• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8750297bcba6ee9a30c678b7c861b630' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">ระบบนิเวศ  (Ecosystem)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\">ความหมายของระบบนิเวศ</span><br />\n</span>ระบบนิเวศ</strong>  หมายถึง หน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่แหล่งใดแหล่งหนึ่ง มาจากรากศัพท์ในภาษากรีก 2 คำ คือ Oikos แปลว่า บ้าน, ที่อยู่อาศัย Logos แปลว่า เหตุผล, ความคิด \n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u11044/005.jpg\" height=\"199\" style=\"width: 210px; height: 130px\" />     <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u11044/006.jpg\" height=\"225\" style=\"width: 181px; height: 131px\" />     <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u11044/010.jpg\" height=\"225\" style=\"width: 194px; height: 131px\" />\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffff99\">ความหมายของคำต่างๆ ในระบบนิเวศ <br />\n</span></strong><strong><span style=\"color: #ff00ff\">สิ่งมีชีวิต (Organism)</span></strong> หมายถึง สิ่งที่ต้องใช้พลังงานในการดำรงชีวิต ซึ่งมีลักษณะที่สำคัญดังนี้ <br />\n1. ต้องมีการเจริญเติบโต    2. เคลื่อนไหวได้ด้วยพลังงานที่เกิดขึ้นในร่างกาย <br />\n3. สืบพันธุ์ได้                  4. สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม <br />\n5. ประกอบไปด้วยเซลล์     6. มีการหายใจ <br />\n7. มีการขับถ่ายของเสีย      8. ต้องกินอาหาร หรือแร่ธาตุต่างๆ<br />\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\">ประชากร (Population)</span></strong> หมายถึง สิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่เป็นชนิดเดียวกัน อาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่เดียวกัน ณ  ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong>กลุ่มสิ่งมีชีวิต (Community)</strong></span> หมายถึง สิ่งมีชีวิตต่างๆ หลายชนิด มาอาศัยอยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง โดยสิ่งมีชีวิตนั้นๆ มีความสัมพันธ์กัน โดยตรงหรือโดยทางอ้อม<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong>โลกของสิ่งมีชีวิต (Biosphere)</strong></span> หมายถึง ระบบนิเวศหลายๆ ระบบนิเวศมารวมกัน<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong>แหล่งที่อยู่ (Habitat) </strong></span>หมายถึง บริเวณ หรือสถานที่ที่ใช้สำหรับผสมพันธุ์วางไข่ เป็นแหล่งที่อยู่ เช่น บ้าน สระน้ำ ต้นไม้ <br />\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\">สิ่งแวดล้อม (Environment)</span></strong> หมายถึง   สิ่งที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ทำให้สิ่งมีชีวิตเจริญเติบโตหรือ ดำรงชีวิตได้ดี   หรือไม่ หรือสิ่งที่อยู่รอบๆ ตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff99\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">องค์ประกอบของระบบนิเวศ</span></strong><br />\n</span><span style=\"color: #ff00ff\"><strong>1. องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต</strong></span> (Abiotic Substance) ได้แก่ สารชนิดต่างๆ ทั้งที่เป็นอินทรียสารและอนินทรียสารที่สิ่งมีชีวิตสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิต เช่น น้ำ ก๊าซออกซิเจน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ แร่ธาตุต่างๆ เป็นต้น<br />\n<strong>ความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะแวดล้อมทางกายภาพกับสิ่งมีชีวิต<br />\n</strong><span style=\"color: #ff00ff\">1.  แสง</span> มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตดังนี้<br />\n     ◊  มีผลต่อการเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์ของพืช<br />\n     ◊  มีผลต่อการกระตุ้นให้พืชออกดอก<br />\n     ◊  มีผลต่อความสามารถในการสังเคราะห์แสง<br />\n     ◊  เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมการออกหากินของสัตว์ เช่น สัตว์บางชนิดออกหากินเวลากลางคืน<br />\n     ◊  มีผลต่อปริมาณและชนิดของสิ่งมีชีวิตใต้น้ำ เช่น บริเวณที่ลึกมากจะมีอยู่น้อย และสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ มักจะมีลวดลายเด่นชัดให้เป็นเครื่องหมายจำพวกเดียวกัน<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">2.  อุณหภูมิ</span> มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตดังนี้<br />\n     ◊  มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณออกซิเจนในน้ำ เมื่ออุณหภูมิในน้ำสูงขึ้น ความสามารถในการละลายของก๊าซออกซิเจนในน้ำจะลดลง ดังนั้นในแหล่งที่มีอุณหภูมิ สิ่งมีชีวิตมักจะตาย เพราะประสบปัญหากับการขาดแคลนออกซิเจน<br />\n     ◊  มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปพรรณสัณฐาน และทางสรีระของสิ่งมีชีวิต เช่น  <br />\n         –  การสร้างสปอร์ หรือเกราะ หรือมีระยะดักแด้ ซึ่งต้านทานอุณหภูมิได้ดี  <br />\n         –  หญ้า จะมีเง่า ในกรณีที่อุณหภูมิไม่เหมาะสม จะทิ้งส่วนอื่นๆหมด เหลือแต่เง่า และ รากที่สามารถเจริญได้ถ้าอุณหภูมิเหมาะสม<br />\n         –  สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในเขตหนาว จะมีรยางค์สั้นกว่าในเขตร้อน เช่น หาง หู และ ขา<br />\n         –  นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ในเขตหนาวจะมีขนาดใหญ่กว่าในเขตร้อน<br />\n     ◊  มีผลต่อการฟักตัว (dormancy) หรือจำศีล เพื่อหลีกเลี่ยงต่ออากาศหนาว<br />\n     ◊  มีผลต่ออัตราเมตาโบลิซึมของร่างกาย (Metabolism) ถ้าอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น อัตราโบลิซึม ก็จะเพิ่มขึ้น<br />\n     ◊  มีผลต่อการอพยพของสัตว์ เช่น<br />\n         –  การอพยพของนกนางแอ่นบ้าน จากจีนมาหากินในไทย<br />\n         –  การอพยพของนกปากห่าง จากอินเดียมาผสมพันธุ์ในไทย<br />\n         –  การอพยพของหมีและกวาง จากภูเขาสูงไปหุบเขา<br />\n         –  การเคลื่อนที่หนีความร้อนของสัตว์ในทะเลทราย<br />\n     ◊  อุณหภูมิมีอิทธิพลต่อการแพร่กระจายของพืชและสัตว์ พืชและสัตว์แต่ละชนิด มีความอดทนต่ออุณหภูมิได้ไม่เท่ากัน จึงทำให้ไม่สามารถแพร่กระจายไปที่ต่างๆของโลกได้มาก เช่น ดอกทิวลิป จะไม่ออกดอกถ้าไม่ได้รับอุณหภูมิต่ำในช่วงฤดูหนาว\n</p>\n<p>\n                          <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u11044/morning_pudtan.jpg\" height=\"225\" style=\"width: 151px; height: 122px\" />                                     <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u11044/afternoon_pudtan.jpg\" height=\"225\" style=\"width: 154px; height: 123px\" /><br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">             ดอกพุดตาล มีสีชมพูอ่อนในช่วงเช้า (อุณหภูมิอากาศต่ำ)        ดอกพุดตาล มีสีชมพูเข้มในช่วงบ่าย (อุณหภูมิอากาศสูง)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">3.  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซออกซิเจน</span> <br />\n     ◊  ก๊าซออกซิเจน มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ดังนี้ สิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดใช้ก๊าซออกซิเจนในการหายใจ<br />\n     ◊  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ดังนี้ <br />\n         –  พืชใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ยังส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืชด้วย<br />\n         –  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีผลต่อสัตว์ คือ ถ้าได้รับในปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากทำให้สัตว์มีกระดูกสันหลังรับออกซิเจนได้น้อยลง และเลือดจะมีสภาพความเป็นกรด-เบสไม่เหมาะสม อาจทำให้ตายได้<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">4. แร่ธาตุต่างๆ<br />\n</span>    ◊  เป็นตัวจำกัดชนิดและปริมาณของพืช เพราะพืชแต่ละชนิดต้องการแร่ธาตุไม่เหมือนกัน <br />\n    ◊  เป็นตัวจำกัดชนิดและปริมาณของสัตว์ สัตว์อาศัยพืชเป็นแหล่งหลบภัย เลี้ยงตัวอ่อน และแหล่งผสมพันธุ์<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">5. ความเค็ม</span> <br />\n    ◊  มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช พืชส่วนใหญ่จะไม่สามารถเจริญเติบโตได้ในดินเค็ม<br />\n    ◊  สิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มทนต่อความเค็มของดินและน้ำต่างกัน ถ้าดินเริ่มเค็มก็จะทำให้พืชกลุ่มเดิมนั้นตายได้<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">6. ความเป็นกรดเบส (pH)<br />\n</span>    ◊  มีผลต่อการควบคุมการหายใจและระบบการทำงานของเอนไซม์ภายในร่างกาย<br />\n    ◊  มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช พืชต่างชนิดกันเจริญเติบโตได้ดีในดินที่มีค่า pH ต่างกัน<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">7. ความชื้น<br />\n</span>    ◊  มีผลต่อการกระจายของสิ่งมีชีวิต เพราะสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดชอบความชื้นที่ต่างกัน<br />\n    ◊  มีผลต่อการสืบพันธุ์ของสัตว์ มีผลต่อการคายน้ำของพืช<br />\n    ◊  มีผลต่อการปรับตัวของรูปร่างของพืช เพื่อลดอัตราการสูญเสียน้ำ เช่นเปลี่ยนใบเป็นหนาม ลดขนาดใบลง<br />\n    ◊  การปรับตัวของสัตว์ เพื่อดำรงชีวิตในความชื้นต่ำ เช่น มีเกล็ดหุ้มตัว หากินตอนกลางคืน<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">8. กระแสน้ำและกระแสลม</span><br />\n    ◊  มีผลต่อการกระจายพันธุ์และการผสมพันธุ์ของพืชไปได้ในบริเวณกว้าง<br />\n    ◊  มีผลต่อรูปพรรณสัณฐานและทางสรีระของสิ่งมีชีวิต<br />\n    ◊  มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช พืชที่อยู่ในบริเวณลมแรงจะมีการเจริญเติบโตมากกว่าบริเวณลมสงบ<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">9. ดิน</span><br />\n    ◊  มีผลต่อการเจริญเติบโต ชนิด และปริมาณของพืช\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong>2. กลุ่มสิ่งมีชีวิต (Community)</strong></span> สิ่งมีชีวิตหลายชนิดมาอยู่รวมกันในบริเวณเดียวกัน  แบ่งได้ 3 พวก คือ ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ <br />\n    ย่อยสลาย<br />\n    <span style=\"color: #ff00ff\">2.1  ผู้ผลิต (Producer หรือ Autotroph)</span> คือสิ่งมีชีวิตที่สามารถสังเคราะห์อาหารได้โดยการเปลี่ยนอนินทรียสารให้เป็นอินทรียสาร \n</p>\n<p align=\"left\">\n           ◊  ส่วนใหญ่มีการสังเคราะห์แสงเพราะมีคลอโรฟิล ได้แก่ พืชสีเขียว แพลงค์ตอนพืช (phytoplankton) แต่บางพวกมีการสังเคราะห์เคมี (Chemosynthesis) โดยไม่ต้องใช้คลอโรฟิล เช่น แบคทีเรียบางพวก<br />\n           ◊  ผู้ผลิตบางพวกสามารถกินสัตว์ได้เพราะต้องการนำธาตุไนโตรเจนไปสร้างเนื้อเยื่อ พืชพวกนี้ได้แก่ ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง กาบหอยแครง สาหร่ายข้างเหนียว ส่วนใหญ่ถือว่าทำหน้าที่เป็นผู้ผลิต<br />\n    <span style=\"color: #ff00ff\">2.2  ผู้บริโภค (Consumer)</span> หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ จำเป็นต้องบริโภค ผู้ผลิต หรือ ผู้บริโภค ด้วยกันเองเป็นอาหาร แบ่งเป็นกลุ่มย่อย ได้ดังนี้<br />\n           <strong>◊  ผู้บริโภคที่กินพืชเป็นอาหาร (Herbivore)</strong> เป็นสัตว์ที่กินพืช จึงเป็นผู้บริโภคอันดับแรกที่ได้รับการถ่ายทอดพลังงานจากพืชโดยตรง เช่น ม้า วัว แพะ แกะ ควาย สิ่งมีชีวิตพวกนี้จะมีไส้ติ่งยาวเพื่อช่วยในการย่อย เซลลูโลส<br />\n           <strong>◊  ผู้บริโภคที่กินสัตว์เป็นอาหาร (Carnivore)</strong> เป็นสัตว์ที่กินสัตว์ ไม่กินพืช ได้รับการถ่ายทอดพลังงานจากพืช โดยต้องกินสัตว์กินพืชอีกต่อหนึ่ง เช่น สิงโต เสือ ปลาฉลาม เหยี่ยว สิ่งมีชีวิตพวกนี้จะมีไส้ติ่งสั้น และไม่ทำหน้าที่ใดๆ <br />\n           <strong>◊  ผู้บริโภคที่กินทั้งพืชและสัตว์ (Omnivore)</strong> เป็นสัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร ได้รับการถ่ายทอดพลังงานจากพืช หรือสัตว์กินพืช เช่น นก เป็ด ไก่ คน<br />\n           <strong>◊  ผู้บริโภคที่กินซากพืชซากสัตว์ (Detritivore or Scarvenger)</strong> ได้แก่สัตว์ที่กินซากพืชหรือซากสัตว์ที่ตายแล้วเป็นอาหาร เช่น ไส้เดือนดิน กิ้งกือ ปลวก\n</p>\n<p align=\"left\">\n                          <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u11044/kingkau.jpg\" height=\"225\" style=\"width: 208px; height: 138px\" />  กิ้งกือ              <img border=\"0\" width=\"225\" src=\"/files/u11044/jomplaug.jpg\" height=\"300\" style=\"width: 114px; height: 138px\" />  ปลวก\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n    <span style=\"color: #ff00ff\">2.3  ผู้ย่อยสลาย (Decomposers or Saprotrops)</span> คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ได้แก่ รา (Fungi) กับ แบคทีเรีย (Bacteria)<br />\n           ◊  ดำรงชีวิตโดยการปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยอินทรีย์สารที่อยู่ในซากพืชซากสัตว์ให้เป็นอนินทรีย์สาร แล้วดูดซึมส่วนที่เป็นอนินทรีย์สารเข้าไปใช้เป็นอาหาร บางส่วนจะเหลือไว้ให้ผู้ผลิตนำไปใช้<br />\n           ◊  ผู้ย่อยสลาย จึงเป็นผู้ที่แปรสภาพสารอาหารจากสารประกอบอินทรีย์ให้เป็นสารอนินทรีย์ เพื่อให้ผู้ผลิตสามารถนำไปใช้ในการสังเคราะห์สารอาหารได้ เป็นส่วนสำคัญทำให้สารอาหารหมุนเวียนเป็นวัฏจักร สิ่งมีชีวิตชนิดนี้จึงไม่มีระบบย่อยอาหาร\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                      <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u11044/fungi.jpg\" height=\"225\" style=\"width: 232px; height: 176px\" /> \n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #000000; background-color: #ffff00\">ประเภทของระบบนิเวศ</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>ระบบนิเวศแบบต่างๆ<br />\n</strong>ระบบนิเวศ แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 แบบ คือ ระบบนิเวศบนบกและระบบนิเวศในน้ำ<br />\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffffff\"> </span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffffff\">1. ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffffff\">                           <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u11044/PIC_3663.jpg\" height=\"225\" style=\"width: 206px; height: 120px\" />              <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u11044/PIC_4252.jpg\" height=\"225\" style=\"width: 167px; height: 120px\" /></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span><strong>                                                                  </strong>ภาพโดย ... จันทิมา  สุขพัฒน์<br />\n</span><span style=\"color: #008000\"><strong>1.1 ความสำคัญ<br />\n</strong></span>      -   เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์น้ำ และพืชน้ำ<br />\n      -   เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของมนุษย์และสัตว์ต่างๆ<br />\n      -   เป็นแหล่งที่ให้น้ำในการอุปโภค บริโภค และทำการเกษตร\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\"><strong>1.2  ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำจืด</strong><br />\n</span>       -   พืช เช่น จอก สาหร่าย แหน <br />\n       -   สัตว์ เช่น หอย ปลาต่างๆ กุ้ง<br />\n<strong><span style=\"color: #008000\">1.3  ปัจจัยที่มีผลต่อการดำรงชีพ<br />\n</span></strong>       -   ปัจจัยต่างๆ ตามธรรมชาติ ได้แก่ แสง อุณหภูมิ ปริมาณก๊าซออกซิเจน ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ปริมาณแร่ธาตุ ความขุ่นใสของน้ำ<br />\n       -   ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ชนิด และปริมาณของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด<br />\n       -   ปัจจัยที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ได้แก่ การใช้ยาฆ่าแมลง ซึ่งเมื่อชะล้างลงสู่แหล่งน้ำ จะไปทำลายสิ่งมีชีวิตในน้ำบางชนิด ทำให้มีผลกระทบต่อการถ่ายทอดพลังงานและสมดุลทางธรรมชาติในแหล่งน้ำ<br />\n<strong><span style=\"color: #008000\">1.4  สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ<br />\n</span></strong>       -   ผู้ผลิต ได้แก่ พืชต่างๆ ซึ่งในแหล่งน้ำมีทั้งที่เป็นพวกแพลงก์ตอน (Plankton) สาหร่ายต่างๆ เฟิร์น และพืชดอก<br />\n       -   ผู้บริโภค ได้แก่ พวกแพลงก์ตอนสัตว์ แมลงต่างๆ และสัตว์พวกกินซากอินทรีย์<br />\n       -   ผู้ย่อยสลาย มีทั้งพวกแบคทีเรีย เห็ด รา<br />\n<strong><span style=\"color: #008000\">1.5  ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด มี 2 ระบบ คือ</span><br />\n</strong>       <span style=\"color: #ff00ff\">ก. ชุมชนในแหล่งน้ำนิ่ง<br />\n</span>            -   ผู้ผลิต คือ พืชที่มีรากยึดอยู่ในพื้นดินใต้ท้องน้ำ เช่น พวก กก บัว กระจูด นอกจากนี้ ยังมีแพลงก์ตอนพืชและพืชลอยน้ำต่างๆ เช่น สาหร่าย ไดอะตอม แหน จอก เป็นต้น<br />\n            -   ผู้บริโภค คือ สิ่งมีชีวิตที่เกาะอยู่ตามท้องน้ำ แพลงก์ตอน และสิ่งมีชีวิตที่เกาะอยู่ตามต้นไม้ หรือใบไม้ของพืชน้ำ เช่น หอยโข่ง หอยขม ไฮดรา พลานาเรีย<br />\n      <span style=\"color: #ff00ff\"> ข. ชุมชนในแหล่งน้ำไหล<br />\n</span>            -   <span style=\"color: #ff6600\">เขตน้ำไหลเชี่ยว (Rapid Zone)</span> เป็นบริเวณที่กระแสน้ำไหลปรง ก้นลำธารสะอาด ไม่มีการสะสมของตะกอนใต้น้ำ เหมาะกับการดำรงของสิ่งมีชีวิตพวกที่สามารถเกาะติดกับวัตถุใต้น้ำได้ หรือคืบคลานไปมาได้สะดวก หรือ พวกที่สามารถว่ายน้ำที่สู้ความแรงของกระแสน้ำได้ จะไม่พบแพลงก์ตอน<br />\n            -   <span style=\"color: #ff6600\">เขตน้ำไหลเอื่อย (Pool Zone)</span> เป็นบริเวณที่มีความลึกและความเร็วของกระแสน้ำลดลง มีการตกตะกอนของอนุภาคใต้น้ำ การทับถมของตะกอนมาก เหมาะกับพวกที่ขุดรูอยู่และพวกที่ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระ รวมทั้งแพลงก์ตอนด้วย<br />\n<strong><span style=\"color: #008000\">1.6  การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในชุมชนแหล่งน้ำไหลแรง</span><br />\n</strong>       -   สามารถเกาะติดแน่นกับพื้นที่ผิวอาศัยอยู่<br />\n       -   มีโครงสร้างสำหรับเกาะหรือดูดติดกับพื้นผิวอย่างมั่นคง<br />\n       -   สามารถสกัดเมือกเหนียวใช้ยึดเกาะ เช่นหอย<br />\n       -   มีรูปร่างเพรียว เพื่อลดความต้านทานของกระแสน้ำ<br />\n       -   มีรูปร่างแบนราบไปกับพื้นที่ผิวที่เกาะ<br />\n       -   ชอบว่ายทวนน้ำอยู่เสมอ<br />\n       -   เกาะติดกับพื้นผิวหรือซุกซ่อนตัวตามวัตถุใต้น้ำ\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">2. ระบบนิเวศในทะเล</span></strong><br />\n<span style=\"color: #008000\"><strong>2.1 ความสำคัญ<br />\n</strong></span>      -   เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุด\n</p>\n<p