• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ffff841726b439601712a3d4e2d89dae' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\"><img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" />แครอท</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\"><img border=\"0\" width=\"102\" src=\"/files/u7500/images1.jpg\" height=\"121\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\"><span style=\"background-color: #fafafa\">แหล่งที่มาของรูป <a href=\"http://nanalady.com/picture/1224325747.jpg\">http://nanalady.com/picture/1224325747.jpg</a></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\"></span> อยู่ในวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae) มีถิ่นกำเนิด อยู่แถบเอเชียกลาง จนถึงทางตะวันออก ต่อมาได้เผยแพร่เข้าไปใน ยุโรป และประเทศจีน แครอทเป็นพืชสองฤดู โดยฤดูแรกเจริญทางต้น ใบ และราก  ฤดูที่สองจะเจริญทางดอก และเมล็ด ลักษณะลำต้นเป็นแผ่นใบ จะเจริญจากลำต้น เป็นกลุ่มมีก้านใบยาว  ประกอบด้วย เปลือกบาง(Periderm) และส่วนของเนื้อ(Cortex) ซึ่งประกอบด้วยท่ออาหาร และเป็นแหล่งเก็บ อาหารสำรอง ส่วนใหญ่อยู่ในรูป ของน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ 45-65% ของหัว เนือสีขาว เหลือง ส้ม แดง ม่วงและดำ ส่วนของแกน(inner core) ประกอบด้วย ท่อน้ำ(xylem) และแกน(pith) แครอท สายพันธุ์ที่มีคุณภาพสูง จะมีแกนขนาดเล็ก และมีสีเดียว กับเนื้อหรือมีส่วนของเนื้อ มากกว่าส่วนของแกน การปลูกฤดูที่สองเพื่อผลผลิตเมล็ดพันธุ์ลำต้นจะยืดตัว สร้างก้านดอกยาว 2-4 ฟุต บนยอดมีช่อดอก ซึ่งช่อแรกจะเจริญ จากส่วนกลางของลำต้น ต่อจากนั้นช่ออื่นๆ จะเจริญตาม การผสมเกสรจะเป็น แบบผสมข้าม ส่วนใหญ่ แมลงเป็นตัวช่วยผสมเกสร\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม</span><br />\nแครอทเจริญได้ดีในเขตหนาว โดยทั่วไปอุณหภูมิ ที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโต อยู่ระหว่าง 25-28′C หากอุณหภูมิสูงกว่า 28′C จะทำให้การเจริญทางใบลดลง สำหรับอุณหภูมิ ที่เหมาะสมต่อการเจริญของหัวอยู่ระหว่าง 18-21′C หากมีความแตกต่างของอุณหภูมิ ระหว่างผิวดิน และระดับดินที่ลึกลงไป 10-15 เซนติเมตรมาก จะทำให้รูปทรงของหัว ไม่สม่ำเสมอ แครอทเป็นพืชที่ต้องการแสงมาก โดยเฉลี่ยวประมาณ 9-14 ชั่วโมง/วัน\n</p>\n<p>\nแครอทเจริญได้ดีในดินละเอียด และร่วนซุย หน้าดินลึก มีอินทรีย์วัตถุสูง ระบายน้ำได้ดี ความเป็นกรด-ด่าง ของดิน 6.5-7.5 การปลูกในดินเหนียว หรือโครงสร้างดินแข็งจะทำให้หัวแตก มีรูปทรงผิดปกติ หาแปลง ปลูกมีความชื้นสูง หัวจะมี่แผลสีดำ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">การใช้ประโยชน์และคุณค่าทางอาหาร</span><br />\nแครอท เป็นพืชที่อุดมไปด้วยสาร Beta carotene โดยเฉพาะบริเวณส่วนของเปลือกแก่ ซึ่งสามารถเปลี่ยน เป็นวิตามินเอสูง (11,000 IU) นอกจากนี้ยังมีวิตามินบี 1 บี 2 และวิตามินบี วิตามินเอ ช่วยทำให้ร่างกาย มีภูมิต้านทานโรคหวัด ป้องกันมะเร็ง ป้องกันอาการผิดปกติ ในกระดูก โรคผิวหนัง และรักษาสายตา\n</p>\n<p>\nแครอท นิยมรับประทานสด ในสลัด หรือนำมาประกอบอาหารชนิดอื่นๆ เช่น ผัด ต้มซุป ใส่แกงจืด ใช้ทำส้มตำแบบมะละกอ คั้นสดรับประทาน เป็นน้ำเพื่อสุขภาพ และช่วยเพิ่มสีสรรในจานอาหา\n</p>\n<p>\nการปฏิบัติดูแลรักษาแครอทในระยะต่างๆของการเจริญเติบโต<br />\nการเตรียมดิน ขุดดินตากแดด และโรยปูนขาวอัตราม 0-100 กรัม/ตร.ม. ไว้อย่างน้อย 14 วัน กำจัดวัชพืช ขึ้นแปลงกว้าง 1 ม.\n</p>\n<p>\nการเตรียมกล้า ปลูกโดยหยอดเมล็ด\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">การปลูก</span><br />\n1. ก่อนปลูกใส่ปุ๋ยสูตร 12-24-12 อัตรา 20-30 กรัม/ตร.ม. ลงในดิน ปรับหน้าแปลงให้เรียบ<br />\n2. ขีดร่องลึก 1 ซม. ขวางแปลงห่างกันร่องละ 15 ซม.<br />\n3. หยอดเมล็ดที่ละเมล็ดระยะห่าง 1 ซม. กลบเมล็ดแล้วรดน้ำให้ชุ่ม<br />\n4. การถอนแยก<br />\nครั่งที่ 1 หลังหยอดเมล็ด 15-20 วัน (มีใบจริง 3-5 ใบ) เหลือระยะปลูก 3 ซม.<br />\nครั้งที่ 2 หลังหยอดเมล็ด30-35 วัน (มีใบจริง 8-9 ใบ) เหลือระยะปลูก 5-8 ใบ<br />\nข้อควรระวัง  ช่วงแรกระวังมดคาบเมล็ดหรือแมลงกัดกินเมล็ด\n</p>\n<p>\nการให้น้ำ หลังปลูกรดน้ำให้ชุ่ม และให้น้ำทุกวันสม่ำเสมอ แต่อย่าให้น้ำขัง หัวจะเน่า\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">การให้ปุ๋ย<br />\n</span>1. หลังถอนแยกครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 30-50 กรัม/ตร.ม. พร้อมกำจัดวัชพืช<br />\n2. หลังการใส่ปุ๋ยครั้งแรก 15-20 วัน ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 ใช้สูตร 13-13-21 อัตรา 30-50 กรัม/ตร.