป็นลมหมดสติดังกล่าวนี้เกิดจากหัวใจหยุดเต้นชั่วคราวหรือเต้นช้าไม่เพียงพอที่จะส่งเลือดไปเลี้ยงสมองนั่นเอง

อาการหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน ผู้ป่วยที่มีอาการหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน หากไม่ได้รับการช่วยชีวิตอย่างทันท่วงทีอาจถึงแก่ความตายได้

อาการแสดงที่เเสดงให้เห็น

  • เท้าบวม : กดบุ๋ม ถ้าสังเกตว่าเท้าบวมขึ้น คุณอาจจะมีภาวะหัวใจล้มเหลวด้านขวา วิธีสังเกตอาการขาบวมกดบุ๋มนั้น ให้กดบริเวณหน้าแข็งไว้ 1 นาที จากนั้นปล่อยมือออก หากพบว่าเป็นรอยบุ๋มตามนิ้วมือที่กดลงไปไม่คืนตัวอย่างรวดเร็วให้รีบไปพบแพทย์เพื่อทำการตรวจร่างกายต่อไป 
  • เมื่อไปตรวจร่างกายแล้วพบ Chest X-ray ว่ามีขนาดหัวใจโต คุณก็ควรที่จะไปพบแพทย์หัวใจ 

 อาการผิดปกติที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน

 คือ  อาการผิดปกติเบื้องต้นของร่างกาย ที่บ่งชี้ว่าอาจเป็นโรคหัวใจ พบบ่อยในคนทั่วไป ที่คิดว่าตัวเองมีสุขภาพดี ทั้งที่ความจริงอาจเป็นโรคหัวใจในระยะแรกเริ่ม มีดังนี้

  • เหนื่อยเวลาออกกําลังกาย เพราะหัวใจทําหน้าที่ในการสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ขณะที่เราออกกําลังกาย หัวใจจะทํางานหนักมากขึ้น ปกติเวลาที่เราออกกำลังกายไปถึงระดับหนึ่งจะรู้สึกเหนื่อย แต่ในรายของคนที่มีอาการเริ่มต้นของโรคหัวใจ แม้ออกกำลังกายเพียงเล็กน้อย จะรู้สึกเหนื่อยผิดปกติอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน ดังนั้นหากออกกำลังกาย แล้วรู้สึกเหนื่อยง่ายผิดปกติ อาจเป็นข้อบ่งชี้ได้ว่า คุณอาจเป็นโรคหัวใจ
  • เจ็บหน้าอกหรือแน่นหน้าอก มักพบบ่อยในคนที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ และไขมันอุดตันในหลอดเลือดหัวใจ อาการดังกล่าวจะมีลักษณะเฉพาะคือ รู้สึกเหมือนหายใจอึดอัด และแน่นบริเวณกลางหน้าอก เหมือนมีของหนักทับอยู่ หรือรัดไว้ให้ขยายตัวเวลาหายใจ โดยมากอาการนี้ จะแสดงออกเวลาที่หัวใจต้องทำงานหนัก เช่น ระหว่างการออกกำลังกาย หรือใช้แรงมากๆ เป็นต้น ซึ่ง เป็นอีกหนึ่งสัญญาณเตือนว่า อาจเป็นโรคหัวใจ
  • ภาวะหัวใจล้มเหลว เกิดจากการที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือด ไปเลี้ยงส่วนต่างของร่างกายได้อย่างเพียงพอ โดยผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการเหนื่อย ทั้งที่ออกกำลังกายเพียงนิดหน่อย หรือเหนื่อยทั้งที่นั่งอยู่เฉยๆ ในกรณีที่เป็นมาก อาจทำให้ไม่สามารถนอนราบได้เหมือนปกติ เพราะจะรู้สึกเหนื่อยเวลาหายใจ และอึดอัดตรงหน้าอก นอกจากนั้น อาจมีอาการหอบจนต้องตื่นขึ้นมาหอบกลางดึก อีกด้วย อาการภาวะหัวใจล้มเหลวนี้ หากไม่รีบไปพบแพทย์โดยเร็ว และไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที อาจมีอันตรายถึงชีวิตได้
  • ใจสั่นและหัวใจเต้นผิดจังหวะ ปกติหัวใจของเราจะเต้นด้วยจังหวะที่สม่ำเสมอประมาณ 60 -100 ครั้ง/นาที แต่สำหรับคนที่มีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ อาจขยับไปถึง150 -250 ครั้ง/นาที ซึ่งอัตราการเต้นของหัวใจที่ไม่สม่ำเสมอนี้ จะทำให้เหนื่อยง่าย ใจสั่น หายใจไม่ทัน
  • เป็นลมหมดสติ คืออีกหนึ่งอาการที่เตือนว่าคุณอาจเป็นโรคหัวใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงอายุ ซึ่งมีอัตราเสี่ยงต่อการเป็นลมหมดสติสูง เนื่องจากจังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอ เพราะเซลล์ซึ่งทำหน้าที่ให้จังหวะไฟฟ้าในหัวใจเสื่อมสภาพ ส่งผลให้หัวใจเต้นช้าลง และส่งเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ จนทำให้เป็นลมไปชั่วคราวได้ ทั้งนี้ การเป็นลมหมดสติ มักจะเกิดในท่ายืนมากกว่านั่ง ทำให้ขณะล้มลงศีรษะมีโอกาสฟาดพื้น และเกิดการกระทบกระเทือนต่อสมองได้มากกว่า ดังนั้น ใครที่เป็นลมบ่อยๆ ควรรีบไปพบแพทย์
  • หัวใจหยุดเต้นกะทันหัน ในกรณีนี้มักเกิดจากความผิดปกติของเซลล์หัวใจโดยตรง และมักเกิดกับคนปกติที่ไม่มีอาการของโรคหัวใจมาก่อนล่วงหน้า ซึ่งหากมีอาการหัวใจหยุดเต้นกระทันหัน ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือที่รวดเร็ว อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้