align=\"left\">\n          <img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u11044/PIC_0200.jpg\" height=\"188\" style=\"width: 194px; height: 100px\" />         <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u11044/PIC_2969.jpg\" height=\"225\" style=\"width: 182px; height: 102px\" />  ภาพโดย จันทิมา  สุขพัฒน์\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\"><strong>2.2  สภาพแวดล้อมของทะเล มีผลทำให้สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของทะเล</strong></span> ดังนี้<br />\n       -   ทะเลและมหาสมุทรมีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลและติดต่อกันตลอด ทำให้สิ่งมีชีวิตในแต่ละแห่งไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิ ระดับความเค็ม และระดับความลึก<br />\n       -   กระแสน้ำในมหาสมุทรมีการหมุนเวียนเชื่อมต่อกัน กระแสน้ำที่เคลื่อนที่จากส่วนลึกจะพาเอาแร่ธาตุที่อยู่ก้นทะเลขึ้นมาสู่ผิวน้ำ ทำให้แพลงก์ตอนพืชได้รับอาหารอุดมสมบูรณ์<br />\n       -   ทะเลมีคลื่นและน้ำขึ้นน้ำลง คลื่นและน้ำขึ้นน้ำลง ทำให้มีผลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบริเวณชายฝั่ง<br />\n       -   น้ำทะเลมีความเค็ม ความเค็มนี้เกิดจากเกลือแร่ที่ละลายอยู่จะแตกตัวในรูปของไอออน (Ion) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นไอออนของโซเดียม (Na+) และไอออนของคลอรีน (Cl-) สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ในทะเลมีการปรับตัวโดยมีความเข้มข้นของเกลือแร่ภายในร่างกายพอๆกับน้ำทะเล ส่วนพวกที่มีความเข้มข้นของเกลือแร่ภายในร่างกายต่ำกว่าภายนอกจะมีการปรับตัวโดยการเพิ่มประสิทธิภาพในการขับเกลือออกให้ได้มาก<br />\n       -   ทะเลมีธาตุอาหารต่างกัน จึงเป็นตัวกำหนดจำนวนประชากรในท้องทะเล<br />\n<span style=\"color: #008000\"><strong>2.3  สิ่งมีชีวิตในทะเล<br />\n</strong></span>       -   แพลงก์ตอน มีทั้งแพลงก์ตอนพืชและสัตว์ เช่น ไดอะตอม กุ้งเคย ตัวอ่อนของเพรียงหิน และยังมีพวกสาหร่าย เช่น สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน<br />\n       -   สิ่งมีชีวิตที่ว่ายน้ำเป็นอิสระ เช่น พวกปลาต่างๆ เต่า หมึก ปลาวาฬ ปลาโลมา<br />\n       -   สิ่งมีชีวิตหน้าดิน พบอยู่ทั่วไป เช่น ฟองน้ำ ปะการัง เพรียงหิน หอยนางรม ดอกไม้ทะเล ปลิงทะเล ดาวทะเล หอยแครง พลับพลึงทะเล<br />\n<strong><span style=\"color: #008000\">2.4  ระบบนิเวศในทะเลมี 3 ชุมนุม</span></strong><br />\n       <span style=\"color: #ff00ff\">-   ชุมชนหาดทราย</span> เป็นบริเวณที่ไม่เหมาะกับการอาศัยของสิ่งมีชีวิตในทะเลทั่วไป เพราะมีสภาพแวดล้อมที่รุนแรง สิ่งมีชีวิตจึงมีการปรับตัวดังนี้<br />\n              -  มีผิวเรียบ ลำตัวแบนราบกับพื้นทราย เพื่อสะดวกแก่การแทรกตัวหนีลงทราย เช่น หอยต่างๆ เหรียญทะเล<br />\n              -  ลดขนาดของส่วนต่างๆ ลง <br />\n              -  ลดขนาดของร่างกายลง เพื่อต้านทานกับทรายที่ถูกคลื่นซัดเป็นประจำ เช่น ปู <br />\n              -  ทนความแห้งแล้งได้ดี<br />\n              -  เคลื่อนไหวได้อย่างรวดเร็ว เพื่อสามารถหลบหลีกศัตรูได้อย่างรวดเร็ว<br />\n              -  ชอบฝังตัวหรือขุดรูอยู่ในทราย\n</p>\n<p align=\"left\">\n   <img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u11044/hoymen.jpg\" height=\"186\" style=\"width: 157px; height: 94px\" />  หอยเม่น       <img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u11044/raientalay.jpg\" height=\"191\" style=\"width: 147px; height: 94px\" />  เหรียญทะเล        <img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u11044/hardcy2.jpg\" height=\"188\" style=\"width: 133px; height: 95px\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                            <span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\">ภาพโดย... จันทิมา   สุขพัฒน์</span><br />\n</span>       -   <span style=\"color: #ff00ff\">ชุมชนหาดหิน</span> เป็นบริเวณที่ประกอบไปด้วยหินเป็นส่วนใหญ่ สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวดังนี้<br />\n              -  มีความคงทน และทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ โดยจะมีสารเคลือบพวกเจลลาตินรักษาความชื้นและ<br />\n                  ป้องกันการระเหยของน้ำ<br />\n              -  สามารถดูดซึมน้ำเอาไว้ใช้เวลาน้ำลงได้ เช่น พวกไลเคน<br />\n              -  มีสารหุ้มตัวเพื่อช่วยในการแลกเปลี่ยนก๊าซได้ดี<br />\n       -   <span style=\"color: #ff00ff\">ชุมชนแนวปะการัง</span> ประกอบด้วยปะการังหลายชนิด มีรูปร่างต่างๆ กัน ประกอบด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต (CO3) ซึ่งการสร้างปะการังจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิและแสงสว่าง บริเวณที่มีแสงมากจะมีปะการังมาก เพราะปะการังส่วนใหญ่เจริญได้ดีเมื่ออยู่รวมกับสาหร่าย ปะการังสืบพันธุ์ได้โดยการแตกหน่อเชื่อมติดกัน\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">3. ระบบนิเวศป่าชายเลน<br />\n</span><span style=\"color: #008000\">3.1  ความสำคัญ</span><br />\n</strong>       -   เป็นแหล่งอาศัยและขยายพันธุ์สัตว์น้ำ เป็นตัวกลางทำให้เกิดความสมดุลระหว่างทะเลกับบก<br />\n       -   เป็นแหล่งพันธุ์ไม้ต่างๆ ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจหลายอย่าง<br />\n       -   เป็นแหล่งอาหารที่อุดมสมบูรณ์<br />\n       -   เป็นฉากกำบังลม ป้องกันการชะล้างที่รุนแรงที่เกิดจากลมมรสุมและเป็นเสมือนกำแพงป้องกันการพังทลายของดิน<br />\n       -   รากของพันธุ์ไม้ช่วยกรองสิ่งปฏิกูลต่างๆ ในน้ำ <br />\n<span style=\"color: #008000\"><strong>3.2  ลักษณะของป่าชายเลน<br />\n</strong></span>        ป่าชายเลน เกิดจากการทับถมของตะกอนบริเวณปากแม่น้ำ ประกอบไปด้วยทราย โคลน และดิน บริเวณที่ติดกับปากแม่น้ำเป็นดินเหนียว ถัดไปเป็นดินร่วนและบริเวณที่ลึกเข้าไปจะมีทรายมากขึ้น นอกจากนี้ บริเวณต่างๆ ของป่าชายเลนยังแตกต่างในด้านของความเป็นกรด-เบส ความเค็ม รวมทั้ง ความสมบูรณ์ของดิน ซึ่งวัดได้จากปริมาณของไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โปแตสเซียม (K)\n</p>\n<p align=\"left\">\n  <img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u11044/PIC_2639.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 198px; height: 146px\" />   รากหายใจของแสม    <img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u11044/PIC_2621.jpg\" height=\"146\" />   ปูก้ามดาบและปูแสม\n</p>\n<p>\n                                                   <span style=\"color: #ff6600\">ภาพโดย... จันทิมา   สุขพัฒน์</span><br />\n<span style=\"color: #008000\"><strong>3.3  ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในป่าชายเลน<br />\n</strong></span>       -   พืชจะมีรากค้ำจุน เพื่อช่วยพยุงลำต้นไม่ให้ล้ม เมื่ออยู่ในดินเลน<br />\n       -   เมล็ดพืชจะงอกตั้งแต่อยู่บนต้นแม่<br />\n       -   มีโครงสร้างของใบที่ทำให้สามารถเก็บสะสมน้ำได้มาก และมีโครงสร้างที่ป้องกันการสูญเสียน้ำโดยการคายน้ำ<br />\n<span style=\"color: #008000\"><strong>3.4  สิ่งมีชีวิตที่อาศัยตามชายฝั่งป่าชายเลน<br />\n</strong></span>       -   พืช ได้แก่ โกงกาง แสมดำ โปรงขาว โปรงหนู รังกะแท้ ชะคราม ตะบูน ตีนเป็ดทะเล ตาตุ่มทะเล ปรงทะเล เทียนทะเล ชลู ลำพู ลำแพน ถั่วขาว ผักเบี้ยทะเล<br />\n       -   สัตว์ที่อยู่ตามรากพืช เช่น ปู หอยต่างๆ<br />\n       -   สัตว์ที่อยู่ตามหน้าดินตามชายเลน ได้แก่ ปลาตีน ปูเสฉวน ปูแสม ทากทะเล หอยขี้นก กุ้งดีดขัน ปูก้ามดาบ<br />\n       -   สัตว์ในดิน ได้แก่ ไส้เดือนทะเล หอยฝาเดียว\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>4. ระบบนิเวศป่าไม้<br />\n</strong></span><span style=\"color: #008000\"><strong>4.1  ความสำคัญ<br />\n</strong></span>       -   แหล่งรวมพันธุ์ไม้และสัตว์ป่าต่างๆ ช่วยกำบังลมพายุ<br />\n       -   แหล่งต้นน้ำลำธาร ทำให้ฝนตกตามฤดูกาล<br />\n       -   ช่วยควบคุมอุณหภูมิบนโลก ช่วยรักษาความชุ่มชื้นของผิวดิน และอากาศ<br />\n       -   ผลิตก๊าซออกซิเจน (O2) และใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แหล่งสะสมปุ๋ยธรรมชาติ<br />\n       -   ลดความรุนแรงของน้ำป่าและการพังทลายของหน้าดินที่เกิดจากกระแสน้ำไหลบ่า<br />\n<span style=\"color: #008000\"><strong>4.2  ลักษณะของป่าไม้และสังคมสิ่งมีชีวิตในป่าของประเทศไทย</strong></span> เช่น<br />\n       -   <span style=\"color: #ff00ff\">ป่าพรุ (Freshwater swamp forest)</span> พบตามที่ลุ่มในภาคใต้ เป็นป่าที่มีน้ำจืดขังอยู่ตลอดปี และน้ำมีความเป็นกรดสูง ลักษณะของป่าแน่นทึบ พันธุ์ไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้ขนาดเล็ก เช่น หวาย หมากแดง เป็นต้น<br />\n       -   <span style=\"color: #ff00ff\">ป่าสนเขา (Coniferous Forest Biomes)</span> เป็นป่าเขียวตลอดปี ประกอบด้วยพืชพรรณพวกที่มีใบเรียวเล็ก เรียวยาว ขึ้นอย่างหนาแน่น มียอดปกคลุมทึบตลอดปี ไม่มีการผลัดใบ แสงผ่านลงมาถึงพื้นดินน้อย ดินเป็นกรด ขาดธาตุอาหาร สิ่งมีชีวิตที่พบ เช่น แมวป่า หมาป่า หมี เม่น กระรอก และนก<br />\n       -   <span style=\"color: #ff00ff\">ป่าดิบชื้น (Tropical Rain Forest Biomes)</span> เป็นป่าที่มีฝนตกตลอดปี พืชเป็นพวกใบกว้างไม่ผลัดใบ ปกคลุมหนาแน่น มีอุณหภูมิและความชื้นพอเหมาะต่อการเจริญเติบโตของพืช ประกอบด้วยไม้ยืนต้นนานาชนิด พื้นดินมีต้นไม้ขึ้นกระจัดกระจาย เพราะได้รับแสงไม่เพียงพอ พันธุ์ไม้ที่พบ ได้แก่ ไม้ยาง ไม้ตะเคียน บริเวณพื้นดินเป็นพวกเฟิร์น หวาย ไม้ไผ่และเถาวัลย์\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"background-color: #ffff00\">ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #000000\">ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ</span></strong>  แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ <br />\n<span style=\"color: #0000ff\">1.  ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต</span>(ปัจจัยทางกายภาพ) สิ่งมีชีวิตจะดำรงอยู่ได้ต้องมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทาง <br />\n     กายภาพ เช่น อุณหภูมิ  แสง  อากาศ ความเป็นกรดเป็นเบส เสียง ดิน  น้ำ ฯลฯ <br />\n<span style=\"color: #0000ff\">2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต</span> สามารถแบ่งได้ความสัมพันธ์ได้ 5 ลักษณะ คือ<br />\n        <span style=\"color: #ff00ff\">ความสัมพันธ์ที่ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ (+ / +)<br />\n       <span style=\"color: #000000\"></span> ความสัมพันธ์ที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์อีกฝ่ายไม่ได้ไม่เสียประโยชน์ (+ / 0)<br />\n       <span style=\"color: #000000\"></span> ความสัมพันธ์ที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์อีกฝ่ายเสียประโยชน์ (+ / -)<br />\n       <span style=\"color: #000000\"></span> ความสัมพันธ์ที่ฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ (- / 0)<br />\n       <span style=\"color: #000000\"></span> ความสัมพันธ์ที่ต่างฝ่ายต่างเสียประโยชน์ (- / -)<br />\n</span><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">ต่างฝ่ายต่างให้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน</span></strong></span> แบ่งได้ 2 พวก ดังนี้ <br />\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">ภาวะพึ่งพา (Mutualism)</span></strong></span> เป็นความสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิต 2 ชนิดจำเป็นต้องอาศัยอยู่ร่วมกัน ถ้าแยกจากกันจะไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ เช่น<br />\n        แหนแดงกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน แหนแดงให้ที่อยู่อาศัย ส่วนสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินจับก๊าซไนโตรเจน (N2) ในอากาศมาเปลี่ยนเป็นปุ๋ยไนเตรตได้<br />\n        แบคทีเรียไรโซเบียมในปมรากพืชตระกูลถั่ว แบคทีเรียไรโซเบียมจับก๊าซไนโตรเจนในอากาศมาเปลี่ยนเป็นปุ๋ยไนเตรตที่ต้นถั่วนำไปใช้ได้ ส่วนต้นถั่วให้ที่อยู่อาศัยแก่แบคทีเรีย<br />\n        ปลวกกับโปรโตซัวในลำไส้ของปลวก ปลวกกินไม้หรือกระดาษที่มีเซลลูโลสเข้าไป ส่วนโปรโตซัวที่อยู่ในลำไส้จะย่อยเซลลูโลส เพื่อใช้เป็นอาหารร่วมกัน<br />\n        รากับสาหร่าย (ไลเคน) สาหร่ายสร้างอาหารได้เองจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงโดยอาศัยความชื้นจากรา ส่วนราได้รับอาหารที่สังเคราะห์ขึ้นจากสาหร่าย\n</p>\n<p align=\"left\">\n                      <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u11044/liken.jpg\" height=\"225\" style=\"width: 167px; height: 100px\" />                            <img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u11044/liken2.jpg\" height=\"195\" style=\"width: 179px; height: 99px\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n                   <strong>  <span style=\"color: #ff00ff\">ไลเคน</span></strong> พบในบริเวณที่อากาศชื้นและสภาพอากาศดี ไม่มีมลพิษ  จึงถือเป็นดัชนีชี้วัดมลภาวะทางอากาศ \n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation)</span></strong></span>  เป็นความสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อยู่ร่วมกัน แต่ไม่จำเป็นต้องอยู่ร่วมกันตลอด ถ้าแยกจากกันก็สามารถดำรงชีพอยู่ได้ เช่น <br />\n        เพลี้ยกับมดดำ มดดำจะพาเพลี้ยไปไว้ตามต้นไม้ เพื่อให้ดูดน้ำเลี้ยงจากต้นไม้นั้น แล้วมดดำก็จะดูดน้ำเลี้ยงต่อจากเพลี้ยอีกทอดหนึ่ง<br />\n        ดอกไม้กับแมลง แมลงได้น้ำหวานจากดอกไม้ ส่วนดอกไม้ได้รับการผสมเกสรเพื่อการสืบพันธุ์<br />\n        ปูเสฉวนกับซีแอนีโมนี (Sea Anemone) ปูเสฉวนอาศัยซีแอนีโมนีที่เกาะบริเวณเปลือกช่วยในการพรางตัวจากศัตรูและป้องกันศัตรูด้วย เนื่องจากซีแอนีโมนีมีเข็มพิษ ส่วนซีแอนีโมนีได้อาหารที่ลอยมาขณะที่ปูเสฉวนกินอาหาร<br />\n        นกเอี้ยงกับควาย นกเอี้ยงได้แมลงบนหลังควายเป็นอาหาร ส่วนควายไม่ถูกรบกวนจากแมลง\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                     <img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u11044/Flower_mod.jpg\" height=\"390\" style=\"width: 95px; height: 103px\" />        <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u11044/006.jpg\" height=\"225\" style=\"width: 141px; height: 103px\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\">ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์</span><br />\n</span><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff00ff\">ภาวะอิงอาศัย (Commensalism)</span></span></strong> เป็นความสัมพันธ์ที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ ตัวอย่างเช่น<br />\n        กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่ กล้วยไม้ได้อาศัยต้นไม้ใหญ่เป็นที่อยู่ แต่ไม่ได้หยั่งรากลึกลงไปในลำต้นเพื่อแย่งอาหาร จึงทำให้ต้นไม้ใหญ่ไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                               <img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u11044/PIC_2583.jpg\" height=\"188\" style=\"width: 178px; height: 115px\" /><br />\n      \n</p>\n<p align=\"left\">\n        ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามได้กินเศษอาหารที่เหลือของปลาฉลาม โดยไม่ทำอันตรายต่อปลาฉลาม ปลาฉลามจึงไม่ได้ประโยชน์และไม่เสียประโยชน์ด้วย<br />\n        แมงดาทะเลกับหนอนตัวแบน หนอนตัวแบนได้กินเศษอาหารของแมงดาทะเล เนื่องจากอาศัยอยู่ตามเหลือกของแมงดาทะเล ส่วนแมงดาทะเลก็ไม่ได้ประโยชน์และไม่เสียประโยชน์<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">ฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ (Amensalism)</span></strong></span> แบ่งได้ 2 พวก ดังนี้ <br />\n        แบคทีเรียกับราเพนิซิลเลียม สารที่ราสร้างขึ้นมีผลยับยั้งการเจริญเติบโตหรือทำลายแบคทีเรียได้ แต่แบคทีเรียก็ไม่ ทำให้ราไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ <br />\n        ต้นไม้ใหญ่กับต้นไม้เล็ก ต้นไม้เล็กมีการเจริญเติบโตไม่เต็มที่เพราะถูกต้นไม้ใหญ่แย่งน้ำ อาหาร แสง และอากาศ แต่ต้นไม้เล็กไม่ทำให้ต้นไม้ใหญ่เสียประโยชน์หรือได้ประโยชน์แต่อย่างใด<br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ แบ่งเป็น 2 พวก</span></strong> ดังนี้<br />\n</span><span style=\"color: #ff00ff\"><strong>ภาวะปรสิต (Parasitism)</strong></span> ฝ่ายที่ได้รับประโยชน์เรียกว่า ปรสิต (Parasite) ส่วนฝ่ายที่เสียประโยชน์เรียกว่า ผู้ถูกอาศัย (Host) ตัวอย่างเช่น<br />\n        กาฝากกับต้นไม้ กาฝากจะหยั่งรากลึกลงไปในลำต้นของต้นไม้ที่อาศัย เพื่อแย่งน้ำและแร่ธาตุ แต่สร้างอาหารได้เองจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ส่วนต้นไม้จะถูกเบียดเบียนจนกระทั่งตายในที่สุด<br />\n        ฝอยทองกับต้นไม้ ฝอยทองสร้างอาหารเองไม่ได้ จึงแย่งน้ำ อาหาร และแร่ธาตุจากต้นไม้ที่อาศัยอยู่ทั้งหมด<br />\n        พยาธิและเชื้อโรคต่างๆ กับสัตว์ จัดเป็นปรสิตที่อยู่ภายในร่างกาย<br />\n        หนอนผีเสื้อกับต้นไม้ หนอนผีเสื้อกินใบไม้เป็นอาหาร ทำให้ต้นไม้ถูกทำลาย\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                     <img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u11044/PIC_1530.jpg\" height=\"188\" style=\"width: 124px; height: 104px\" /><img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u11044/PIC_1535.jpg\" height=\"183\" style=\"width: 123px; height: 104px\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n                        จากภาพ  เพลี้ยดูดน้ำเลี้ยงจากพืช  ทำให้ดอกไม่สามารถเจริญเติบโตได้อย่างและตายในที่สุด\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\">การล่าเหยื่อ (Predation) </span></strong>ฝ่ายที่ได้รับประโยชน์เรียกว่า ผู้ล่า (Predator) ฝ่ายที่เสียประโยชน์เรียกว่า เหยื่อ (Prey) ตัวอย่างสัตว์ที่เป็นผู้ล่า เช่น สัตว์ที่กินสัตว์ด้วยกันเองเป็นอาหาร และรวมถึงสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหารด้วย<br />\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">ต่างฝ่ายต่างเสียประโยชน์ ซึ่งเรียกว่า การแก่งแย่ง (Competition)</span></strong> โดยมีการแก่งแย่งปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต ทำให้เสียประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่าย ตัวอย่างเช่น สัตว์แย่งชิงอาหารกันเอง พืชและสัตว์แย่งก๊าซออกซิเจนในเวลากลางคืน\n</p>\n', created = 1715117721, expire = 1715204121, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8750297bcba6ee9a30c678b7c861b630' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบนิเวศ

ระบบนิเวศ  (Ecosystem)

ความหมายของระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
  หมายถึง หน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่แหล่งใดแหล่งหนึ่ง มาจากรากศัพท์ในภาษากรีก 2 คำ คือ Oikos แปลว่า บ้าน, ที่อยู่อาศัย Logos แปลว่า เหตุผล, ความคิด 

          

ความหมายของคำต่างๆ ในระบบนิเวศ
สิ่งมีชีวิต (Organism) หมายถึง สิ่งที่ต้องใช้พลังงานในการดำรงชีวิต ซึ่งมีลักษณะที่สำคัญดังนี้
1. ต้องมีการเจริญเติบโต    2. เคลื่อนไหวได้ด้วยพลังงานที่เกิดขึ้นในร่างกาย
3. สืบพันธุ์ได้                  4. สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
5. ประกอบไปด้วยเซลล์     6. มีการหายใจ
7. มีการขับถ่ายของเสีย      8. ต้องกินอาหาร หรือแร่ธาตุต่างๆ
ประชากร (Population) หมายถึง สิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่เป็นชนิดเดียวกัน อาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่เดียวกัน ณ  ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
กลุ่มสิ่งมีชีวิต (Community) หมายถึง สิ่งมีชีวิตต่างๆ หลายชนิด มาอาศัยอยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง โดยสิ่งมีชีวิตนั้นๆ มีความสัมพันธ์กัน โดยตรงหรือโดยทางอ้อม
โลกของสิ่งมีชีวิต (Biosphere) หมายถึง ระบบนิเวศหลายๆ ระบบนิเวศมารวมกัน
แหล่งที่อยู่ (Habitat) หมายถึง บริเวณ หรือสถานที่ที่ใช้สำหรับผสมพันธุ์วางไข่ เป็นแหล่งที่อยู่ เช่น บ้าน สระน้ำ ต้นไม้
สิ่งแวดล้อม (Environment) หมายถึง   สิ่งที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ทำให้สิ่งมีชีวิตเจริญเติบโตหรือ ดำรงชีวิตได้ดี   หรือไม่ หรือสิ่งที่อยู่รอบๆ ตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต

องค์ประกอบของระบบนิเวศ
1. องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Substance) ได้แก่ สารชนิดต่างๆ ทั้งที่เป็นอินทรียสารและอนินทรียสารที่สิ่งมีชีวิตสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิต เช่น น้ำ ก๊าซออกซิเจน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ แร่ธาตุต่างๆ เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะแวดล้อมทางกายภาพกับสิ่งมีชีวิต
1.  แสง มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตดังนี้
     ◊  มีผลต่อการเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์ของพืช
     ◊  มีผลต่อการกระตุ้นให้พืชออกดอก
     ◊  มีผลต่อความสามารถในการสังเคราะห์แสง
     ◊  เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมการออกหากินของสัตว์ เช่น สัตว์บางชนิดออกหากินเวลากลางคืน
     ◊  มีผลต่อปริมาณและชนิดของสิ่งมีชีวิตใต้น้ำ เช่น บริเวณที่ลึกมากจะมีอยู่น้อย และสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ มักจะมีลวดลายเด่นชัดให้เป็นเครื่องหมายจำพวกเดียวกัน
2.  อุณหภูมิ มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตดังนี้
     ◊  มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณออกซิเจนในน้ำ เมื่ออุณหภูมิในน้ำสูงขึ้น ความสามารถในการละลายของก๊าซออกซิเจนในน้ำจะลดลง ดังนั้นในแหล่งที่มีอุณหภูมิ สิ่งมีชีวิตมักจะตาย เพราะประสบปัญหากับการขาดแคลนออกซิเจน
     ◊  มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปพรรณสัณฐาน และทางสรีระของสิ่งมีชีวิต เช่น  
         –  การสร้างสปอร์ หรือเกราะ หรือมีระยะดักแด้ ซึ่งต้านทานอุณหภูมิได้ดี  
         –  หญ้า จะมีเง่า ในกรณีที่อุณหภูมิไม่เหมาะสม จะทิ้งส่วนอื่นๆหมด เหลือแต่เง่า และ รากที่สามารถเจริญได้ถ้าอุณหภูมิเหมาะสม
         –  สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในเขตหนาว จะมีรยางค์สั้นกว่าในเขตร้อน เช่น หาง หู และ ขา
         –  นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ในเขตหนาวจะมีขนาดใหญ่กว่าในเขตร้อน
     ◊  มีผลต่อการฟักตัว (dormancy) หรือจำศีล เพื่อหลีกเลี่ยงต่ออากาศหนาว
     ◊  มีผลต่ออัตราเมตาโบลิซึมของร่างกาย (Metabolism) ถ้าอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น อัตราโบลิซึม ก็จะเพิ่มขึ้น
     ◊  มีผลต่อการอพยพของสัตว์ เช่น
         –  การอพยพของนกนางแอ่นบ้าน จากจีนมาหากินในไทย
         –  การอพยพของนกปากห่าง จากอินเดียมาผสมพันธุ์ในไทย
         –  การอพยพของหมีและกวาง จากภูเขาสูงไปหุบเขา
         –  การเคลื่อนที่หนีความร้อนของสัตว์ในทะเลทราย
     ◊  อุณหภูมิมีอิทธิพลต่อการแพร่กระจายของพืชและสัตว์ พืชและสัตว์แต่ละชนิด มีความอดทนต่ออุณหภูมิได้ไม่เท่ากัน จึงทำให้ไม่สามารถแพร่กระจายไปที่ต่างๆของโลกได้มาก เช่น ดอกทิวลิป จะไม่ออกดอกถ้าไม่ได้รับอุณหภูมิต่ำในช่วงฤดูหนาว

                                                               
             ดอกพุดตาล มีสีชมพูอ่อนในช่วงเช้า (อุณหภูมิอากาศต่ำ)        ดอกพุดตาล มีสีชมพูเข้มในช่วงบ่าย (อุณหภูมิอากาศสูง)