ม. โรยในร่องลึก 2-3 ซม. ระหว่างแถวปลูก\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">การเก็บเกี่ยว</span><br />\n1. เมื่อมีอายุได้ 100-120 วัน<br />\n2. เก็บเกี่ยวโดยการขุดเมื่ออายุและขนาดเหมาะสม<br />\n3. ล้างรากให้สะอาด ผึ่งให้แห้งระวังอย่าให้ผิวถลอก\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">ข้อควรระวัง</span><br />\n1. การหยอดเมล็ดอย่าให้เมล็ดที่หยอดติดกัน ระยะห่างประมาณ 1 ซม.<br />\n2. ควรให้น้ำสม่ำเสมออย่าให้แฉะเกินไป\n</p>\n<p>\nโรคแมลงศัตรูที่สำคัญของแครอทในระยะต่างๆของการเจริญเติบโต\n</p>\n<p>\nระยะหยอดเมล็ด-ถอนแยก ครั้งที่ 1 อายุ 15-20 วัน โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรครากปม,\n</p>\n<p>\nระยะถอนแยก ครั้งที่ 2 อายุ 30-35 วัน โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรครากปม, เสี้ยนดิน,\n</p>\n<p>\nระยะลงหัว 35-100 วัน โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรครากปม, เสี้ยนดิน, โรคหัวเน่า,\n</p>\n<p>\nระยะเก็บเกี่ยว 100-120 วัน โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรครากปม, เสี้ยนดิน, โรคหัวเน่า,\n</p>\n<p>\nที่มาของเนื้อหา <a href=\"http://www.vegetweb.com/แครอท-carrot/\">http://www.vegetweb.com/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%97-carrot/</a></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\">สาคู (Sago palm)</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\"></span></p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"137\" src=\"/files/u7500/images_0.jpg\" height=\"103\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ที่มาของรูป </span> <a href=\"http://www.thaimtb.com/webboard/442/221223-54.jpg\">http://www.thaimtb.com/webboard/442/221223-54.jpg</a><br />\nชื่อวิทยาศาสตร์ของสาคู : Metroxylon sagu Rottb.\n</p>\n<p>\nชื่ออื่นของสาคู : สากู (มลายู-ใต้)<br />\nสาคูเป็นพืชที่มีอายุอยู่ได้หลายฤดูฝน ลักษณะใบคล้ายใบคล้า ต้นคล้ายต้นขิง ต้นสูง ๖๐-๑๘๐ ซม. ขึ้นอยู่เป็นกอ หัวเล็กยาว แผ่กว้างลึก อีกชนิดหนึ่งต้นและใบคล้ายพุทธรักษา หัวสั้นใหญ่ มีหัวน้อยอยู่ไม่ลึก\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\">ลักษณะทางพฤกษศาสตร์</span>\n</p>\n<p>\nสาคู มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า แมรันตา อะรันดินาซี แอล (Maranta arundinacea L.) อยู่ในตระกูล แมรันเตซี (Marantaceae) เป็นพืชเนื้ออ่อนมีอายุอยู่ได้ปลายฤดู มีหัวซึ่งเกิดจากลำต้นใต้ดินโดยหัวขยายตัวอยู่ใต้ระดับดิน หัวใหญ่ กลม ยาว ขนาดของหัว ๒.๕ ซม. ยาว ๒๐-๔๕ ซม. ใบเป็นชนิด แลนซิโอเลต (lanceolate) เหมือนใบคล้าดอกสีขาว เป็นช่อแฝด เมล็ดสีแดงแต่ไม่ค่อยติดเมล็ด<br />\nแหล่งที่ปลูกสาคูมาก ได้แก่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เช่น จังหวัดนครราชสีมา ขอนแก่น เป็นต้น แบ่งตาม ลักษณะ หัวมีอยู่ ๒ ชนิด ชนิดหัวเล็กยาว แผ่กว้างและหยั่งลงในดินลึกเรียวเครโอล (creole) ชนิดหัวสั้นใหญ่ หัวไม่มาก หัวอยู่ไม่ลึก เรียกแบนานา (banana) ความจริงแล้วพืชทึ่มีชื่อภาษาอังกฤษว่า แอร์ โรว์รูต ที่จัดเป็นพืชหัวยังมีอีก ๒ ชนิด ชนิดแรกได้แก่ ควรนส์แลนด์ แอร์โรว์รูต (Queensland arrowroot) และมีชื่อื่นอี คือ ออสเตรเลียน แอร์โรว์รูต (Australian arrowroot) เอดิเบิล แคนนา (edilbe canna) เพอร์เพิบ แอร์โรว์รูต (purple arrowroot) ไทยเราเรียกว่า “สาคูจีน” มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า แคนนา เอดูลิส (Canna edulis) เคอร์-กัล (Ker-Gawl) อยู่ในตระกูล แคนนาซี (Cannacean) เป็นพืชพวกเดียวกับพุทธรักษามีลักษณะต้น ใบเหมือนพุทธรักษา แต่ดอกเล็กกว่าหัวคล้ายหัวข่า รับประทานได้เหมือนสาคูธรรมดาที่กล่าวข้างต้น นอกจากสาคูที่กล่าวถึงข้างต้น แล้ว ยังมีสาคูอีกชนิดหนึ่งได้แก่ อิสต์ อินเดียน แอร์โรว์รูต (East Indian arrowroot) มีชื่ออื่นอีก เช่น โพลิเนเชียน แอร์โรว์รูต (Polynesian arrowroot) ทัคคา (tacca) ฯลฯ ไทยเรียกว่า “สาคูจีน” มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ทัคคา เลออนโทเพทาลอยด์ แอล คุนทซ์ ๙ Tacca leontopetaloides (L) Kuntze) อยู่ในตระกูลทัคคาซี (Taccaceae) จึงได้นำมากล่าวไว้เพื่อป้องกันการสับสน\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\">ฤดูปลูก</span>\n</p>\n<p>\nสาคู ขึ้นได้ในที่ที่มีฝน ๑,๕๐๐-๒,๐๐๐ มม. จึงควรปลูกในเวลาที่มีน้ำหรือสามารถให้น้ำได้เพียงพอตลอดอายุการเจริญเติบโต สาคูชอบอากาศร้อนและชื้น ฤดูปลูกที่เหมาะสม ได้แก่ ฤดูฝน การปลูกและการเตรียมพื้นที่ สาคูชอบที่ที่มีการระบายน้ำดี ดินเป็นกรดน้อยๆ ร่วนและลึก สามารถขึ้นได้ดีตั้งแต่ระดับน้ำทะเล จนถึงความสูงประมาณ ๙๐๐ เมตร เตรียมดินโดยไถและพรวนดิน ให้ร่วนขุดหลุมลึก ๑๐-๑๕ ซม. ระยะหลุมห่างกัน ๓๕-๔๐ ซม. ปลูกเป็นแถวระยะระหว่างแถวประมาณ ๗๕ ซม.