• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:940cefe01f4ae128d3da49d0c7e54f02' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<u><strong><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff00\">ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์</span></strong></u>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>   <span style=\"color: #ffff00; background-color: #333333\">ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"></span></strong><br />\nชาวจีนในประมาณ 2600 ปี ก่อนคริสตกาล ได้เป็นคนประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการคำนวณ ขึ้นมา เรียกว่า ลูกคิด (Abacus) ซึ่งถือได้ว่าเป็นต้นกำเนิดของเครื่องคำนวณและคอมพิวเตอร์<br />\nพ.ศ. 2185 นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal ได้ออกแบบเครื่องช่วยในการคำนวณโดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟือง<br />\nพ.ศ. 2337 กอดฟริด ฟอนไลบ์นิช (Gottfried von Leibniz)ชาวเยอรมันได้ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีขีดความสามารถสูง สามารถคูณและหารได้ บุคคลผู้หนึ่งที่มีบทบาทสำคัญต่อการผลิตเครื่องจักรคำนวณคือ ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ชาวอังกฤษ ในปีพ.ศ. 2343 เขาประสบความสำเร็จสร้างเครื่องคำนวณ ที่เรียกว่า Difference engine ต่อมา<br />\nในปีพ.ศ.2439 ฮอลเลอริชได้จดทะเบียนก่อตั้งบริษัทเพื่อผลิตจำหน่ายเครื่องจักรช่วยในการคำนวณ ชื่อ บริษัท คอมพิวติง เทบบูลาติงเรดคอสดิง หลังจากนั้นในปีพ.ศ.2467 ได้เปลี่ยนมาเป็นชื่อบริษัทไอบีเอ็ม (International Business Machine: IBM)<br />\nแนวคิดในการประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ของแบบเบจนั้นก้าวหน้ามากโดยเฉพาะแนวคิดทางด้านการใช้โปรแกรมควบคุมการทำงานโดยอัตโนมัติ แบบเบจได้ริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับการใช้คำสั่งเลือกแบบมีเงื่อนไข เครื่องวิเคราะห์ที่แบบเบจวิเคราะห์ขึ้นอาจกล่าว ได้ว่าเป็นแนวคิดเดียวกับการ ทำงานของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน แต่แบบเบจก็ไม่สามารถสร้างเครื่องวิเคราะห์นี้ให้เป็นจริงได้เนื่องจากเป็นความคิดที่ล้ำยุคเกินไป จึงทำให้ ไม่มีช่างฝีมือคนใดสามารถผลิตฟันเฟืองต่างๆ ตามที่เขาต้องการได้ แบบเบจถึงแก่กรรมก่อนที่จะได้ทราบว่าแนวคิดของเขานั้น สามารถ เป็นจริงได้ในเชิงไฟฟ้าไม่ใช่เชิงกล แบบเบจจึงได้รับสมญานามว่า เป็น <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff00\"><strong>บิดาแห่งคอมพิวเตอร์</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"112\" src=\"/files/u9815/zxcs6_1_.jpg\" height=\"141\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ffff00; background-color: #333333\">พัฒนาการของคอมพิวเตอร์</span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1</span>\n</p>\n<p>\n อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1945 ถึง ค.ศ. 1958 (พ.ศ.2488ถึง พ.ศ.2501) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบหลอดสุญญากาศ ซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง มีปัญหาเรื่องความร้อนของหลอดสุญญากาศ จึงทำให้ไส้ของหลอดขาดบ่อย การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I) อีนิแอค (ENIAC) ,ยูนิแวค, (UNIVAC)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"202\" src=\"/files/u9815/zx2us1_1__0.jpg\" height=\"133\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2</span>\n</p>\n<p>\n อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1959 ถึง ค.ศ. 1963 (พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506) หรือที่เรียกว่า คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบทรานซิสเตอร์ โดยมี แกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ ใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาเขียนเป็นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"169\" src=\"/files/u9815/zx3sb1_1_.jpg\" height=\"129\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3</span>\n</p>\n<p>\n อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1964 ถึง ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit: IC) ประมาณปี พ.ศ. 2508 ได้มีการพัฒนาสร้างทรานซิสเตอร์จำนวนมากลงบนแผ่นซิลิกอน ขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนที่เรียกว่า ไอซี การใช้ไอซีเป็นส่วนประกอบทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงเรียกว่า มินิคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"133\" src=\"/files/u9815/zx4we2_1_.jpg\" height=\"148\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4</span>\n</p>\n<p>\nตั้งแต่ปี ค.ศ. 1969 จนถึงปัจจุบัน เป็นของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integration: VLSI) ทำให้ขนาดเครื่องมีขนาดเล็ก ระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"120\" src=\"/files/u9815/zx5ao5_1_.jpg\" height=\"112\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5</span>\n</p>\n<p>\n เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่างๆเข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"130\" src=\"/files/u9815/zx6xq5_1_.jpg\" height=\"170\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.oknation.net/blog/print.php?id=52653\"><span style=\"color: #000000; background-color: #ffff00\"><u><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">http://www.oknation.net/blog/print.php?id=52653</span></strong></u></span></a>\n</p>\n<p>\n<br />\n++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++ </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #333399; background-color: #00ffff\"><strong><u>ยุคของคอมพิวเตอร์มีทั้งหมด 5 ยุค</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\"><strong>คอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1</strong></span> \n</p>\n<p>\n<br />\n      อยู่ระหว่างปี พ.ศ.. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้<br />\nกำลังไฟฟ้าสูงจึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อยถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อน<br />\nที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์<br />\nของยุคนี้ขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\"><strong>คอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2</strong></span>   \n</p>\n<p>\n<br />\n      คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์<br />\nที่ใช้ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรอง<br />\nในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีการพัฒนาดีขึ้น <br />\nโดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยค<br />\nที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น ภาษาระดับสูงนี้ได้มีการพัฒนาและใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">คอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3</span></strong>  \n</p>\n<p>\nคอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์<br />\nที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit: IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุ<br />\nอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุม<br />\nที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง \n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"background-color: #ffff99\"> <span style=\"color: #0000ff\"><strong>คอมพิวเตอร์ในยุคที่ 4</strong></span>  </span>\n</p>\n<p>\n<br />\nคอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์<br />\nที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit: IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุ<br />\nอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ\n</p>\n<p>\nในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุม<br />\nที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง <br />\n \n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\"><strong>คอมพิวเตอร์ในยุคที่ 5</strong></span>  \n</p>\n<p>\nคอมพิวเตอร์ยุคที่ห้าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและ<br />\nแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆเข้าไว้ในเครื่องสามารถเรียกค้นและ<br />\nดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการ<br />\nด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็น<br />\nสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกำลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้<br />\nกันอย่างจริงจัง ครั้นถึงยุคศตวรรษ 1990 พีซีมีบทบาทที่สำคัญยิ่งต่อชีวิตประจำวัน ขณะเดียวกันพัฒนาการทางพีซีทำให้ขีด ความสามารถเชิงการคำนวณสูงขึ้น มีการใช้ซีพียูที่เป็นไมโครโปรเซสเซอร์ในอุปกรณ์และงานอื่น ๆ มากมาย เมื่อพีซีมีขนาดจากที่วางอยู่บนโต๊ะ ลดขนาดลงมาวางอยู่ที่ตัก (แลบท็อป) และเล็กจนมีน้ำหนักเบาขนาดเท่ากับกระดาษ A4 ที่มีความหนาประมาณหนึ่งนิ้ว เรียกว่าโน้ตบุค และสับโน้ตบุค\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.cnt.obec.go.th/asp/computer/vevat4.html\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #0000ff\">http://www.cnt.obec.go.th/asp/computer/vevat4.html</span></span></a><span style=\"color: #0000ff\"> </span>\n</p>\n<p>\n+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++ </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #008000; background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ff00\">องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์</span></span></span></u></strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n  <span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">  <span style=\"color: #000000\">หมายถึง</span></span></span><span style=\"color: #000000\"> อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)  หน่วยแสดงผล (Output Unit) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\">ในความเป็นจริงแล้ว</span> ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เราเห็นๆ กันอยู่นี้เป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ถ้าต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามที่เราต้องการนั้น </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\">  ฮาร์ดแวร์ (Hardware) <br />\n ซอฟต์แวร์ (Software) <br />\n บุคลากร (Peopleware) <br />\n ข้อมูล (Data) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffcc00\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #0000ff\">ฮาร์แวร์ (Hardware)</span></span></span></strong></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">    <br />\n  <span style=\"color: #ff00ff\">หมายถึง </span>อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffcc00\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\"><strong>ซอบแวร์ (</strong></span></span></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffcc00\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">Software</span>)</strong></span></span><span style=\"color: #000000\"><br />\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><strong>    <br />\n  <span style=\"color: #ff00ff\">หมายถึง</span> </strong>ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์</span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">1. ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System </span><span style=\"color: #0000ff\">Software)</span></strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\">2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)</span></span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\"></span></strong><span style=\"color: #000000\"> คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\">2.1</span> ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\">2.3</span> ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffcc00\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\"><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ff00\">บุคลากร (peopleware)</span></strong></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #000000\"><br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">  หมายถึง</span> บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong>1. ผู้จัดการระบบ (System <span style=\"color: #ff00ff\">Manager</span></strong></span><span style=\"color: #ff00ff\">)</span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong>2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)</strong></span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong>3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)</strong></span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong>4. ผู้ใช้ (User)</strong></span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffcc00\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ff00\">ข้อมูล (Data)</span></span></span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"background-color: #ffffff\">   <br />\n <span style=\"color: #ff00ff\"> ข้อมูลเป็นองค์ประกอบ</span>ที่สำคัญอย่างหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งที่ต้องป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ พร้อมกับโปรแกรมที่นักคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธ์ที่ต้องการออกมา ข้อมูลที่สามารถนำมาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ มี  5 ประเภท คือ ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) ข้อมูลเสียง (Audio Data) ข้อมูลภาพ (Images Data)</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">    <br />\n </span><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #000000\">โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)</span></span></strong></span></p>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffcc00\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">ข้อมูล (Data)</span></span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #000000\">    <br />\n <span style=\"color: #ff00ff\"> ข้อมูลเป็นองค์ประกอบ</span>ที่สำคัญอย่างหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งที่ต้องป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ พร้อมกับโปรแกรมที่นักคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธ์ที่ต้องการออกมา ข้อมูลที่สามารถนำมาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ มี  5 ประเภท คือ ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) ข้อมูลเสียง (Audio Data) ข้อมูลภาพ (Images Data) </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"background-color: #ffff99\"> <span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\">บิต (Bit)</span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\">คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด</span> </span> </span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"> <span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\">ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character)</span></span> <br />\n</span>ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">ฟิลด์ (Field)</span></span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><br />\n</span><span style=\"background-color: #ffffff\">ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์</span>  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">เรคคอร์ด (Record)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><br />\n</span><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #000000\">ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด <br />\nเช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล</span></span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><br />\n</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"background-color: #ffffff\">ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน <br />\nเช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">ฐานข้อมูล (Database)</span></span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><br />\n</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"background-color: #ffffff\">คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน <br />\nเช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกันเป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น</span>  <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><a href=\"http://th.answers.yahoo.com/question/index?qid=20080823093657AA0ibZF\"><strong><a href=\"http://th.answers.yahoo.com/question/index?qid=20080823093657AA0ibZF\">http<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">://th.answers.yah</span></a></strong></a></span><span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">oo.com/question/index?qid=20080823093657AA0ibZF</span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++</span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ให้นักเรียนสรุปสาระสำคัญและข้อคิดเห็น เป็นความคิดของนักเรียนเอง </span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"></span></strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><center><span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\"><strong></strong></span></center><center><span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\"><strong></strong></span></center><center><span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\"><strong></strong></span></center><center><span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\"><strong>ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์</strong></span></center><center><span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\"><strong></strong></span></center><center><span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\"><strong></strong></span></center><center><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\"></span></strong></center></span></span></p>\n<div align=\"left\">\n<br />\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\">ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์</span></span></strong>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"></span><br />\n</strong><span style=\"color: #000000\">ชาวจีนในประมาณ 2600 ปี ก่อนคริสตกาล ได้เป็นคนประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการคำนวณ ขึ้นมา เรียกว่า ลูกคิด (Abacus) ซึ่งถือได้ว่าเป็นต้นกำเนิดของเครื่องคำนวณและคอมพิวเตอร์<br />\nพ.ศ. 2185 นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal ได้ออกแบบเครื่องช่วยในการคำนวณโดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟือง<br />\nพ.