3.  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซออกซิเจน 
     ◊  ก๊าซออกซิเจน มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ดังนี้ สิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดใช้ก๊าซออกซิเจนในการหายใจ
     ◊  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ดังนี้ 
         –  พืชใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ยังส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืชด้วย
         –  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีผลต่อสัตว์ คือ ถ้าได้รับในปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากทำให้สัตว์มีกระดูกสันหลังรับออกซิเจนได้น้อยลง และเลือดจะมีสภาพความเป็นกรด-เบสไม่เหมาะสม อาจทำให้ตายได้
4. แร่ธาตุต่างๆ
    ◊  เป็นตัวจำกัดชนิดและปริมาณของพืช เพราะพืชแต่ละชนิดต้องการแร่ธาตุไม่เหมือนกัน 
    ◊  เป็นตัวจำกัดชนิดและปริมาณของสัตว์ สัตว์อาศัยพืชเป็นแหล่งหลบภัย เลี้ยงตัวอ่อน และแหล่งผสมพันธุ์
5. ความเค็ม 
    ◊  มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช พืชส่วนใหญ่จะไม่สามารถเจริญเติบโตได้ในดินเค็ม
    ◊  สิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มทนต่อความเค็มของดินและน้ำต่างกัน ถ้าดินเริ่มเค็มก็จะทำให้พืชกลุ่มเดิมนั้นตายได้
6. ความเป็นกรดเบส (pH)
    ◊  มีผลต่อการควบคุมการหายใจและระบบการทำงานของเอนไซม์ภายในร่างกาย
    ◊  มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช พืชต่างชนิดกันเจริญเติบโตได้ดีในดินที่มีค่า pH ต่างกัน
7. ความชื้น
    ◊  มีผลต่อการกระจายของสิ่งมีชีวิต เพราะสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดชอบความชื้นที่ต่างกัน
    ◊  มีผลต่อการสืบพันธุ์ของสัตว์ มีผลต่อการคายน้ำของพืช
    ◊  มีผลต่อการปรับตัวของรูปร่างของพืช เพื่อลดอัตราการสูญเสียน้ำ เช่นเปลี่ยนใบเป็นหนาม ลดขนาดใบลง
    ◊  การปรับตัวของสัตว์ เพื่อดำรงชีวิตในความชื้นต่ำ เช่น มีเกล็ดหุ้มตัว หากินตอนกลางคืน
8. กระแสน้ำและกระแสลม
    ◊  มีผลต่อการกระจายพันธุ์และการผสมพันธุ์ของพืชไปได้ในบริเวณกว้าง
    ◊  มีผลต่อรูปพรรณสัณฐานและทางสรีระของสิ่งมีชีวิต
    ◊  มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช พืชที่อยู่ในบริเวณลมแรงจะมีการเจริญเติบโตมากกว่าบริเวณลมสงบ
9. ดิน
    ◊  มีผลต่อการเจริญเติบโต ชนิด และปริมาณของพืช


2. กลุ่มสิ่งมีชีวิต (Community) สิ่งมีชีวิตหลายชนิดมาอยู่รวมกันในบริเวณเดียวกัน  แบ่งได้ 3 พวก คือ ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ 
    ย่อยสลาย
    2.1  ผู้ผลิต (Producer หรือ Autotroph) คือสิ่งมีชีวิตที่สามารถสังเคราะห์อาหารได้โดยการเปลี่ยนอนินทรียสารให้เป็นอินทรียสาร 

           ◊  ส่วนใหญ่มีการสังเคราะห์แสงเพราะมีคลอโรฟิล ได้แก่ พืชสีเขียว แพลงค์ตอนพืช (phytoplankton) แต่บางพวกมีการสังเคราะห์เคมี (Chemosynthesis) โดยไม่ต้องใช้คลอโรฟิล เช่น แบคทีเรียบางพวก
           ◊  ผู้ผลิตบางพวกสามารถกินสัตว์ได้เพราะต้องการนำธาตุไนโตรเจนไปสร้างเนื้อเยื่อ พืชพวกนี้ได้แก่ ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง กาบหอยแครง สาหร่ายข้างเหนียว ส่วนใหญ่ถือว่าทำหน้าที่เป็นผู้ผลิต
    2.2  ผู้บริโภค (Consumer) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ จำเป็นต้องบริโภค ผู้ผลิต หรือ ผู้บริโภค ด้วยกันเองเป็นอาหาร แบ่งเป็นกลุ่มย่อย ได้ดังนี้
           ◊  ผู้บริโภคที่กินพืชเป็นอาหาร (Herbivore) เป็นสัตว์ที่กินพืช จึงเป็นผู้บริโภคอันดับแรกที่ได้รับการถ่ายทอดพลังงานจากพืชโดยตรง เช่น ม้า วัว แพะ แกะ ควาย สิ่งมีชีวิตพวกนี้จะมีไส้ติ่งยาวเพื่อช่วยในการย่อย เซลลูโลส
           ◊  ผู้บริโภคที่กินสัตว์เป็นอาหาร (Carnivore) เป็นสัตว์ที่กินสัตว์ ไม่กินพืช ได้รับการถ่ายทอดพลังงานจากพืช โดยต้องกินสัตว์กินพืชอีกต่อหนึ่ง เช่น สิงโต เสือ ปลาฉลาม เหยี่ยว สิ่งมีชีวิตพวกนี้จะมีไส้ติ่งสั้น และไม่ทำหน้าที่ใดๆ 
           ◊  ผู้บริโภคที่กินทั้งพืชและสัตว์ (Omnivore) เป็นสัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร ได้รับการถ่ายทอดพลังงานจากพืช หรือสัตว์กินพืช เช่น นก เป็ด ไก่ คน
           ◊  ผู้บริโภคที่กินซากพืชซากสัตว์ (Detritivore or Scarvenger) ได้แก่สัตว์ที่กินซากพืชหรือซากสัตว์ที่ตายแล้วเป็นอาหาร เช่น ไส้เดือนดิน กิ้งกือ ปลวก

                            กิ้งกือ                ปลวก


    2.3  ผู้ย่อยสลาย (Decomposers or Saprotrops) คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ได้แก่ รา (Fungi) กับ แบคทีเรีย (Bacteria)
           ◊  ดำรงชีวิตโดยการปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยอินทรีย์สารที่อยู่ในซากพืชซากสัตว์ให้เป็นอนินทรีย์สาร แล้วดูดซึมส่วนที่เป็นอนินทรีย์สารเข้าไปใช้เป็นอาหาร บางส่วนจะเหลือไว้ให้ผู้ผลิตนำไปใช้
           ◊  ผู้ย่อยสลาย จึงเป็นผู้ที่แปรสภาพสารอาหารจากสารประกอบอินทรีย์ให้เป็นสารอนินทรีย์ เพื่อให้ผู้ผลิตสามารถนำไปใช้ในการสังเคราะห์สารอาหารได้ เป็นส่วนสำคัญทำให้สารอาหารหมุนเวียนเป็นวัฏจักร สิ่งมีชีวิตชนิดนี้จึงไม่มีระบบย่อยอาหาร

                                                       

 

ประเภทของระบบนิเวศ

ระบบนิเวศแบบต่างๆ
ระบบนิเวศ แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 แบบ คือ ระบบนิเวศบนบกและระบบนิเวศในน้ำ
 

1. ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด

                                        

                                                                  ภาพโดย ... จันทิมา  สุขพัฒน์
1.1 ความสำคัญ
      -   เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์น้ำ และพืชน้ำ
      -   เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของมนุษย์และสัตว์ต่างๆ
      -   เป็นแหล่งที่ให้น้ำในการอุปโภค บริโภค และทำการเกษตร

1.2  ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำจืด
       -   พืช เช่น จอก สาหร่าย แหน 
       -   สัตว์ เช่น หอย ปลาต่างๆ กุ้ง
1.3  ปัจจัยที่มีผลต่อการดำรงชีพ
       -   ปัจจัยต่างๆ ตามธรรมชาติ ได้แก่ แสง อุณหภูมิ ปริมาณก๊าซออกซิเจน ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ปริมาณแร่ธาตุ ความขุ่นใสของน้ำ
       -   ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ชนิด และปริมาณของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
       -   ปัจจัยที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ได้แก่ การใช้ยาฆ่าแมลง ซึ่งเมื่อชะล้างลงสู่แหล่งน้ำ จะไปทำลายสิ่งมีชีวิตในน้ำบางชนิด ทำให้มีผลกระทบต่อการถ่ายทอดพลังงานและสมดุลทางธรรมชาติในแหล่งน้ำ
1.4  สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ
       -   ผู้ผลิต ได้แก่ พืชต่างๆ ซึ่งในแหล่งน้ำมีทั้งที่เป็นพวกแพลงก์ตอน (Plankton) สาหร่ายต่างๆ เฟิร์น และพืชดอก
       -   ผู้บริโภค ได้แก่ พวกแพลงก์ตอนสัตว์ แมลงต่างๆ และสัตว์พวกกินซากอินทรีย์
       -   ผู้ย่อยสลาย มีทั้งพวกแบคทีเรีย เห็ด รา
1.5  ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด มี 2 ระบบ คือ
       ก. ชุมชนในแหล่งน้ำนิ่ง
            -   ผู้ผลิต คือ พืชที่มีรากยึดอยู่ในพื้นดินใต้ท้องน้ำ เช่น พวก กก บัว กระจูด นอกจากนี้ ยังมีแพลงก์ตอนพืชและพืชลอยน้ำต่างๆ เช่น สาหร่าย ไดอะตอม แหน จอก เป็นต้น
            -   ผู้บริโภค คือ สิ่งมีชีวิตที่เกาะอยู่ตามท้องน้ำ แพลงก์ตอน และสิ่งมีชีวิตที่เกาะอยู่ตามต้นไม้ หรือใบไม้ของพืชน้ำ เช่น หอยโข่ง หอยขม ไฮดรา พลานาเรีย
       ข. ชุมชนในแหล่งน้ำไหล
            -   เขตน้ำไหลเชี่ยว (Rapid Zone) เป็นบริเวณที่กระแสน้ำไหลปรง ก้นลำธารสะอาด ไม่มีการสะสมของตะกอนใต้น้ำ เหมาะกับการดำรงของสิ่งมีชีวิตพวกที่สามารถเกาะติดกับวัตถุใต้น้ำได้ หรือคืบคลานไปมาได้สะดวก หรือ พวกที่สามารถว่ายน้ำที่สู้ความแรงของกระแสน้ำได้ จะไม่พบแพลงก์ตอน
            -   เขตน้ำไหลเอื่อย (Pool Zone) เป็นบริเวณที่มีความลึกและความเร็วของกระแสน้ำลดลง มีการตกตะกอนของอนุภาคใต้น้ำ การทับถมของตะกอนมาก เหมาะกับพวกที่ขุดรูอยู่และพวกที่ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระ รวมทั้งแพลงก์ตอนด้วย
1.6  การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในชุมชนแหล่งน้ำไหลแรง
       -   สามารถเกาะติดแน่นกับพื้นที่ผิวอาศัยอยู่
       -   มีโครงสร้างสำหรับเกาะหรือดูดติดกับพื้นผิวอย่างมั่นคง
       -   สามารถสกัดเมือกเหนียวใช้ยึดเกาะ เช่นหอย
       -   มีรูปร่างเพรียว เพื่อลดความต้านทานของกระแสน้ำ
       -   มีรูปร่างแบนราบไปกับพื้นที่ผิวที่เกาะ
       -   ชอบว่ายทวนน้ำอยู่เสมอ
       -   เกาะติดกับพื้นผิวหรือซุกซ่อนตัวตามวัตถุใต้น้ำ

