• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ea71a25d6459cf36e776d35ca8df968c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n      <span style=\"color: #993300\"> &quot;  บิดาแห่งกฎหมายไทย  &quot;<br />\n            พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n        <img border=\"0\" width=\"322\" src=\"/files/u7250/p04.jpg\" height=\"482\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #8f96a2\">ที่มาของรูปภาพ  </span><a href=\"http://ac.assumption.ac.th/admnews/detailpic/p04.jpg\"><span style=\"color: #8f96a2\">http://ac.assumption.ac.th/admnews/detailpic/p04.jpg</span></a>  \n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #993300\"> เสด็จในกรมฯ มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตลับ ณ วันพุธ ขึ้น 11 ค่ำ ปีจอ ฉศก จุลศักราช 1236 ตรงวาระทางสุริยะคติ 21 ตุลาคม พุทธศักราช 2417</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993300\">                   เมื่อทรงเจริญพระวัย พอสมควรจะศึกษาอักขรสมัยได้ สมเด็จพระบรมชนกนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศึกษาอักขรวิธีภาษาไทย ในสำนักพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ภาษาอังกฤษขั้นต้น ในสำนักครูรามสามิ ต่อมาทรงเข้าศึกษาภาษาไทยชั้นมัธยม ในสำนักพระยาโอวาทวรกิจ (แก่น โอวาทะสาร) และในโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ โดยมีเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เป็นพระอาจารย์ในความดูแลของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"231\" src=\"/files/u7250/rapee1.jpg\" height=\"315\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #8f96a2\">ที่มาของรูปภาพ  </span><a href=\"http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/rapee1.jpg\"><span style=\"color: #8f96a2\">http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/rapee1.jpg</span></a>\n</p>\n<p>\n<br />\n                <span style=\"color: #993300\">   ในช่วงเวลานั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งพระราชหฤทัยไว้ว่า จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรสทุกพระองค์ เสด็จไปทรงศึกษาวิชาความรู้ยังต่างประเทศ เนื่องจากสยามประเทศกำลังประสบปัญหา จากการแผ่อำนาจ แสวงหาอาณานิคมของชาติตะวันตก ชนชาวสยามจำต้องเพิ่มพูนวิชาความรู้ เพื่อพัฒนาบ้านเมืองให้ทัดเทียมอารยประเทศ ดังนั้นในวันที่ 14 กรกฎาคม พุทธศักราช 2427 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ พร้อมด้วยพระเจ้าลูกยาเธออีก 3 พระองค์ คือ พระองค์เจ้ากิติยาวรลักษณ์ , พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม และพระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช เสด็จไปทรงศึกษาต่อยังประเทศในทวีปยุโรป โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จในกรมฯ ทรงศึกษา ณ ประเทศอังกฤษ</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993300\">                   เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมแล้ว ทรงเลือกที่จะศึกษาวิชากฎหมาย และได้ทรงพระปรีชาสอบผ่านการเรียน ณ สำนักไคร์สเชิช แห่งมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด (Christchurch College Oxford) แต่ทางมหาวิทยาลัยไม่ยอมรับเข้าศึกษา เพราะพระชนมายุยังไม่ถึง 18 พรรษา ตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย พระองค์จึงต้องเสด็จไปขอความกรุณาเป็นพิเศษว่า   &quot; คนไทยเกิดง่ายตายเร็ว &quot;   มหาวิทยาลัยจึงยอมผ่อนผันให้สอบใหม่ ก็ยังทรงสอบได้อีกครั้งหนึ่ง พระปรีชาสามารถเป็นที่ประจักษ์ พระองค์จึงทรงศึกษาวิชากฎหมาย ณ สำนักไคร์สเชิช แห่งมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด และสามารถสอบไล่ได้ ตามหลักสูตรปริญญา B.A. (xon) เกียรตินิยมได้ภายในเวลาเพียง 3 ปี ขณะพระชนมายุเพียง 20 พรรษา แต่เดิมนั้นทรงตั้งพระทัยว่า จะเสด็จมาทรงเรียนเนติบัณฑิตที่กรุงลอนดอน จากนั้นจึงจะเสด็จไปทรงศึกษาต่อ ที่ประเทศเยอรมนี แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จกลับประเทศสยามเสียก่อน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"198\" src=\"/files/u7250/1.jpg\" height=\"338\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #8f96a2\">ที่มาของรูปภาพ </span><a href=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/281/281/blog_entry1/blog/2007-08-07/comment/91302_images/1.jpg\"><span style=\"color: #8f96a2\">http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/281/281/blog_entry1/blog/2007-08-07/comment/91302_images/1.jpg</span></a><span style=\"color: #8f96a2\"> </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993300\">                   หลังจากเสด็จกลับมาแล้ว สมเด็จพระบรมชนกนาถ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จในกรมฯ ทรงฝึกหัดราชการในกรมราชเลขานุการ ด้วยพระปรีชาสามารถ ทั้งทรงพระอุตสาหวิริยะในภาระกิจเป็นอย่างยิ่ง ในไม่ช้าก็ทรงสามารถปฏิบัติงาน ในกรมนั้นได้ทุกต่ำแหน่ง โดยเฉพาะการร่างพระราชหัตถเลขา เป็นที่พอพระราชหฤทัยยิ่งนัก ถึงกับทรงออกพระนามพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์นี้ว่า   &quot; เฉลียวฉลาดรพี &quot;   และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นองคมนตรีในปีนั้นเอง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #8f96a2\">ที่มาของข้อมูล </span><a href=\"http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page1.html\"><span style=\"color: #8f96a2\">http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page1.html</span></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page2.html\"><span style=\"color: #8f96a2\">http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page2.html</span></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page3.html\"><span style=\"color: #8f96a2\">http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page3.html</span></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page4.html\"><span style=\"color: #8f96a2\">http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page4.html</span></a>\n</p>\n<p></p>', created = 1718496574, expire = 1718582974, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ea71a25d6459cf36e776d35ca8df968c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บิดาแห่งกฏหมายไทย