ศ. 2337 กอดฟริด ฟอนไลบ์นิช (Gottfried von Leibniz)ชาวเยอรมันได้ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีขีดความสามารถสูง สามารถคูณและหารได้ บุคคลผู้หนึ่งที่มีบทบาทสำคัญต่อการผลิตเครื่องจักรคำนวณคือ ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ชาวอังกฤษ ในปีพ.ศ. 2343 เขาประสบความสำเร็จสร้างเครื่องคำนวณ ที่เรียกว่า Difference engine ต่อมา<br />\nในปีพ.ศ.2439 ฮอลเลอริชได้จดทะเบียนก่อตั้งบริษัทเพื่อผลิตจำหน่ายเครื่องจักรช่วยในการคำนวณ ชื่อ บริษัท คอมพิวติง เทบบูลาติงเรดคอสดิง หลังจากนั้นในปีพ.ศ.2467 ได้เปลี่ยนมาเป็นชื่อบริษัทไอบีเอ็ม (International Business Machine: IBM) </span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"background-color: #ffff99\">พัฒนาการของคอมพิวเตอร์</span></strong></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">ยุคแรก</span></strong></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<p></p>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\">อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1945 ถึง ค.ศ. 1958 (พ.ศ.2488ถึง พ.ศ.2501) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบหลอดสุญญากาศ ซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง มีปัญหาเรื่องความร้อนของหลอดสุญญากาศ จึงทำให้ไส้ของหลอดขาดบ่อย การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I) </span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">ยุคที่สอง</span></span></strong>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\">อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1959 ถึง ค.ศ. 1963 (พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506) หรือที่เรียกว่า คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบทรานซิสเตอร์ โดยมี แกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ </span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม</span></strong></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\">อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1964 ถึง ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit: IC) ประมาณปี พ.ศ. 2508 ได้มีการพัฒนาสร้างทรานซิสเตอร์จำนวนมากลงบนแผ่นซิลิกอน ขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนที่เรียกว่า ไอซี </span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่</span></strong></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\">ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1969 จนถึงปัจจุบัน เป็นของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integration: VLSI) ทำให้ขนาดเครื่องมีขนาดเล็ก ระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก </span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"background-color: #ffff99\">คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า</span></strong></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\">เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่างๆเข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) </span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ff00\"><strong></strong></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ff00\"><strong></strong></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ff00\"><strong>องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์</strong></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\"><strong>1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware)</strong></span></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><br />\n</span></strong><span style=\"color: #000000\">หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์ เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทำงานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ </span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\"><strong>2.ซอฟต์แวร์ (Software)</strong></span></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"color: #000000\">ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (program) หรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ผลลัพธ์<br />\nตามที่ต้องการ ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงาน<br />\nจะยังไม่สามารถทำงานได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำง</span>าน\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">1) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software</span>)</strong></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\">เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุม ทรัพยากรต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอำนวยความสะดวกด้านเครื่องมือสำหรับการทำงานพื้นฐานต่าง ๆ ตั้งแต่ผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ </span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">2) ซอฟต์แวร์</span></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">ประยุกต์ (Application Software)</span></span></strong>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\">หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น งานด้านการจัดทำเอกสาร การทำบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอื่น ๆ ตามแต่ผู้ใช้ต้องการ</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\"><strong>3.ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)</strong></span></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"color: #000000\">คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลคำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทำงาน </span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\"><strong>4.บุคคลากร (Peopleware)</strong></span></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"color: #000000\">คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานนั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น มีความสำคัญมาก เพราะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรมดำเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่สามารถทำด้วยตัวเองได้ ถ้าหากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่องคอมพิวเตอร์มากนัก </span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">5.