\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\">วิธีปลูกสาคู<br />\n</span>โดยทั่วไปสาคูปลูกจากหัว โดยตัดเป็นท่อนสั้นๆ ยาวประมาณ ๕ ซม. บางทีก็รมควันหัวเสียก่อนเพื่อให้งอกเร็วขึ้น บางครั้งก็ปลูกด้วยหน่อ (sucker) บางรายขุดเก็บหัวสาคูจากต้นแก่เท่านั้น ทิ้งต้นอ่อนที่เกิดจากหน่อให้เติบโตต่อไป ไม่ต้องปลูกใหม่ เริ่มปลูกเมื่อต้นฤดูฝน วางหัวที่เตรียมไว้ในหลุม ความลึกของหลุมประมาณ ๑๐-๑๕ ซม. กลบด้วยดิน ถ้าใช้ระยะปลูก ๗๕-๘๐ ซม. หัวที่ใช้เป็นพันธุ์ปลูก จะต้องมีจำนวนหนักประมาณ ๔๘๐-๕๖๐ กก./ไร่\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\">การกำจัดวัชพืช</span><br />\nหลังจากปลูกสาคูแล้ว ควรดูแลอย่างให้มีวัชพืชแย่งอาหารต้นสาคู โดยกำจัดวัชพืชเมื่อต้นสาคูอายุ ๓-๔ เดือน เมื่อต้นสาคูออกดอกต้องคอยเด็ดทิ้งทันที เพื่อให้อาหารไปเลี้ยงหัวให้โตขึ้นแทนที่จะไปเลี้ยงดอกและเมล็ด\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\">การใส่ปุ๋ย</span><br />\nการปลูกสาคูในต่างประเทศ ใช้ปุ๋ยผสมเกรด ๘-๕-๑๔ ในอัตราประมาณ ๑๔๐ กก./ไร่ เมื่ออายุประมาณ ๓ เดือนครึ่ง คนไทยปลูกสาคูโดยไม่ใส่ปุ๋ยเคมี อาจจะใส่ปุ๋ยคอกบ้างเล็กน้อย\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\">โรคและแมลง</span><br />\nต้นสาคู ไม่มีโรคและแมลงรบกวนมากนักแมลงที่อาจพบ ได้แก่ หนอนม้วนใบ โรคที่พบมีโรคใบจุด ไม่ทำความเสียหายร้ายแรงนัก\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\">การเก็บเกี่ยวผลผลิต</span><br />\nสาคู มีอายุประมาณ ๑๐-๑๑ เดือน สังเกตได้โดยใบเริ่มเหี่ยวตาย จึงเก็บโดยขุดและเก็บด้วยมือ ตัดแยกหัวออกจากต้นและใบ ผลผลิตของหัวสาคูมีประมาณ ๒,๐๐๐ กก./ไร่ เมื่อขุดขึ้นจากดินแล้ว จะเก็บหัวไว้ได้ไม่นาน จะต้องใช้ภายใน ๒-๗ วัน\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ffff\">ประโยชน์</span><br />\nแป้งสาคู นับเป็นคาร์โบไฮเดรตที่บริสุทธิ์ที่สุดในบรรดาคาร์โบไฮเดรตที่ได้จากธรรมชาติและมีความเหนียวสูงสุด การวิเคราะห์หัวสาคู ประเภท “เครโอล” ประกอบด้วยความชื้นร้อยละ ๖๙.๑ เถ้าร้อยละ ๑.๔ ไขมันร้อยละ ๐.๑ เส้นใยร้อยละ ๑.๓ โปรตีนร้อยละ ๑.๐ แป้งร้อยละ ๒๑.๗ สำหรับหัวสาคูประเภท “แบนานา” ประกอบด้วยความชื้นร้อยละ ๗๒.๐ เถ้าร้อยละ ๑.๓ ไขมันร้อยละ ๐.๑ เส้นใยร้อยละ ๐.๖ โปรตีนร้อยละ ๒.๒ แป้งร้อยละ ๑๙.๔ แป้งสาคูประกอบด้วยเม็ดยาวรี ยาวประมาณ ๑๕-๗๐ ไมครอน พวก แบนานา มีเม็ดแป้งใหญ่กว่าพวกเครโอล เล็กน้อย ส่วนใหญ่ใช้หัวทำแป้ง ซึ่งเป็นแป้งที่ย่อยง่ายมาก ส่งออกสู่ตลาดเป็นแป้งผล สีขาว เรียก “แป้งสาคู” นิยมใช้เป็นอาหารทารก และทำอาหารอย่างอื่น เช่น ขนมปัง ขนมต่าง ๆ แพทย์ให้คนป่วยด้วยโรคลำไส้รับประทาน แป้งสาคู นอกจากนี้เราใช้แป้งสาคูทำ “ผงแบเรียม” (barium meals) และใช้ในอุตสาหกรรมยา ทำแป้งผัดหน้า ทำกาวและทำ กระดาษ ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ หัวสาคูใช้เป็นอาหาร โดยต้มหรือเผาเสียก่อน หัวสดนำมาโม่จะได้แป้งสาคูใช้ทำขนมได้ดี ใบและต้น สาคูใช้ในการบรรจุหีบห่อได้ กากที่เหลือจากการทำแป้งแล้วใช้เป็นอาหารสัตว์และทำปุ๋ย คนไทยต้มหรือนึ่งสาคูรับประทาน เป็นของ หวาน แต่ปริมาณสาคูที่ใช้เป็นของหวานมีไม่มากนัก\n</p>\n<p>\nที่มาของเนื้อหา <a href=\"http://www.vegetweb.com/สาคู/\">http://www.vegetweb.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B9/</a> </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<span style=\"color: #008000; background-color: #ccffff\">แคนตาลูป</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000; background-color: #ccffff\"><img border=\"0\" width=\"97\" src=\"/files/u7500/images2.jpg\" height=\"116\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000; background-color: #ccffff\"><span style=\"background-color: #fafafa\"><span style=\"color: #ff0000\">ที่มาของรูป</span> </span></span><span style=\"color: #008000; background-color: #ccffff\"></span> <a href=\"http://kunanon.com/Productimages/แคนตาลูป.jpg\">http://kunanon.com/Productimages/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%9B.jpg</a>\n</p>\n<p>\nเป็นพืชที่ชอบ อากาศอบอุ่นถึงร้อน อุณหภูมิที่เหมาะสม