อาการผิดปกติที่สังเกตได้จากร่างกาย

นอกจากความผิดปกติชนิดเฉียบพลันแล้ว อาการบ่งชี้ที่สังเกตได้จากร่างกายของเราเอง ก็เป็นอีกหนึ่งความผิดปกติที่เตือนให้รู้ว่า คุณอาจเป็นโรคหัวใจ และควรไปพบแพทย์โดยด่วนได้เช่นกัน เป็นต้นว่า

  • ขาหรือเท้าบวมโดยไม่ทราบสาเหตุ เมื่อกดดูแล้วมีรอยบุ๋มตามนิ้วที่กดลงไป ซึ่งหากเกิดขึ้นกับใคร ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจเช็คโดยด่วน เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนให้รู้ว่า เวลานี้ คุณอาจอยู่ในภาวะหัวใจล้มเหลวโดยที่ไม่รู้ตัว  
  • ปลายมือ ปลายเท้า และริมฝีปากมีลักษณะเขียวคล้ำ อาการดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ทางเดินของเลือดในหัวใจห้องขวากับห้องซ้ายมีเชื่อมต่อที่ผิดปกติ ส่งผลให้เกิดการผสมของเลือดแดงกับเลือดดํา และทําให้ปริมาณของออกซิเจนในเลือดมีปริมาณน้อยลง 

อาการผิดปกติที่ตรวจพบขณะตรวจร่างกาย

การไปพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพประจำปี เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะทำให้เราสามารถคาดคะเน ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจได้ เช่น ตรวจเลือดแล้วพบว่าเป็นเบาหวาน หรือมีไขมันในเลือดสูง ก็อาจสันนิษฐานได้ว่า มีความเสี่ยงต่อการเกิดหลอดเลือดหัวใจตีบได้เช่นกัน

เอ็กซเรย์พบว่าขนาดของหัวใจโตกว่าปกติ ซึ่งอาจเกิดจากหลอดเลือดหัวใจตีบ ลิ้นหัวใจรั่ว และกล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวอ่อนกำลังลง ทำให้ห้องต่างๆ ของหัวใจขยายขนาดใหญ่ขึ้น ทั้งนี้ ในกรณีที่ตรวจพบว่ามีความเสี่ยงสูง ไม่ควรนิ่งนอนใจ รีบไปพบแพทย์โดยด่วน