</span><span style=\"color: #0000ff\">กระบวนการทำงาน (Documentation/Procedure)</span></strong></span></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"color: #000000\">เป็นขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับคอมพิวเตอร์จำเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทำงาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน มีการจัดทำคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคนเรียนรู้และใช้อ้างอิงได้นอกจากนั้น<br />\n</span> \n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<br />\n \n</div>\n<p></p>\n', created = 1715644932, expire = 1715731332, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:940cefe01f4ae128d3da49d0c7e54f02' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c48ac17bd61d36d39c069a32aef01010' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<u><strong><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff00\">ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์</span></strong></u>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>   <span style=\"color: #ffff00; background-color: #333333\">ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"></span></strong><br />\nชาวจีนในประมาณ 2600 ปี ก่อนคริสตกาล ได้เป็นคนประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการคำนวณ ขึ้นมา เรียกว่า ลูกคิด (Abacus) ซึ่งถือได้ว่าเป็นต้นกำเนิดของเครื่องคำนวณและคอมพิวเตอร์<br />\nพ.ศ. 2185 นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal ได้ออกแบบเครื่องช่วยในการคำนวณโดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟือง<br />\nพ.ศ. 2337 กอดฟริด ฟอนไลบ์นิช (Gottfried von Leibniz)ชาวเยอรมันได้ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีขีดความสามารถสูง สามารถคูณและหารได้ บุคคลผู้หนึ่งที่มีบทบาทสำคัญต่อการผลิตเครื่องจักรคำนวณคือ ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ชาวอังกฤษ ในปีพ.ศ. 2343 เขาประสบความสำเร็จสร้างเครื่องคำนวณ ที่เรียกว่า Difference engine ต่อมา<br />\nในปีพ.ศ.2439 ฮอลเลอริชได้จดทะเบียนก่อตั้งบริษัทเพื่อผลิตจำหน่ายเครื่องจักรช่วยในการคำนวณ ชื่อ บริษัท คอมพิวติง เทบบูลาติงเรดคอสดิง หลังจากนั้นในปีพ.ศ.2467 ได้เปลี่ยนมาเป็นชื่อบริษัทไอบีเอ็ม (International Business Machine: IBM)<br />\nแนวคิดในการประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ของแบบเบจนั้นก้าวหน้ามากโดยเฉพาะแนวคิดทางด้านการใช้โปรแกรมควบคุมการทำงานโดยอัตโนมัติ แบบเบจได้ริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับการใช้คำสั่งเลือกแบบมีเงื่อนไข เครื่องวิเคราะห์ที่แบบเบจวิเคราะห์ขึ้นอาจกล่าว ได้ว่าเป็นแนวคิดเดียวกับการ ทำงานของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน แต่แบบเบจก็ไม่สามารถสร้างเครื่องวิเคราะห์นี้ให้เป็นจริงได้เนื่องจากเป็นความคิดที่ล้ำยุคเกินไป จึงทำให้ ไม่มีช่างฝีมือคนใดสามารถผลิตฟันเฟืองต่างๆ ตามที่เขาต้องการได้ แบบเบจถึงแก่กรรมก่อนที่จะได้ทราบว่าแนวคิดของเขานั้น สามารถ เป็นจริงได้ในเชิงไฟฟ้าไม่ใช่เชิงกล แบบเบจจึงได้รับสมญานามว่า เป็น <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff00\"><strong>บิดาแห่งคอมพิวเตอร์</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"112\" src=\"/files/u9815/zxcs6_1_.jpg\" height=\"141\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ffff00; background-color: #333333\">พัฒนาการของคอมพิวเตอร์</span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1</span>\n</p>\n<p>\n อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1945 ถึง ค.ศ. 1958 (พ.ศ.2488ถึง พ.ศ.2501) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบหลอดสุญญากาศ ซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง มีปัญหาเรื่องความร้อนของหลอดสุญญากาศ จึงทำให้ไส้ของหลอดขาดบ่อย การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I) อีนิแอค (ENIAC) ,ยูนิแวค, (UNIVAC)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"202\" src=\"/files/u9815/zx2us1_1__0.jpg\" height=\"133\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2</span>\n</p>\n<p>\n อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1959 ถึง ค.ศ. 1963 (พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506) หรือที่เรียกว่า คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบทรานซิสเตอร์ โดยมี แกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ ใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาเขียนเป็นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"169\" src=\"/files/u9815/zx3sb1_1_.jpg\" height=\"129\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3</span>\n</p>\n<p>\n อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1964 ถึง ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit: IC) ประมาณปี พ.ศ. 2508 ได้มีการพัฒนาสร้างทรานซิสเตอร์จำนวนมากลงบนแผ่นซิลิกอน ขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนที่เรียกว่า ไอซี การใช้ไอซีเป็นส่วนประกอบทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงเรียกว่า มินิคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"133\" src=\"/files/u9815/zx4we2_1_.jpg\" height=\"148\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4</span>\n</p>\n<p>\nตั้งแต่ปี ค.ศ. 1969 จนถึงปัจจุบัน เป็นของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integration: VLSI) ทำให้ขนาดเครื่องมีขนาดเล็ก ระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"120\" src=\"/files/u9815/zx5ao5_1_.jpg\" height=\"112\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5</span>\n</p>\n<p>\n เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่างๆเข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"130\" src=\"/files/u9815/zx6xq5_1_.jpg\" height=\"170\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.oknation.net/blog/print.php?id=52653\"><span style=\"color: #000000; background-color: #ffff00\"><u><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">http://www.oknation.net/blog/print.php?id=52653</span></strong></u></span></a>\n</p>\n<p>\n<br />\n++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++ </p>\n', created = 1715644932, expire = 1715731332, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c48ac17bd61d36d39c069a32aef01010' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์