สำหรับการเจริญเติบโต อยู่ระหว่าง 25-30 องศาเซลเซียส อุณหภูมิที่เหมาะสำหรับ การงอกของราก แคนตาลูป อยู่ระหว่าง 25-30 องศาเซลเซียส ความแตกต่างของ อุณหภูมิระหว่าง กลางวันกับกลางคืน มีอิทธิพลต่อ ความหวาน และคุณภาพของ แคนตาลูป ถ้าความแตกต่าง ยิ่งมากจะทำ ให้ความหวาน และคุณภาพยิ่งสูง แต่สภาพที่หนาวเย็น จะทำให้ผลแคนตาลูปไม่โต การเจริญเติบโตจะชะงัก แคนตาลูปเป็นพืชที่ ชอบแสงแดด ตลอดวัน ฉะนั้นในการเลือกพื้นที่ ปลูกควรเป็นพื้น ที่โล่งแจ้ง และไม่เคยปลูกพืช ตระกูลแตงมาก่อน ควรเป็นดินร่วน ปนทรายระบายน้ำ ได้ดี มีความเป็น กรด-ด่าง อยู่ระหว่าง 6.0-6.8\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ff00; background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #008000\">การเตรียมเมล็ดพันธุ์และการหยอดเมล็ดแคนตาลูป</span><br />\n</span>พื้นที่ปลูก 1 ไร่ เตรียมเมล็ดพันธุ์อัตรา 0-100 กรัม<br />\nนำเมล็ดเมล็ดพันธุ์บรรจุลงในถุงพลาสติก หรือถุงซิบที่เจาะรูพรุน หรือถุงเน็ต ลงแช่ในน้ำสะอาดนาน 4-6 ชม. จากนั้นนำเมล็ดออกมาสลัดน้ำทิ้งใช้ผัาขนหนูที่เปียกพอหมาดๆ ห่อ และนำไปบ่มในอุณหภูมิ 28-32 องศาเซลเซียส โดยใช้หลอดไฟขนาด 40-60 W. บ่มนาน 24 ชม. เมล็ดแคนตาลูปจะเริ่มงอกรากยาวประมาณ 0.5 ชม. ก็สามารถนำไปหยอด ลงในถุงดินหรือถาดเพาะกล้าต่อไป<br />\nการเตรียมถุงดินสำหรับเพาะเมล็ด ใช้ดินร่วน 2-3 บุ้งกี๋ ปุ๋ยคอกที่สลายตัวแล้ว 1 บุ้งกี๋ ปุ๋ย 0-46-0 กำมือ ผสมให้เข้ากัน กรอกลงในถุงพลาสติกขนาด 4×4 นิ้ว หรือ 4×6 นิ้ว โดยเจาะรูที่ก้นถุงทั้ง 2 ข้าง เพื่อระบายน้ำ และนำถุงดินไปวางเรียงในแปลงเพาะ ขนาดกว้าง 1.0-1.5 เมตร โดยวางเรียงประมาณ 12-15 ถุงต่อแถว จากนั้นรดน้ำถุงดินให้ชุ่ม นำเมล็ดที่งอกราก แล้วหยอดลงไปถุงละ 1 เมล็ด หลังหยอด 2-3 วัน เมล็ดจะเริ่มชูใบเลี้ยงขึ้นมา ช่วยแกะเอาเปลือกของเมล็ดออกด้วย รดน้ำต้นกล้าทุกเช้าเย็น อายุต้นกล้าที่เหมาะสม 10-12 วัน มีใบจริง 2-4 ใบ ก็สามารถย้ายลงปลูกในแปลงได้\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000; background-color: #ccffff\">การเตรียมแปลงปลูกแคตาลูป</span><br />\nไถดินตากไว้ 1-2 อาทิตย์ จากนั้นไถพรวนให้ละเอียดทำการยกร่องแปลง โดยใช้ปุ๋ยคอก (ขี้ไก่ 800-1,000 กก./ไร่) ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 50 กก./ไร่ ฟูราดาน 2-3 กก./ไร่ ถ้าสภาพดินที่มี pH ต่ำ ควรใช้ปูนขาวอัตรา 100-200 กก./ไร่ การเตรียมแปลงถ้าเป็นแบบขึ้นค้างให้ห่างกัน 1.2-1.5 เมตร ความกว้างของร่องน้ำ 60-70 ซม. หลังแปลงกว้าง 80-90 ซม. ใช้พลาสติกคลุม(พลาสติก2 สี สีบรอนซ์และสีดำ) แล้วทำการเจาะหลุมปลูกห่างกัน 40-45 ซม.<br />\nถ้าเป็นแปลงแบบเลื้อย ใช้ขนาดแปลงกว้าง 3-4 เมตร เตรียมแปลงคู่(แบบเดียวกับแตงโม) ร่องน้ำกว้าง 60-70 ซม.<br />\nการย้ายปลูก หลังเตรียมแปลงเสร็จก่อนย้ายปลูก 1-2 วัน ให้ฉีดพ่นยาต้นกล้า หรืองดการให้น้ำต้นกล้า เพื่อให้ต้นกล้าชะงักการเจริญเติบบโต(Harddening) ใช้ระยะปลูก 40-45 ซม. รดน้ำหลุมให้ชุ่ม แล้วนำต้นกล้าปลูกลงไปหลุมละ 1 ต้นหลังปลูกเสร็จรดน้ำตามอีก 1 รอบ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000; background-color: #ccffff\">การดูแลรักษาแคนตาลูป<br />\n</span><span style=\"color: #008000; background-color: #ccffff\">การให้ปุ๋ย<br />\n</span>ครั้งที่ 1 หลังปลูก 7-10 วัน ให้ยูเรีย อัตรา 1 ช้อนแกงต่อนำ 10 ลิตร รดที่โคนต้น ระวังอย่าให้ถูกใบ<br />\nครั้งที่ 2 หลังย้ายปลูก 20-30 วัน ให้ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 25 กก./ไร่ โดยวิธีฝังระหว่างต้นหรือโรยที่ร่องน้ำ<br />\nครั้งที่ 3 หลังย้ายปลูก 40 วัน ให้ปุ๋ย 13-13-21 หรือ 14-14-21 อัตรา 25 กก./ไร่ โดยวิธีฝังระหว่างต้น หรือโรยตามร่องน้ำ<br />\nครั้งที่ 4 เพิ่มปุ๋ยโปแตส เพื่อเพิ่มความหวานและสีสรร อาจใช้ปุ๋ยยูเรียผสมในอัตรา 1:1 โดยหว่านตามร่องน้ำก่อนการเก็บ 1-2 สัปดาห์<br />\n<span style=\"color: #008000; background-color: #ccffff\">การให้น้ำ</span> ควรให้น้ำอย่างสม่ำเสมอ จะทำให้แคนตาลูปเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ อย่าให้ขาดน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการติดผล ซึ่งจะทำให้ผลแคนตาลูปอาจไม่โต การให้น้ำไม่สม่ำเสมอนอกจากระทำให้การเจริญเติบโตชะงักแล้ว อาจทำให้ผลปริแตกได้<br />\nการไว้ผลและการตัดแต่งกิ่ง กิ่งแขนงที่เกิดตั้งแต่ข้อที่ 1 จนถึงข้อที่ 8 ให้ตัดแต่งออกให้หมด และเริ่มไว้ผลข้อที่ 9-10,11-12 ให้เลือกผลที่ดีที่สุดไว้ 1 ผล แล้วทำการห้อยผลไว้กับราวไม้เพื่อป้องกันมิให้ผลวางกับพื้น ซึ่งจะทำให้ผลเน่าเสียหายได้ ส่วนกิ่งแขนงตั้งแต่ข้อที่ 13 ขึ้นไป ให้ตัดแต่งออกให้หมดและทำการเด็ดยอดข้อที่ 30-35<br />\nการเก็บเกี่ยว ให้เลือกเก็บเกี่ยวผลคนตาลูปที่สุกไม่น้อยกว่า 80% ขึ้นไป และใช้หลักในการพิจารณาเก็บแคนตาลูป ดังนี้<br />\n1.