2. ระบบนิเวศในทะเล
2.1 ความสำคัญ
      -   เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุด

                     ภาพโดย จันทิมา  สุขพัฒน์

2.2  สภาพแวดล้อมของทะเล มีผลทำให้สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของทะเล ดังนี้
       -   ทะเลและมหาสมุทรมีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลและติดต่อกันตลอด ทำให้สิ่งมีชีวิตในแต่ละแห่งไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิ ระดับความเค็ม และระดับความลึก
       -   กระแสน้ำในมหาสมุทรมีการหมุนเวียนเชื่อมต่อกัน กระแสน้ำที่เคลื่อนที่จากส่วนลึกจะพาเอาแร่ธาตุที่อยู่ก้นทะเลขึ้นมาสู่ผิวน้ำ ทำให้แพลงก์ตอนพืชได้รับอาหารอุดมสมบูรณ์
       -   ทะเลมีคลื่นและน้ำขึ้นน้ำลง คลื่นและน้ำขึ้นน้ำลง ทำให้มีผลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบริเวณชายฝั่ง
       -   น้ำทะเลมีความเค็ม ความเค็มนี้เกิดจากเกลือแร่ที่ละลายอยู่จะแตกตัวในรูปของไอออน (Ion) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นไอออนของโซเดียม (Na+) และไอออนของคลอรีน (Cl-) สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ในทะเลมีการปรับตัวโดยมีความเข้มข้นของเกลือแร่ภายในร่างกายพอๆกับน้ำทะเล ส่วนพวกที่มีความเข้มข้นของเกลือแร่ภายในร่างกายต่ำกว่าภายนอกจะมีการปรับตัวโดยการเพิ่มประสิทธิภาพในการขับเกลือออกให้ได้มาก
       -   ทะเลมีธาตุอาหารต่างกัน จึงเป็นตัวกำหนดจำนวนประชากรในท้องทะเล
2.3  สิ่งมีชีวิตในทะเล
       -   แพลงก์ตอน มีทั้งแพลงก์ตอนพืชและสัตว์ เช่น ไดอะตอม กุ้งเคย ตัวอ่อนของเพรียงหิน และยังมีพวกสาหร่าย เช่น สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน
       -   สิ่งมีชีวิตที่ว่ายน้ำเป็นอิสระ เช่น พวกปลาต่างๆ เต่า หมึก ปลาวาฬ ปลาโลมา
       -   สิ่งมีชีวิตหน้าดิน พบอยู่ทั่วไป เช่น ฟองน้ำ ปะการัง เพรียงหิน หอยนางรม ดอกไม้ทะเล ปลิงทะเล ดาวทะเล หอยแครง พลับพลึงทะเล
2.4  ระบบนิเวศในทะเลมี 3 ชุมนุม
       -   ชุมชนหาดทราย เป็นบริเวณที่ไม่เหมาะกับการอาศัยของสิ่งมีชีวิตในทะเลทั่วไป เพราะมีสภาพแวดล้อมที่รุนแรง สิ่งมีชีวิตจึงมีการปรับตัวดังนี้
              -  มีผิวเรียบ ลำตัวแบนราบกับพื้นทราย เพื่อสะดวกแก่การแทรกตัวหนีลงทราย เช่น หอยต่างๆ เหรียญทะเล
              -  ลดขนาดของส่วนต่างๆ ลง
              -  ลดขนาดของร่างกายลง เพื่อต้านทานกับทรายที่ถูกคลื่นซัดเป็นประจำ เช่น ปู
              -  ทนความแห้งแล้งได้ดี
              -  เคลื่อนไหวได้อย่างรวดเร็ว เพื่อสามารถหลบหลีกศัตรูได้อย่างรวดเร็ว
              -  ชอบฝังตัวหรือขุดรูอยู่ในทราย

     หอยเม่น         เหรียญทะเล        

                                            ภาพโดย... จันทิมา   สุขพัฒน์
       -   ชุมชนหาดหิน เป็นบริเวณที่ประกอบไปด้วยหินเป็นส่วนใหญ่ สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวดังนี้
              -  มีความคงทน และทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ โดยจะมีสารเคลือบพวกเจลลาตินรักษาความชื้นและ
                  ป้องกันการระเหยของน้ำ
              -  สามารถดูดซึมน้ำเอาไว้ใช้เวลาน้ำลงได้ เช่น พวกไลเคน
              -  มีสารหุ้มตัวเพื่อช่วยในการแลกเปลี่ยนก๊าซได้ดี
       -   ชุมชนแนวปะการัง ประกอบด้วยปะการังหลายชนิด มีรูปร่างต่างๆ กัน ประกอบด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต (CO3) ซึ่งการสร้างปะการังจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิและแสงสว่าง บริเวณที่มีแสงมากจะมีปะการังมาก เพราะปะการังส่วนใหญ่เจริญได้ดีเมื่ออยู่รวมกับสาหร่าย ปะการังสืบพันธุ์ได้โดยการแตกหน่อเชื่อมติดกัน

3. ระบบนิเวศป่าชายเลน
3.1  ความสำคัญ
       -   เป็นแหล่งอาศัยและขยายพันธุ์สัตว์น้ำ เป็นตัวกลางทำให้เกิดความสมดุลระหว่างทะเลกับบก
       -   เป็นแหล่งพันธุ์ไม้ต่างๆ ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจหลายอย่าง
       -   เป็นแหล่งอาหารที่อุดมสมบูรณ์
       -   เป็นฉากกำบังลม ป้องกันการชะล้างที่รุนแรงที่เกิดจากลมมรสุมและเป็นเสมือนกำแพงป้องกันการพังทลายของดิน
       -   รากของพันธุ์ไม้ช่วยกรองสิ่งปฏิกูลต่างๆ ในน้ำ
3.2  ลักษณะของป่าชายเลน
        ป่าชายเลน เกิดจากการทับถมของตะกอนบริเวณปากแม่น้ำ ประกอบไปด้วยทราย โคลน และดิน บริเวณที่ติดกับปากแม่น้ำเป็นดินเหนียว ถัดไปเป็นดินร่วนและบริเวณที่ลึกเข้าไปจะมีทรายมากขึ้น นอกจากนี้ บริเวณต่างๆ ของป่าชายเลนยังแตกต่างในด้านของความเป็นกรด-เบส ความเค็ม รวมทั้ง ความสมบูรณ์ของดิน ซึ่งวัดได้จากปริมาณของไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โปแตสเซียม (K)

     รากหายใจของแสม       ปูก้ามดาบและปูแสม

                                                   ภาพโดย... จันทิมา   สุขพัฒน์
3.3  ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในป่าชายเลน
       -   พืชจะมีรากค้ำจุน เพื่อช่วยพยุงลำต้นไม่ให้ล้ม เมื่ออยู่ในดินเลน
       -   เมล็ดพืชจะงอกตั้งแต่อยู่บนต้นแม่
       -   มีโครงสร้างของใบที่ทำให้สามารถเก็บสะสมน้ำได้มาก และมีโครงสร้างที่ป้องกันการสูญเสียน้ำโดยการคายน้ำ
3.4  สิ่งมีชีวิตที่อาศัยตามชายฝั่งป่าชายเลน
       -   พืช ได้แก่ โกงกาง แสมดำ โปรงขาว โปรงหนู รังกะแท้ ชะคราม ตะบูน ตีนเป็ดทะเล ตาตุ่มทะเล ปรงทะเล เทียนทะเล ชลู ลำพู ลำแพน ถั่วขาว ผักเบี้ยทะเล
       -   สัตว์ที่อยู่ตามรากพืช เช่น ปู หอยต่างๆ
       -   สัตว์ที่อยู่ตามหน้าดินตามชายเลน ได้แก่ ปลาตีน ปูเสฉวน ปูแสม ทากทะเล หอยขี้นก กุ้งดีดขัน ปูก้ามดาบ
       -   สัตว์ในดิน ได้แก่ ไส้เดือนทะเล หอยฝาเดียว