รูปภาพของ dsp7761

ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์


   ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์


ชาวจีนในประมาณ 2600 ปี ก่อนคริสตกาล ได้เป็นคนประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการคำนวณ ขึ้นมา เรียกว่า ลูกคิด (Abacus) ซึ่งถือได้ว่าเป็นต้นกำเนิดของเครื่องคำนวณและคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2185 นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal ได้ออกแบบเครื่องช่วยในการคำนวณโดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟือง
พ.ศ. 2337 กอดฟริด ฟอนไลบ์นิช (Gottfried von Leibniz)ชาวเยอรมันได้ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีขีดความสามารถสูง สามารถคูณและหารได้ บุคคลผู้หนึ่งที่มีบทบาทสำคัญต่อการผลิตเครื่องจักรคำนวณคือ ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ชาวอังกฤษ ในปีพ.ศ. 2343 เขาประสบความสำเร็จสร้างเครื่องคำนวณ ที่เรียกว่า Difference engine ต่อมา
ในปีพ.ศ.2439 ฮอลเลอริชได้จดทะเบียนก่อตั้งบริษัทเพื่อผลิตจำหน่ายเครื่องจักรช่วยในการคำนวณ ชื่อ บริษัท คอมพิวติง เทบบูลาติงเรดคอสดิง หลังจากนั้นในปีพ.ศ.2467 ได้เปลี่ยนมาเป็นชื่อบริษัทไอบีเอ็ม (International Business Machine: IBM)
แนวคิดในการประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ของแบบเบจนั้นก้าวหน้ามากโดยเฉพาะแนวคิดทางด้านการใช้โปรแกรมควบคุมการทำงานโดยอัตโนมัติ แบบเบจได้ริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับการใช้คำสั่งเลือกแบบมีเงื่อนไข เครื่องวิเคราะห์ที่แบบเบจวิเคราะห์ขึ้นอาจกล่าว ได้ว่าเป็นแนวคิดเดียวกับการ ทำงานของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน แต่แบบเบจก็ไม่สามารถสร้างเครื่องวิเคราะห์นี้ให้เป็นจริงได้เนื่องจากเป็นความคิดที่ล้ำยุคเกินไป จึงทำให้ ไม่มีช่างฝีมือคนใดสามารถผลิตฟันเฟืองต่างๆ ตามที่เขาต้องการได้ แบบเบจถึงแก่กรรมก่อนที่จะได้ทราบว่าแนวคิดของเขานั้น สามารถ เป็นจริงได้ในเชิงไฟฟ้าไม่ใช่เชิงกล แบบเบจจึงได้รับสมญานามว่า เป็น บิดาแห่งคอมพิวเตอร์

 

พัฒนาการของคอมพิวเตอร์


คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1

 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1945 ถึง ค.ศ. 1958 (พ.ศ.2488ถึง พ.ศ.2501) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบหลอดสุญญากาศ ซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง มีปัญหาเรื่องความร้อนของหลอดสุญญากาศ จึงทำให้ไส้ของหลอดขาดบ่อย การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I) อีนิแอค (ENIAC) ,ยูนิแวค, (UNIVAC)

คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2

 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1959 ถึง ค.ศ. 1963 (พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506) หรือที่เรียกว่า คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบทรานซิสเตอร์ โดยมี แกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ ใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาเขียนเป็นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น

คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3

 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1964 ถึง ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit: IC) ประมาณปี พ.ศ. 2508 ได้มีการพัฒนาสร้างทรานซิสเตอร์จำนวนมากลงบนแผ่นซิลิกอน ขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนที่เรียกว่า ไอซี การใช้ไอซีเป็นส่วนประกอบทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงเรียกว่า มินิคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4

ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1969 จนถึงปัจจุบัน เป็นของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integration: VLSI) ทำให้ขนาดเครื่องมีขนาดเล็ก ระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก

คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5

 เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่างๆเข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)

 

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=52653


++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

รูปภาพของ pch6594

 O.k แล้ว สวยดีนะ สุดยอด...เป็นประโยชน์แก่ผมมากฮะ...

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 473 คน กำลังออนไลน์