นับอายุ หลังจากดอกบานแล้วประมาณ 30-35 วัน <br />\n2.สังเกตรอยแตกปริของขั้วผล <br />\n3.สังเกตจากสีผิว ถ้าเป็นพันธุ์ผิวเรียบ ผิวจะเป็นมันเรียบสีนวลตามสายพันธุ์ แต่ถ้าเป็นพันธุ์ที่มีตาข่าย จะสังเกตเห็นตาข่าย นูนเด่นชัดเจน <br />\n4.สังเกตจากกลิ่น ถ้าเป็นแคนตาลูปพันธุ์ที่มีกลิ่นหอม ถ้าสุกกลิ่นจะเริ่มหอมขณะเดินไปแปลงจะได้กลิ่น <br />\nโรค-แมลงและการป้องกันกำจัด<br />\nโรคราน้ำค้าง เกิดในสภาพอากาศที่อุณภูมิต่ำ ความชื้นสัมพันธ์สูง ป้องกันกำจัดด้วยสารเคมีพวกดาโคนิล, ริดโดมิล, เอพรอน 85<br />\nโรคเหี่ยว ป้องกันโดยไม่ปลูกซ้ำ พื้นที่เดิม<br />\nโรคราแป้ง เกิดในสภาพอากาศที่มีอุณหภูมิต่ำ ความชื้นสัมพันธ์ต่ำ ป้องกันกำจัดโดยใช้ยาอาฟูกาน<br />\nโรคไหม้ เกิดในสภาพอากาศอุณหภูมิต่ำ ความชื้นสัมพันธ์สูง เกิดทั้งที่ใบและลำต้น ป้องกันโดยฉัดพ่นสารประเภทดูดซึม เช่น คาร์เบนดาซิม, เบนเลท, ท๊อบซินเอ็ม<br />\nเพลี้ยไฟ ดูดกินน้ำเลี้ยงเป็นพาหะของไวรัส ป้องกันโดยใช้ยาดูดซึมพวก คาร์โบฟูราน รองก้นหลุม ฉีดยาพ่นยาพวกคาร์โบซันแฟน ,เมทโธมิล<br />\nแมลงเต่าแตง ระบาดโดยกัดกินใบ ป้องกันกำจัดด้วยสารเคมี พวกคาร์บาริล หรือสารดูดซึม ในกลุ่มของไดโครโตฟอส<br />\nหนอนกัดกินใบและผลอ่อน ป้องกันโดยใช้ยากลุ่มเมทโธมิล หรือกลุ่มโมโนโคร โตฟอส\n</p>\n<p>\nที่มาของเนื้อหา <a href=\"http://www.vegetweb.com/การปลูกแคนตาลูป/\">http://www.vegetweb.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%9B/</a>\n</p>\n<p>\nเรียบเรียงและรวบรวมโดย น.ส ณัฐวดี  นวมศรีสงวน ม.6/4 เลขที่ 9\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1718524636, expire = 1718611036, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ffff841726b439601712a3d4e2d89dae' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f683a224a1ef874b781f61aadcfd7de9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\"><img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" />แครอท</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\"><img border=\"0\" width=\"102\" src=\"/files/u7500/images1.jpg\" height=\"121\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\"><span style=\"background-color: #fafafa\">แหล่งที่มาของรูป <a href=\"http://nanalady.com/picture/1224325747.jpg\">http://nanalady.com/picture/1224325747.jpg</a></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\"></span> อยู่ในวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae) มีถิ่นกำเนิด อยู่แถบเอเชียกลาง จนถึงทางตะวันออก ต่อมาได้เผยแพร่เข้าไปใน ยุโรป และประเทศจีน แครอทเป็นพืชสองฤดู โดยฤดูแรกเจริญทางต้น ใบ และราก  ฤดูที่สองจะเจริญทางดอก และเมล็ด ลักษณะลำต้นเป็นแผ่นใบ จะเจริญจากลำต้น เป็นกลุ่มมีก้านใบยาว  ประกอบด้วย เปลือกบาง(Periderm) และส่วนของเนื้อ(Cortex) ซึ่งประกอบด้วยท่ออาหาร และเป็นแหล่งเก็บ อาหารสำรอง ส่วนใหญ่อยู่ในรูป ของน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ 45-65% ของหัว เนือสีขาว เหลือง ส้ม แดง ม่วงและดำ ส่วนของแกน(inner core) ประกอบด้วย ท่อน้ำ(xylem) และแกน(pith) แครอท สายพันธุ์ที่มีคุณภาพสูง จะมีแกนขนาดเล็ก และมีสีเดียว กับเนื้อหรือมีส่วนของเนื้อ มากกว่าส่วนของแกน การปลูกฤดูที่สองเพื่อผลผลิตเมล็ดพันธุ์ลำต้นจะยืดตัว สร้างก้านดอกยาว 2-4 ฟุต บนยอดมีช่อดอก ซึ่งช่อแรกจะเจริญ จากส่วนกลางของลำต้น ต่อจากนั้นช่ออื่นๆ จะเจริญตาม การผสมเกสรจะเป็น แบบผสมข้าม ส่วนใหญ่ แมลงเป็นตัวช่วยผสมเกสร\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม</span><br />\nแครอทเจริญได้ดีในเขตหนาว โดยทั่วไปอุณหภูมิ ที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโต อยู่ระหว่าง 25-28′C หากอุณหภูมิสูงกว่า 28′C จะทำให้การเจริญทางใบลดลง สำหรับอุณหภูมิ ที่เหมาะสมต่อการเจริญของหัวอยู่ระหว่าง 18-21′C หากมีความแตกต่างของอุณหภูมิ ระหว่างผิวดิน และระดับดินที่ลึกลงไป 10-15 เซนติเมตรมาก จะทำให้รูปทรงของหัว ไม่สม่ำเสมอ แครอทเป็นพืชที่ต้องการแสงมาก โดยเฉลี่ยวประมาณ 9-14 ชั่วโมง/วัน\n</p>\n<p>\nแครอทเจริญได้ดีในดินละเอียด และร่วนซุย หน้าดินลึก มีอินทรีย์วัตถุสูง ระบายน้ำได้ดี ความเป็นกรด-ด่าง ของดิน 6.5-7.5 การปลูกในดินเหนียว หรือโครงสร้างดินแข็งจะทำให้หัวแตก มีรูปทรงผิดปกติ หาแปลง ปลูกมีความชื้นสูง