• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:848230eea35abf95011df54da72287cb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #993300\">                   เนื่องจากเอกราชทางการศาล ของสยามประเทศในเวลานั้น ได้รับความกระทบกระเทือนเป็นอย่างมาก กล่าวคือ สยามต้องเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต (Extraterritorial rights) ให้แก่ชาวต่างชาติ ที่มาพำนักในประเทศสยามหลายครั้ง หลายครา ด้วยข้ออ้างที่ว่า กฎหมายสยามยังไม่ทันสมัย มิเสมอด้วยกฎหมายของอารยประเทศ จำต้องมีการชำระ สะสางกันใหม่ทั้งระบบอย่างเร่งด่วน เสด็จในกรมฯ จึงทรงตั้งพระทัยแน่วแน่ ที่จะเข้ารับราชการในฝ่ายตุลาการ เพื่อทรงแก้ปัญหาสำคัญของชาติที่มีอยู่ในเวลานั้น</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993300\">                   แต่ด้วยเหตุที่เสด็จในกรมฯ เสด็จไปประทับ ณ ต่างประเทศตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ จึงทรงพระดำริว่า พระองค์มิทรงทราบความ เกี่ยวกับกฎหมายไทยอย่างจริงจัง เป็นเหตุให้ทรงเริ่มศึกษากฎหมายไทย โดยการค้นคว้า จากราชเลขานุการฝ่ายกฤษฎีกา โดยมีขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ) และเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) เป็นผู้รับปฏิบัติค้นคว้าถวาย ทรงศึกษาอยู่ไม่กี่เดือนก็สำเร็จ จนกระทั่งเจ้าพระยาอภัยราชา (ดร.โรแลง ยัคแมงส์) นักกฎหมายชาวเบลเยี่ยม ที่ปรึกษาราชการแผ่นดินในสมัยนั้นแปลกใจ ขอซักถามก็ได้ความว่า ทรงมีความจำดีมาก ทรงอ่านเพียงครั้งเดียว ก็สามารถจดจำความสำคัญ ทั้งแนวทางกฎหมาย และวิถีทางของการชำระคดีได้หมด</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"379\" src=\"/files/u7250/rapee4.jpg\" height=\"233\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #8f96a2\">ที่มาของรูปภาพ </span><a href=\"http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page2.html\"><span style=\"color: #8f96a2\">http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page2.html</span></a>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993300\">                   ในพุทธศักราช 2439 หลังจากที่สถาปนากระทรวงยุติธรรมได้ 4 ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งข้าหลวงพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง สังกัดกระทรวงมหาดไทย เพื่อจัดการศาลหัวเมือง ในมณฑลอยุธยาเป็นแห่งแรก โดยโปรดเสด็จในกรมฯ ทรงเป็นสภานายกพิเศษ ทั้งยังประกอบด้วยขุนหลวงพระยาไกรสี เนติบัณฑิตอังกฤษ กับมิสเตอร์เกิก แปตริก เนติบัณฑิตเบลเยี่ยม และข้าหลวงพิเศษในท้องถิ่น คือพระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนมรุพงศ์ศิริพัฒน์ สมุหเทศาภิบาลมณฑล กับพระยาชัยวิชิต (นาค ณ ป้อมเพ็ชร์) ผู้รักษากรุงศรีอยุธยา เริ่มจัดการศาลหัวเมืองในครั้งนั้น เสด็จในกรมฯ ทรงตัดสินคดีทั้งปวง ด้วยพระองค์เองอย่างเร่งด่วน และยุติธรรม พระเกียรติคุณปรากฏเป็นที่นิยมยินดี ของหมู่ชนในมณฑลนั้น ยังผลให้การเป็นไปสมพระราชประสงค์ ทุกประการ</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993300\">                   ครั้นถึงพุทธศักราช 2439 ต่ำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมว่างลง เนื่องด้วยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร เสนาบดีได้ประชวร และกราบบังคมทูลพระกรุณาลาออกจากต่ำแหน่ง สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ จึงกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอให้ทรงแต่งตั้งเสด็จในกรมฯ ขึ้นเป็นเสนาบดี โดยมีคำรับรองจากเจ้าพระยาอภัยราชา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีพระบรมราชโองการ แต่งตั้งให้พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ ทรงเป็นเสนาบดีสืบแทน เมื่อวันที่ 3 มีนาคม พุทธศักราช 2439 นับเป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ลำดับที่ 3 ขณะที่พระชนมายุเพียง 22 พรรษา ทั้งยังดำรงต่ำแหน่งสภานายก ในข้าหลวงพิเศษจัดการศาลตามเดิมด้วย นับว่าทรงเป็นเสนาบดีผู้มีอายุน้อยที่สุด ในประวัติศาสตร์โลก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #8f96a2\">ที่มาของข้อมูล </span><a href=\"http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page1.html\"><span style=\"color: #8f96a2\">http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page1.html</span></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page2.html\"><span style=\"color: #8f96a2\">http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page2.html</span></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page3.html\"><span style=\"color: #8f96a2\">http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page3.html</span></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page4.html\"><span style=\"color: #8f96a2\">http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page4.html</span></a>\n</p>\n<p></p>', created = 1719108545, expire = 1719194945, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:848230eea35abf95011df54da72287cb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บิดาแห่งกฏหมายไทย