ป้องกันโรคหัวใจอย่างไรดี

ข้อมูลที่ได้บอกไปข้างต้น เป็นเพียงข้อสันนิษฐานเบื้องต้นว่า เรามีอัตราเสี่ยงสูงต่อการป่วยเป็นโรคหัวใจเท่านั้น ซึ่งผู้ที่จะวินิจฉัยว่าเราเป็นโรคหัวใจหรือไม่ คือแพทย์โรคหัวใจเท่านั้น ดังนั้นหากพบความผิดปกติ ควรรีบไปพบแพทย์โดยด่วนดีที่สุด

สำหรับคนที่หัวใจยังเป็นปกติ เรามีข้อแนะนำในการดูแลหัวใจ (ก่อนสายเกินไป) ดังนี้

  • สังเกตความผิดปกติของตัวเองอยู่เสมอ โดยเฉพาะอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน เช่น ดูว่าอัตราการเต้นของหัวใจปกติดีหรือไม่ เจ็บหน้าอก ใจสั่น บ่อยๆหรือเปล่า เป็นต้น 
  • ออกกำลังกายเป็นประจำ ซึ่งนอกจากจะทำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ สุขภาพจิตแจ่มใสแล้ว ยังช่วยให้หัวใจสูบฉีดเลือดได้ดีขึ้นอีกด้วย 
  • ดูแลสุขภาพใจให้ผ่องใสอยู่เสมอ พยายามไม่เครียด รู้จักควบคุมอารมณ์ และพึงระลึกไว้เสมอว่า ความเครียดและความโกรธ เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้หัวใจเต้นแรง และทำงานหนักขึ้น 
  • รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ โดยงดอาหารที่มีไขมันสูง ซึ่งทำให้ความดันโลหิตสูง เกิดภาวะเส้นเลือดหัวใจตีบได้ง่าย หันไปกินอาหารจำพวกแป้งไม่ขัดขาว และผักผลไม้ให้มากขึ้น 
  • ควรไปตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี เพื่อป้องกันและรักษาโรคร้ายที่อาจคาดไม่ถึง ซึ่งแฝงเร้นอยู่ในตัวเราตั้งแต่เนิ่นๆ

รูปภาพของ ssspoonsak

แหล่งที่มาของข้อมูลต้องมากกว่านี้

จัดรูปแบบข้อความให้น่าสนใจพร้อมเพิ่มภาพอีกจะเยี่ยม 

ขออีกนิด อย่าลืมอ้างแหล่งที่มาของภาพไว้ใต้ภาพ
และอ้างแหล่งที่มาของข้อมูลไว้ทุกหน้า
จะเป็นกำลังใจให้ แล้วจะมาดูอีกครั้ง

อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

คือแบบว่าอาการเหมือนเลยค่ะ
พี่สาวก็เพิ่งตรวจพบว่าเป็นก็ต้องออกจากแอร์ไปเรียนเมืองนอกแล้ว
แต่อาการใช่เลยค่ะ เวลาเครียดหรือว่าว่ายน้ำหรือเล่นบาส วิ่ง โมโห เศร้า ก็จะเจ็บหน้าอกบางทีก็ตรงกลางก่อนแล้วก็ขวาแล้วก็ซ้าย
อาการนำจะเป็นเหงื่อออกมือค่ะ แล้วพอเสร็จแล้วก็จะมือสั่น มีคนบอกว่ามือสั่นก่อนหิวข้าวเป็นธรรมดาของคนแต่หนูมือสั่นเวลาเครียดค่ะ
อยู่ๆก็สั่น บางทีก็เหมือนจะหายใจไม่ค่อยสะดวกพอเจ็บหน้าอก

แบบนี้ถือว่าเป็นโรคหัวใจรึเปล่าคะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 516 คน กำลังออนไลน์