หัวจะมี่แผลสีดำ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">การใช้ประโยชน์และคุณค่าทางอาหาร</span><br />\nแครอท เป็นพืชที่อุดมไปด้วยสาร Beta carotene โดยเฉพาะบริเวณส่วนของเปลือกแก่ ซึ่งสามารถเปลี่ยน เป็นวิตามินเอสูง (11,000 IU) นอกจากนี้ยังมีวิตามินบี 1 บี 2 และวิตามินบี วิตามินเอ ช่วยทำให้ร่างกาย มีภูมิต้านทานโรคหวัด ป้องกันมะเร็ง ป้องกันอาการผิดปกติ ในกระดูก โรคผิวหนัง และรักษาสายตา\n</p>\n<p>\nแครอท นิยมรับประทานสด ในสลัด หรือนำมาประกอบอาหารชนิดอื่นๆ เช่น ผัด ต้มซุป ใส่แกงจืด ใช้ทำส้มตำแบบมะละกอ คั้นสดรับประทาน เป็นน้ำเพื่อสุขภาพ และช่วยเพิ่มสีสรรในจานอาหา\n</p>\n<p>\nการปฏิบัติดูแลรักษาแครอทในระยะต่างๆของการเจริญเติบโต<br />\nการเตรียมดิน ขุดดินตากแดด และโรยปูนขาวอัตราม 0-100 กรัม/ตร.ม. ไว้อย่างน้อย 14 วัน กำจัดวัชพืช ขึ้นแปลงกว้าง 1 ม.\n</p>\n<p>\nการเตรียมกล้า ปลูกโดยหยอดเมล็ด\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">การปลูก</span><br />\n1. ก่อนปลูกใส่ปุ๋ยสูตร 12-24-12 อัตรา 20-30 กรัม/ตร.ม. ลงในดิน ปรับหน้าแปลงให้เรียบ<br />\n2. ขีดร่องลึก 1 ซม. ขวางแปลงห่างกันร่องละ 15 ซม.<br />\n3. หยอดเมล็ดที่ละเมล็ดระยะห่าง 1 ซม. กลบเมล็ดแล้วรดน้ำให้ชุ่ม<br />\n4. การถอนแยก<br />\nครั่งที่ 1 หลังหยอดเมล็ด 15-20 วัน (มีใบจริง 3-5 ใบ) เหลือระยะปลูก 3 ซม.<br />\nครั้งที่ 2 หลังหยอดเมล็ด30-35 วัน (มีใบจริง 8-9 ใบ) เหลือระยะปลูก 5-8 ใบ<br />\nข้อควรระวัง  ช่วงแรกระวังมดคาบเมล็ดหรือแมลงกัดกินเมล็ด\n</p>\n<p>\nการให้น้ำ หลังปลูกรดน้ำให้ชุ่ม และให้น้ำทุกวันสม่ำเสมอ แต่อย่าให้น้ำขัง หัวจะเน่า\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">การให้ปุ๋ย<br />\n</span>1. หลังถอนแยกครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 30-50 กรัม/ตร.ม. พร้อมกำจัดวัชพืช<br />\n2. หลังการใส่ปุ๋ยครั้งแรก 15-20 วัน ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 ใช้สูตร 13-13-21 อัตรา 30-50 กรัม/ตร.ม. โรยในร่องลึก 2-3 ซม. ระหว่างแถวปลูก\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">การเก็บเกี่ยว</span><br />\n1. เมื่อมีอายุได้ 100-120 วัน<br />\n2. เก็บเกี่ยวโดยการขุดเมื่ออายุและขนาดเหมาะสม<br />\n3. ล้างรากให้สะอาด ผึ่งให้แห้งระวังอย่าให้ผิวถลอก\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff99\">ข้อควรระวัง</span><br />\n1. การหยอดเมล็ดอย่าให้เมล็ดที่หยอดติดกัน ระยะห่างประมาณ 1 ซม.<br />\n2. ควรให้น้ำสม่ำเสมออย่าให้แฉะเกินไป\n</p>\n<p>\nโรคแมลงศัตรูที่สำคัญของแครอทในระยะต่างๆของการเจริญเติบโต\n</p>\n<p>\nระยะหยอดเมล็ด-ถอนแยก ครั้งที่ 1 อายุ 15-20 วัน โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรครากปม,\n</p>\n<p>\nระยะถอนแยก ครั้งที่ 2 อายุ 30-35 วัน โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรครากปม, เสี้ยนดิน,\n</p>\n<p>\nระยะลงหัว 35-100 วัน โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรครากปม, เสี้ยนดิน, โรคหัวเน่า,\n</p>\n<p>\nระยะเก็บเกี่ยว 100-120 วัน โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรครากปม, เสี้ยนดิน, โรคหัวเน่า,\n</p>\n<p>\nที่มาของเนื้อหา <a href=\"http://www.vegetweb.com/แครอท-carrot/\">http://www.vegetweb.com/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%97-carrot/</a></p>\n', created = 1718524636, expire = 1718611036, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f683a224a1ef874b781f61aadcfd7de9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:417d4f51260a4332e6b95327699d5d5c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nดีมากๆเลย ถ้าแบ่งหน้าให้ถูกต้องอีกนิด\n</p>\n<p>\nขออีกนิด อย่าลืมอ้างแหล่งที่มาของภาพไว้ใต้ภาพ<br />\nและอ้างแหล่งที่มาของข้อมูลไว้ทุกหน้า<br />\nจะเป็นกำลังใจให้ แล้วจะมาดูอีกครั้ง\n</p>\n<p>\nอย่าลืมส่งประกวด <br />\nแต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u9/panda01.jpg\" height=\"294\" />\n</p>\n<p>\n-----------------------------------------------------------------------------------------<br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล<br />\nทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน\n</p>\n', created = 1718524636, expire = 1718611036, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:417d4f51260a4332e6b95327699d5d5c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พืช-ผัก

