• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6a46d8b0abf54031ed6da0e8a063229d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">การรักษา</span>\n</p>\n<p>\n  1. การรักษาทั่วไป <br />\n      1.1 การควบคุมรักษา ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว <br />\n      1.2 การให้การศึกษา เพื่อให้ผู้ป่วยดูแลตนเองหลังจากกลับจากโรงพยาบาล <br />\n           • ควบคุมการดื่มน้ำ ไม่ควรเกิน 1.5 ลิตรต่อวัน  <br />\n           • อาหารเค็ม จำกัดเกลือ ไม่เกิน 2 กรัมต่อวัน (ประมาณครึ่งช้อนชา) <br />\n           • การชั่งน้ำหนักทุกวัน หรืออย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง เพื่อดูว่ามีภาวะน้ำในร่างกายเกินหรือไม่ ถ้าหากน้ำหนักเกินมากกว่า 2 กิโลกรัม ภายใน 3 วัน อาจพิจารณาใช้ยาขับปัสสาวะเอง หรือมาพบแพทย์ <br />\n           • การควบคุมน้ำหนัก ถ้าอ้วนเกินไปควรลดน้ำหนักตัวลง แต่ถ้าหากผอมเกินไปอาจหมายถึง การขาดสารอาหาร หรือ ภาวะหัวใจวายรุนแรงและเรื้อรังได้ <br />\n           • การออกกำลังกาย โดยมีโปรแกรมการออกกำลังกาย ตามความเหมาะสมเป็นรายๆ ไป หลีกเลี่ยงการออกกำลังกาย เช่น การยกน้ำหนัก หรือ การเล่นยกเวท <br />\n           • ระมัดระวังไม่ให้เป็นหวัดติดเชื้อง่าย <br />\n           • งดดื่มเหล้าและสูบบุหรี่ <br />\n           • ควบคุมอาหารไขมัน <br />\n           • การมีเพศสัมพันธ์ ถ้าขึ้นบันได 1 ชั้นโดยไม่เหนื่อย ก็อาจมีเพศสัมพันธ์ได้ปกติ <br />\n           • การพักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ <br />\n           • การเดินทางควรระมัดระวัง ไม่ควรไปในสถานที่สูง อากาศเบาบาง อากาศที่ร้อนชื้นเกินไป <br />\n <br />\n <br />\n  2. การรักษาโดยการใช้ยา : ยากลุ่มอื่นๆ ที่เป็นยาใหม่ หรือยาที่ใช้ในภาวะฉุกเฉินและเฉียบพลัน ไม่ได้นำมากล่าวในที่นี้ <br />\n \n</p>\n<p>\n  3. การรักษาโดยใช้เครื่องมือพิเศษ <br />\n      3.1 การฝังเครื่องช็อคหัวใจ (Implantable Cardioverter Defribrillators,ICD) เป็นเครื่องมือที่ใช้ฝังเข้าไปที่ตัวผู้ป่วย เพื่อทำการรักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ ซึ่งมักจะพบได้ในภาวะหัวใจล้มเหลวที่เป็นรุนแรง โดยเครื่องจะวินิจฉัยลักษณะการเต้นของหัวใจ และทำการช็อคไปเองโดยอัตโนมัติ สามารถลดอัตราการเสียชีวิตโดยเฉียบพลันได้ <br />\n      3.2 การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ CRT ( Cardiac Resynchronization Therapy ) เป็นเครื่องที่ฝังเข้าไปในร่างกาย ผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวที่เป็นรุนแรง ที่มีลักษณะการนำไฟฟ้าผิดปกติ ทำให้การบีบตัวของหัวใจไม่สัมพันธ์กัน เพื่อทำให้มีการนำไฟฟ้าหัวใจที่ดีขึ้น เป็นผลทำให้หัวใจทำงานบีบตัวได้ดีขึ้น สามารถทำให้อาการผู้ป่วยดีขึ้นได้ นอนโรงพยาบาลน้อยลง และลดอัตราการเสียเสียชีวิตได้ อุปกรณ์ชนิดนี้อาจมีการเสริมหน้าที่เป็นแบบ ช็อคไฟฟ้าหัวใจได้ ตามข้อ 3.1 ด้วย เรียกว่า CRT-Defribrillator <br />\n <br />\n  4. การรักษาโดยการผ่าตัด : การรักษาโดยการผ่าตัด คือ การผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ ( Cardiac Tranplantation ) ใช้ในกรณีที่ไม่มีทางรักษาโดยวิธีข้างต้น\n</p>\n<p>\n   <span style=\"color: #800080\">ภาวะหัวใจล้มเหลว</span> (Congestive Heart Failure) หรือเรียกว่า ภาวะหัวใจวาย คือภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบเลือด ไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ได้เพียงพอต่อความต้องการในขณะพัก หรือเมื่อต้องการออกกำลัง เป็นภาวะที่หัวใจไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดขึ้นในระยะสุดท้ายของโรคหัวใจทุกชนิด และยังเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคอื่นๆ อีกหลายโรค </p>\n', created = 1719573798, expire = 1719660198, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6a46d8b0abf54031ed6da0e8a063229d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคหัวใจ *

รูปภาพของ sss27443

การรักษา

  1. การรักษาทั่วไป
      1.1 การควบคุมรักษา ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
      1.2 การให้การศึกษา เพื่อให้ผู้ป่วยดูแลตนเองหลังจากกลับจากโรงพยาบาล
           • ควบคุมการดื่มน้ำ ไม่ควรเกิน 1.5 ลิตรต่อวัน 
           • อาหารเค็ม จำกัดเกลือ ไม่เกิน 2 กรัมต่อวัน (ประมาณครึ่งช้อนชา)
           • การชั่งน้ำหนักทุกวัน หรืออย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง เพื่อดูว่ามีภาวะน้ำในร่างกายเกินหรือไม่ ถ้าหากน้ำหนักเกินมากกว่า 2 กิโลกรัม ภายใน 3 วัน อาจพิจารณาใช้ยาขับปัสสาวะเอง หรือมาพบแพทย์
           • การควบคุมน้ำหนัก ถ้าอ้วนเกินไปควรลดน้ำหนักตัวลง แต่ถ้าหากผอมเกินไปอาจหมายถึง การขาดสารอาหาร หรือ ภาวะหัวใจวายรุนแรงและเรื้อรังได้
           • การออกกำลังกาย โดยมีโปรแกรมการออกกำลังกาย ตามความเหมาะสมเป็นรายๆ ไป หลีกเลี่ยงการออกกำลังกาย เช่น การยกน้ำหนัก หรือ การเล่นยกเวท
           • ระมัดระวังไม่ให้เป็นหวัดติดเชื้อง่าย
           • งดดื่มเหล้าและสูบบุหรี่
           • ควบคุมอาหารไขมัน
           • การมีเพศสัมพันธ์ ถ้าขึ้นบันได 1 ชั้นโดยไม่เหนื่อย ก็อาจมีเพศสัมพันธ์ได้ปกติ
           • การพักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ
           • การเดินทางควรระมัดระวัง ไม่ควรไปในสถานที่สูง อากาศเบาบาง อากาศที่ร้อนชื้นเกินไป
 
 
  2. การรักษาโดยการใช้ยา : ยากลุ่มอื่นๆ ที่เป็นยาใหม่ หรือยาที่ใช้ในภาวะฉุกเฉินและเฉียบพลัน ไม่ได้นำมากล่าวในที่นี้
 

  3. การรักษาโดยใช้เครื่องมือพิเศษ
      3.1 การฝังเครื่องช็อคหัวใจ (Implantable Cardioverter Defribrillators,ICD) เป็นเครื่องมือที่ใช้ฝังเข้าไปที่ตัวผู้ป่วย เพื่อทำการรักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ ซึ่งมักจะพบได้ในภาวะหัวใจล้มเหลวที่เป็นรุนแรง โดยเครื่องจะวินิจฉัยลักษณะการเต้นของหัวใจ และทำการช็อคไปเองโดยอัตโนมัติ สามารถลดอัตราการเสียชีวิตโดยเฉียบพลันได้
      3.2 การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ CRT ( Cardiac Resynchronization Therapy ) เป็นเครื่องที่ฝังเข้าไปในร่างกาย ผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวที่เป็นรุนแรง ที่มีลักษณะการนำไฟฟ้าผิดปกติ ทำให้การบีบตัวของหัวใจไม่สัมพันธ์กัน เพื่อทำให้มีการนำไฟฟ้าหัวใจที่ดีขึ้น เป็นผลทำให้หัวใจทำงานบีบตัวได้ดีขึ้น สามารถทำให้อาการผู้ป่วยดีขึ้นได้ นอนโรงพยาบาลน้อยลง และลดอัตราการเสียเสียชีวิตได้ อุปกรณ์ชนิดนี้อาจมีการเสริมหน้าที่เป็นแบบ ช็อคไฟฟ้าหัวใจได้ ตามข้อ 3.1 ด้วย เรียกว่า CRT-Defribrillator
 
  4. การรักษาโดยการผ่าตัด : การรักษาโดยการผ่าตัด คือ การผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ ( Cardiac Tranplantation ) ใช้ในกรณีที่ไม่มีทางรักษาโดยวิธีข้างต้น

   ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive Heart Failure) หรือเรียกว่า ภาวะหัวใจวาย คือภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบเลือด ไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ได้เพียงพอต่อความต้องการในขณะพัก หรือเมื่อต้องการออกกำลัง เป็นภาวะที่หัวใจไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดขึ้นในระยะสุดท้ายของโรคหัวใจทุกชนิด และยังเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคอื่นๆ อีกหลายโรค

รูปภาพของ ssspoonsak

แหล่งที่มาของข้อมูลต้องมากกว่านี้

จัดรูปแบบข้อความให้น่าสนใจพร้อมเพิ่มภาพอีกจะเยี่ยม 

ขออีกนิด อย่าลืมอ้างแหล่งที่มาของภาพไว้ใต้ภาพ
และอ้างแหล่งที่มาของข้อมูลไว้ทุกหน้า
จะเป็นกำลังใจให้ แล้วจะมาดูอีกครั้ง

อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

คือแบบว่าอาการเหมือนเลยค่ะ
พี่สาวก็เพิ่งตรวจพบว่าเป็นก็ต้องออกจากแอร์ไปเรียนเมืองนอกแล้ว
แต่อาการใช่เลยค่ะ เวลาเครียดหรือว่าว่ายน้ำหรือเล่นบาส วิ่ง โมโห เศร้า ก็จะเจ็บหน้าอกบางทีก็ตรงกลางก่อนแล้วก็ขวาแล้วก็ซ้าย
อาการนำจะเป็นเหงื่อออกมือค่ะ แล้วพอเสร็จแล้วก็จะมือสั่น มีคนบอกว่ามือสั่นก่อนหิวข้าวเป็นธรรมดาของคนแต่หนูมือสั่นเวลาเครียดค่ะ
อยู่ๆก็สั่น บางทีก็เหมือนจะหายใจไม่ค่อยสะดวกพอเจ็บหน้าอก

แบบนี้ถือว่าเป็นโรคหัวใจรึเปล่าคะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 312 คน กำลังออนไลน์