4. ระบบนิเวศป่าไม้
4.1  ความสำคัญ
       -   แหล่งรวมพันธุ์ไม้และสัตว์ป่าต่างๆ ช่วยกำบังลมพายุ
       -   แหล่งต้นน้ำลำธาร ทำให้ฝนตกตามฤดูกาล
       -   ช่วยควบคุมอุณหภูมิบนโลก ช่วยรักษาความชุ่มชื้นของผิวดิน และอากาศ
       -   ผลิตก๊าซออกซิเจน (O2) และใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แหล่งสะสมปุ๋ยธรรมชาติ
       -   ลดความรุนแรงของน้ำป่าและการพังทลายของหน้าดินที่เกิดจากกระแสน้ำไหลบ่า
4.2  ลักษณะของป่าไม้และสังคมสิ่งมีชีวิตในป่าของประเทศไทย เช่น
       -   ป่าพรุ (Freshwater swamp forest) พบตามที่ลุ่มในภาคใต้ เป็นป่าที่มีน้ำจืดขังอยู่ตลอดปี และน้ำมีความเป็นกรดสูง ลักษณะของป่าแน่นทึบ พันธุ์ไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้ขนาดเล็ก เช่น หวาย หมากแดง เป็นต้น
       -   ป่าสนเขา (Coniferous Forest Biomes) เป็นป่าเขียวตลอดปี ประกอบด้วยพืชพรรณพวกที่มีใบเรียวเล็ก เรียวยาว ขึ้นอย่างหนาแน่น มียอดปกคลุมทึบตลอดปี ไม่มีการผลัดใบ แสงผ่านลงมาถึงพื้นดินน้อย ดินเป็นกรด ขาดธาตุอาหาร สิ่งมีชีวิตที่พบ เช่น แมวป่า หมาป่า หมี เม่น กระรอก และนก
       -   ป่าดิบชื้น (Tropical Rain Forest Biomes) เป็นป่าที่มีฝนตกตลอดปี พืชเป็นพวกใบกว้างไม่ผลัดใบ ปกคลุมหนาแน่น มีอุณหภูมิและความชื้นพอเหมาะต่อการเจริญเติบโตของพืช ประกอบด้วยไม้ยืนต้นนานาชนิด พื้นดินมีต้นไม้ขึ้นกระจัดกระจาย เพราะได้รับแสงไม่เพียงพอ พันธุ์ไม้ที่พบ ได้แก่ ไม้ยาง ไม้ตะเคียน บริเวณพื้นดินเป็นพวกเฟิร์น หวาย ไม้ไผ่และเถาวัลย์

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ  แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
1.  ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต(ปัจจัยทางกายภาพ) สิ่งมีชีวิตจะดำรงอยู่ได้ต้องมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทาง
     กายภาพ เช่น อุณหภูมิ  แสง  อากาศ ความเป็นกรดเป็นเบส เสียง ดิน  น้ำ ฯลฯ
2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต สามารถแบ่งได้ความสัมพันธ์ได้ 5 ลักษณะ คือ
        ความสัมพันธ์ที่ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ (+ / +)
       ความสัมพันธ์ที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์อีกฝ่ายไม่ได้ไม่เสียประโยชน์ (+ / 0)
       ความสัมพันธ์ที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์อีกฝ่ายเสียประโยชน์ (+ / -)
       ความสัมพันธ์ที่ฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ (- / 0)
       ความสัมพันธ์ที่ต่างฝ่ายต่างเสียประโยชน์ (- / -)
ต่างฝ่ายต่างให้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน แบ่งได้ 2 พวก ดังนี้
ภาวะพึ่งพา (Mutualism) เป็นความสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิต 2 ชนิดจำเป็นต้องอาศัยอยู่ร่วมกัน ถ้าแยกจากกันจะไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ เช่น
        แหนแดงกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน แหนแดงให้ที่อยู่อาศัย ส่วนสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินจับก๊าซไนโตรเจน (N2) ในอากาศมาเปลี่ยนเป็นปุ๋ยไนเตรตได้
        แบคทีเรียไรโซเบียมในปมรากพืชตระกูลถั่ว แบคทีเรียไรโซเบียมจับก๊าซไนโตรเจนในอากาศมาเปลี่ยนเป็นปุ๋ยไนเตรตที่ต้นถั่วนำไปใช้ได้ ส่วนต้นถั่วให้ที่อยู่อาศัยแก่แบคทีเรีย
        ปลวกกับโปรโตซัวในลำไส้ของปลวก ปลวกกินไม้หรือกระดาษที่มีเซลลูโลสเข้าไป ส่วนโปรโตซัวที่อยู่ในลำไส้จะย่อยเซลลูโลส เพื่อใช้เป็นอาหารร่วมกัน
        รากับสาหร่าย (ไลเคน) สาหร่ายสร้างอาหารได้เองจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงโดยอาศัยความชื้นจากรา ส่วนราได้รับอาหารที่สังเคราะห์ขึ้นจากสาหร่าย

                                                 

                     ไลเคน พบในบริเวณที่อากาศชื้นและสภาพอากาศดี ไม่มีมลพิษ  จึงถือเป็นดัชนีชี้วัดมลภาวะทางอากาศ 

ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation)  เป็นความสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อยู่ร่วมกัน แต่ไม่จำเป็นต้องอยู่ร่วมกันตลอด ถ้าแยกจากกันก็สามารถดำรงชีพอยู่ได้ เช่น 
        เพลี้ยกับมดดำ มดดำจะพาเพลี้ยไปไว้ตามต้นไม้ เพื่อให้ดูดน้ำเลี้ยงจากต้นไม้นั้น แล้วมดดำก็จะดูดน้ำเลี้ยงต่อจากเพลี้ยอีกทอดหนึ่ง
        ดอกไม้กับแมลง แมลงได้น้ำหวานจากดอกไม้ ส่วนดอกไม้ได้รับการผสมเกสรเพื่อการสืบพันธุ์
        ปูเสฉวนกับซีแอนีโมนี (Sea Anemone) ปูเสฉวนอาศัยซีแอนีโมนีที่เกาะบริเวณเปลือกช่วยในการพรางตัวจากศัตรูและป้องกันศัตรูด้วย เนื่องจากซีแอนีโมนีมีเข็มพิษ ส่วนซีแอนีโมนีได้อาหารที่ลอยมาขณะที่ปูเสฉวนกินอาหาร
        นกเอี้ยงกับควาย นกเอี้ยงได้แมลงบนหลังควายเป็นอาหาร ส่วนควายไม่ถูกรบกวนจากแมลง

                                            


ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์
ภาวะอิงอาศัย (Commensalism)
เป็นความสัมพันธ์ที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ ตัวอย่างเช่น
        กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่ กล้วยไม้ได้อาศัยต้นไม้ใหญ่เป็นที่อยู่ แต่ไม่ได้หยั่งรากลึกลงไปในลำต้นเพื่อแย่งอาหาร จึงทำให้ต้นไม้ใหญ่ไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์

                                              
      

        ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามได้กินเศษอาหารที่เหลือของปลาฉลาม โดยไม่ทำอันตรายต่อปลาฉลาม ปลาฉลามจึงไม่ได้ประโยชน์และไม่เสียประโยชน์ด้วย
        แมงดาทะเลกับหนอนตัวแบน หนอนตัวแบนได้กินเศษอาหารของแมงดาทะเล เนื่องจากอาศัยอยู่ตามเหลือกของแมงดาทะเล ส่วนแมงดาทะเลก็ไม่ได้ประโยชน์และไม่เสียประโยชน์
ฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ (Amensalism) แบ่งได้ 2 พวก ดังนี้
        แบคทีเรียกับราเพนิซิลเลียม สารที่ราสร้างขึ้นมีผลยับยั้งการเจริญเติบโตหรือทำลายแบคทีเรียได้ แต่แบคทีเรียก็ไม่ ทำให้ราไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์
        ต้นไม้ใหญ่กับต้นไม้เล็ก ต้นไม้เล็กมีการเจริญเติบโตไม่เต็มที่เพราะถูกต้นไม้ใหญ่แย่งน้ำ อาหาร แสง และอากาศ แต่ต้นไม้เล็กไม่ทำให้ต้นไม้ใหญ่เสียประโยชน์หรือได้ประโยชน์แต่อย่างใด
ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ แบ่งเป็น 2 พวก ดังนี้
ภาวะปรสิต (Parasitism) ฝ่ายที่ได้รับประโยชน์เรียกว่า ปรสิต (Parasite) ส่วนฝ่ายที่เสียประโยชน์เรียกว่า ผู้ถูกอาศัย (Host) ตัวอย่างเช่น
        กาฝากกับต้นไม้ กาฝากจะหยั่งรากลึกลงไปในลำต้นของต้นไม้ที่อาศัย เพื่อแย่งน้ำและแร่ธาตุ แต่สร้างอาหารได้เองจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ส่วนต้นไม้จะถูกเบียดเบียนจนกระทั่งตายในที่สุด
        ฝอยทองกับต้นไม้ ฝอยทองสร้างอาหารเองไม่ได้ จึงแย่งน้ำ อาหาร และแร่ธาตุจากต้นไม้ที่อาศัยอยู่ทั้งหมด
        พยาธิและเชื้อโรคต่างๆ กับสัตว์ จัดเป็นปรสิตที่อยู่ภายในร่างกาย
        หนอนผีเสื้อกับต้นไม้ หนอนผีเสื้อกินใบไม้เป็นอาหาร ทำให้ต้นไม้ถูกทำลาย

                                                     

                        จากภาพ  เพลี้ยดูดน้ำเลี้ยงจากพืช  ทำให้ดอกไม่สามารถเจริญเติบโตได้อย่างและตายในที่สุด

การล่าเหยื่อ (Predation) ฝ่ายที่ได้รับประโยชน์เรียกว่า ผู้ล่า (Predator) ฝ่ายที่เสียประโยชน์เรียกว่า เหยื่อ (Prey) ตัวอย่างสัตว์ที่เป็นผู้ล่า เช่น สัตว์ที่กินสัตว์ด้วยกันเองเป็นอาหาร และรวมถึงสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหารด้วย
ต่างฝ่ายต่างเสียประโยชน์ ซึ่งเรียกว่า การแก่งแย่ง (Competition) โดยมีการแก่งแย่งปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต ทำให้เสียประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่าย ตัวอย่างเช่น สัตว์แย่งชิงอาหารกันเอง พืชและสัตว์แย่งก๊าซออกซิเจนในเวลากลางคืน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 480 คน กำลังออนไลน์