รูปภาพของ sss27271

       "  บิดาแห่งกฎหมายไทย  "
            พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์  

        

ที่มาของรูปภาพ  http://ac.assumption.ac.th/admnews/detailpic/p04.jpg  

                   เสด็จในกรมฯ มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตลับ ณ วันพุธ ขึ้น 11 ค่ำ ปีจอ ฉศก จุลศักราช 1236 ตรงวาระทางสุริยะคติ 21 ตุลาคม พุทธศักราช 2417


                   เมื่อทรงเจริญพระวัย พอสมควรจะศึกษาอักขรสมัยได้ สมเด็จพระบรมชนกนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศึกษาอักขรวิธีภาษาไทย ในสำนักพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ภาษาอังกฤษขั้นต้น ในสำนักครูรามสามิ ต่อมาทรงเข้าศึกษาภาษาไทยชั้นมัธยม ในสำนักพระยาโอวาทวรกิจ (แก่น โอวาทะสาร) และในโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ โดยมีเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เป็นพระอาจารย์ในความดูแลของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

ที่มาของรูปภาพ  http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/rapee1.jpg


                   ในช่วงเวลานั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งพระราชหฤทัยไว้ว่า จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรสทุกพระองค์ เสด็จไปทรงศึกษาวิชาความรู้ยังต่างประเทศ เนื่องจากสยามประเทศกำลังประสบปัญหา จากการแผ่อำนาจ แสวงหาอาณานิคมของชาติตะวันตก ชนชาวสยามจำต้องเพิ่มพูนวิชาความรู้ เพื่อพัฒนาบ้านเมืองให้ทัดเทียมอารยประเทศ ดังนั้นในวันที่ 14 กรกฎาคม พุทธศักราช 2427 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ พร้อมด้วยพระเจ้าลูกยาเธออีก 3 พระองค์ คือ พระองค์เจ้ากิติยาวรลักษณ์ , พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม และพระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช เสด็จไปทรงศึกษาต่อยังประเทศในทวีปยุโรป โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จในกรมฯ ทรงศึกษา ณ ประเทศอังกฤษ


                   เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมแล้ว ทรงเลือกที่จะศึกษาวิชากฎหมาย และได้ทรงพระปรีชาสอบผ่านการเรียน ณ สำนักไคร์สเชิช แห่งมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด (Christchurch College Oxford) แต่ทางมหาวิทยาลัยไม่ยอมรับเข้าศึกษา เพราะพระชนมายุยังไม่ถึง 18 พรรษา ตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย พระองค์จึงต้องเสด็จไปขอความกรุณาเป็นพิเศษว่า   " คนไทยเกิดง่ายตายเร็ว "   มหาวิทยาลัยจึงยอมผ่อนผันให้สอบใหม่ ก็ยังทรงสอบได้อีกครั้งหนึ่ง พระปรีชาสามารถเป็นที่ประจักษ์ พระองค์จึงทรงศึกษาวิชากฎหมาย ณ สำนักไคร์สเชิช แห่งมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด และสามารถสอบไล่ได้ ตามหลักสูตรปริญญา B.A. (xon) เกียรตินิยมได้ภายในเวลาเพียง 3 ปี ขณะพระชนมายุเพียง 20 พรรษา แต่เดิมนั้นทรงตั้งพระทัยว่า จะเสด็จมาทรงเรียนเนติบัณฑิตที่กรุงลอนดอน จากนั้นจึงจะเสด็จไปทรงศึกษาต่อ ที่ประเทศเยอรมนี แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จกลับประเทศสยามเสียก่อน

 

ที่มาของรูปภาพ http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/281/281/blog_entry1/blog/2007-08-07/comment/91302_images/1.jpg 


                   หลังจากเสด็จกลับมาแล้ว สมเด็จพระบรมชนกนาถ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จในกรมฯ ทรงฝึกหัดราชการในกรมราชเลขานุการ ด้วยพระปรีชาสามารถ ทั้งทรงพระอุตสาหวิริยะในภาระกิจเป็นอย่างยิ่ง ในไม่ช้าก็ทรงสามารถปฏิบัติงาน ในกรมนั้นได้ทุกต่ำแหน่ง โดยเฉพาะการร่างพระราชหัตถเลขา เป็นที่พอพระราชหฤทัยยิ่งนัก ถึงกับทรงออกพระนามพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์นี้ว่า   " เฉลียวฉลาดรพี "   และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นองคมนตรีในปีนั้นเอง

ที่มาของข้อมูล http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page1.html

http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page2.html

http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page3.html

http://www.baanjomyut.com/library/rapheepattana/page4.html

รูปภาพของ ssspoonsak

ดีแล้วละ แต่ขออีกนิด 

1. แหล่งที่มาของข้อมูล ควรอ้างอิงทุกหน้า

จะเป็นกำลังใจให้ แล้วจะมาดูอีกครั้ง

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 945 คน กำลังออนไลน์