รูปภาพของ sss27271

                   เนื่องจากเอกราชทางการศาล ของสยามประเทศในเวลานั้น ได้รับความกระทบกระเทือนเป็นอย่างมาก กล่าวคือ สยามต้องเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต (Extraterritorial rights) ให้แก่ชาวต่างชาติ ที่มาพำนักในประเทศสยามหลายครั้ง หลายครา ด้วยข้ออ้างที่ว่า กฎหมายสยามยังไม่ทันสมัย มิเสมอด้วยกฎหมายของอารยประเทศ จำต้องมีการชำระ สะสางกันใหม่ทั้งระบบอย่างเร่งด่วน เสด็จในกรมฯ จึงทรงตั้งพระทัยแน่วแน่ ที่จะเข้ารับราชการในฝ่ายตุลาการ เพื่อทรงแก้ปัญหาสำคัญของชาติที่มีอยู่ในเวลานั้น


                   แต่ด้วยเหตุที่เสด็จในกรมฯ เสด็จไปประทับ ณ ต่างประเทศตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ จึงทรงพระดำริว่า พระองค์มิทรงทราบความ เกี่ยวกับกฎหมายไทยอย่างจริงจัง เป็นเหตุให้ทรงเริ่มศึกษากฎหมายไทย โดยการค้นคว้า จากราชเลขานุการฝ่ายกฤษฎีกา โดยมีขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ) และเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) เป็นผู้รับปฏิบัติค้นคว้าถวาย ทรงศึกษาอยู่ไม่กี่เดือนก็สำเร็จ จนกระทั่งเจ้าพระยาอภัยราชา (ดร.โรแลง ยัคแมงส์) นักกฎหมายชาวเบลเยี่ยม ที่ปรึกษาราชการแผ่นดินในสมัยนั้นแปลกใจ ขอซักถามก็ได้ความว่า ทรงมีความจำดีมาก ทรงอ่านเพียงครั้งเดียว ก็สามารถจดจำความสำคัญ ทั้งแนวทางกฎหมาย และวิถีทางของการชำระคดีได้หมด

 

ที่มาของรูปภาพ http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page2.html


                   ในพุทธศักราช 2439 หลังจากที่สถาปนากระทรวงยุติธรรมได้ 4 ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งข้าหลวงพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง สังกัดกระทรวงมหาดไทย เพื่อจัดการศาลหัวเมือง ในมณฑลอยุธยาเป็นแห่งแรก โดยโปรดเสด็จในกรมฯ ทรงเป็นสภานายกพิเศษ ทั้งยังประกอบด้วยขุนหลวงพระยาไกรสี เนติบัณฑิตอังกฤษ กับมิสเตอร์เกิก แปตริก เนติบัณฑิตเบลเยี่ยม และข้าหลวงพิเศษในท้องถิ่น คือพระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนมรุพงศ์ศิริพัฒน์ สมุหเทศาภิบาลมณฑล กับพระยาชัยวิชิต (นาค ณ ป้อมเพ็ชร์) ผู้รักษากรุงศรีอยุธยา เริ่มจัดการศาลหัวเมืองในครั้งนั้น เสด็จในกรมฯ ทรงตัดสินคดีทั้งปวง ด้วยพระองค์เองอย่างเร่งด่วน และยุติธรรม พระเกียรติคุณปรากฏเป็นที่นิยมยินดี ของหมู่ชนในมณฑลนั้น ยังผลให้การเป็นไปสมพระราชประสงค์ ทุกประการ


                   ครั้นถึงพุทธศักราช 2439 ต่ำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมว่างลง เนื่องด้วยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร เสนาบดีได้ประชวร และกราบบังคมทูลพระกรุณาลาออกจากต่ำแหน่ง สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ จึงกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอให้ทรงแต่งตั้งเสด็จในกรมฯ ขึ้นเป็นเสนาบดี โดยมีคำรับรองจากเจ้าพระยาอภัยราชา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีพระบรมราชโองการ แต่งตั้งให้พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ ทรงเป็นเสนาบดีสืบแทน เมื่อวันที่ 3 มีนาคม พุทธศักราช 2439 นับเป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ลำดับที่ 3 ขณะที่พระชนมายุเพียง 22 พรรษา ทั้งยังดำรงต่ำแหน่งสภานายก ในข้าหลวงพิเศษจัดการศาลตามเดิมด้วย นับว่าทรงเป็นเสนาบดีผู้มีอายุน้อยที่สุด ในประวัติศาสตร์โลก

ที่มาของข้อมูล http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page1.html

http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page2.html

http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page3.html

http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page4.html

รูปภาพของ ssspoonsak

ดีแล้วละ แต่ขออีกนิด 

1. แหล่งที่มาของข้อมูล ควรอ้างอิงทุกหน้า

จะเป็นกำลังใจให้ แล้วจะมาดูอีกครั้ง

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 492 คน กำลังออนไลน์