รูปภาพของ sss27418

แครอท

แหล่งที่มาของรูป http://nanalady.com/picture/1224325747.jpg

 อยู่ในวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae) มีถิ่นกำเนิด อยู่แถบเอเชียกลาง จนถึงทางตะวันออก ต่อมาได้เผยแพร่เข้าไปใน ยุโรป และประเทศจีน แครอทเป็นพืชสองฤดู โดยฤดูแรกเจริญทางต้น ใบ และราก  ฤดูที่สองจะเจริญทางดอก และเมล็ด ลักษณะลำต้นเป็นแผ่นใบ จะเจริญจากลำต้น เป็นกลุ่มมีก้านใบยาว  ประกอบด้วย เปลือกบาง(Periderm) และส่วนของเนื้อ(Cortex) ซึ่งประกอบด้วยท่ออาหาร และเป็นแหล่งเก็บ อาหารสำรอง ส่วนใหญ่อยู่ในรูป ของน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ 45-65% ของหัว เนือสีขาว เหลือง ส้ม แดง ม่วงและดำ ส่วนของแกน(inner core) ประกอบด้วย ท่อน้ำ(xylem) และแกน(pith) แครอท สายพันธุ์ที่มีคุณภาพสูง จะมีแกนขนาดเล็ก และมีสีเดียว กับเนื้อหรือมีส่วนของเนื้อ มากกว่าส่วนของแกน การปลูกฤดูที่สองเพื่อผลผลิตเมล็ดพันธุ์ลำต้นจะยืดตัว สร้างก้านดอกยาว 2-4 ฟุต บนยอดมีช่อดอก ซึ่งช่อแรกจะเจริญ จากส่วนกลางของลำต้น ต่อจากนั้นช่ออื่นๆ จะเจริญตาม การผสมเกสรจะเป็น แบบผสมข้าม ส่วนใหญ่ แมลงเป็นตัวช่วยผสมเกสร

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
แครอทเจริญได้ดีในเขตหนาว โดยทั่วไปอุณหภูมิ ที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโต อยู่ระหว่าง 25-28′C หากอุณหภูมิสูงกว่า 28′C จะทำให้การเจริญทางใบลดลง สำหรับอุณหภูมิ ที่เหมาะสมต่อการเจริญของหัวอยู่ระหว่าง 18-21′C หากมีความแตกต่างของอุณหภูมิ ระหว่างผิวดิน และระดับดินที่ลึกลงไป 10-15 เซนติเมตรมาก จะทำให้รูปทรงของหัว ไม่สม่ำเสมอ แครอทเป็นพืชที่ต้องการแสงมาก โดยเฉลี่ยวประมาณ 9-14 ชั่วโมง/วัน

แครอทเจริญได้ดีในดินละเอียด และร่วนซุย หน้าดินลึก มีอินทรีย์วัตถุสูง ระบายน้ำได้ดี ความเป็นกรด-ด่าง ของดิน 6.5-7.5 การปลูกในดินเหนียว หรือโครงสร้างดินแข็งจะทำให้หัวแตก มีรูปทรงผิดปกติ หาแปลง ปลูกมีความชื้นสูง หัวจะมี่แผลสีดำ

การใช้ประโยชน์และคุณค่าทางอาหาร
แครอท เป็นพืชที่อุดมไปด้วยสาร Beta carotene โดยเฉพาะบริเวณส่วนของเปลือกแก่ ซึ่งสามารถเปลี่ยน เป็นวิตามินเอสูง (11,000 IU) นอกจากนี้ยังมีวิตามินบี 1 บี 2 และวิตามินบี วิตามินเอ ช่วยทำให้ร่างกาย มีภูมิต้านทานโรคหวัด ป้องกันมะเร็ง ป้องกันอาการผิดปกติ ในกระดูก โรคผิวหนัง และรักษาสายตา

แครอท นิยมรับประทานสด ในสลัด หรือนำมาประกอบอาหารชนิดอื่นๆ เช่น ผัด ต้มซุป ใส่แกงจืด ใช้ทำส้มตำแบบมะละกอ คั้นสดรับประทาน เป็นน้ำเพื่อสุขภาพ และช่วยเพิ่มสีสรรในจานอาหา

การปฏิบัติดูแลรักษาแครอทในระยะต่างๆของการเจริญเติบโต
การเตรียมดิน ขุดดินตากแดด และโรยปูนขาวอัตราม 0-100 กรัม/ตร.ม. ไว้อย่างน้อย 14 วัน กำจัดวัชพืช ขึ้นแปลงกว้าง 1 ม.

การเตรียมกล้า ปลูกโดยหยอดเมล็ด

การปลูก
1. ก่อนปลูกใส่ปุ๋ยสูตร 12-24-12 อัตรา 20-30 กรัม/ตร.ม. ลงในดิน ปรับหน้าแปลงให้เรียบ
2. ขีดร่องลึก 1 ซม. ขวางแปลงห่างกันร่องละ 15 ซม.
3. หยอดเมล็ดที่ละเมล็ดระยะห่าง 1 ซม. กลบเมล็ดแล้วรดน้ำให้ชุ่ม
4. การถอนแยก
ครั่งที่ 1 หลังหยอดเมล็ด 15-20 วัน (มีใบจริง 3-5 ใบ) เหลือระยะปลูก 3 ซม.
ครั้งที่ 2 หลังหยอดเมล็ด30-35 วัน (มีใบจริง 8-9 ใบ) เหลือระยะปลูก 5-8 ใบ
ข้อควรระวัง  ช่วงแรกระวังมดคาบเมล็ดหรือแมลงกัดกินเมล็ด

การให้น้ำ หลังปลูกรดน้ำให้ชุ่ม และให้น้ำทุกวันสม่ำเสมอ แต่อย่าให้น้ำขัง หัวจะเน่า

การให้ปุ๋ย
1. หลังถอนแยกครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 30-50 กรัม/ตร.ม. พร้อมกำจัดวัชพืช
2. หลังการใส่ปุ๋ยครั้งแรก 15-20 วัน ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 ใช้สูตร 13-13-21 อัตรา 30-50 กรัม/ตร.ม. โรยในร่องลึก 2-3 ซม. ระหว่างแถวปลูก

การเก็บเกี่ยว
1. เมื่อมีอายุได้ 100-120 วัน
2. เก็บเกี่ยวโดยการขุดเมื่ออายุและขนาดเหมาะสม
3. ล้างรากให้สะอาด ผึ่งให้แห้งระวังอย่าให้ผิวถลอก

ข้อควรระวัง
1. การหยอดเมล็ดอย่าให้เมล็ดที่หยอดติดกัน ระยะห่างประมาณ 1 ซม.
2. ควรให้น้ำสม่ำเสมออย่าให้แฉะเกินไป

โรคแมลงศัตรูที่สำคัญของแครอทในระยะต่างๆของการเจริญเติบโต

ระยะหยอดเมล็ด-ถอนแยก ครั้งที่ 1 อายุ 15-20 วัน โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรครากปม,

ระยะถอนแยก ครั้งที่ 2 อายุ 30-35 วัน โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรครากปม, เสี้ยนดิน,

ระยะลงหัว 35-100 วัน โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรครากปม, เสี้ยนดิน, โรคหัวเน่า,

ระยะเก็บเกี่ยว 100-120 วัน โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรครากปม, เสี้ยนดิน, โรคหัวเน่า,

ที่มาของเนื้อหา http://www.vegetweb.com/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%97-carrot/

รูปภาพของ ssspoonsak

ดีมากๆเลย ถ้าแบ่งหน้าให้ถูกต้องอีกนิด

ขออีกนิด อย่าลืมอ้างแหล่งที่มาของภาพไว้ใต้ภาพ
และอ้างแหล่งที่มาของข้อมูลไว้ทุกหน้า
จะเป็นกำลังใจให้ แล้วจะมาดูอีกครั้ง

อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 539 คน กำลังออนไลน์