• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:78180b829b14d8b3172a857aeea03fbb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffff\"><strong>โรงละครปาเลส์ การ์นิเยร์ </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffff\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffff\"><strong>โรงละครหินอ่อนและทองคำ</strong></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"320\" src=\"/files/u7196/380px-Opera_Garnier_Grand_Escalier.jpg\" height=\"255\" />\n</div>\n</div>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://i180.photobucket.com/albums/x66/olacm/Jane2008/380px-Opera_Garnier_Grand_Escalier.jpg\"><span style=\"color: #00ccff\">http://i180.photobucket.com/albums/x66/olacm/Jane2008/380px-Opera_Garnier_Grand_Escalier.jpg</span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\">&quot;ปาเลส์ การ์นิเยร์&quot; นั้นนอกจากจะถูกเปรียบเป็นดั่งวิหารแห่งดุริยางคศิลป์และนาฏยลีลา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ด้วยความหรูหราของบันไดกลาง และตัวอาคารอันเป็นที่เลื่องลือ รวมทั้งความตระการตาของห้องชมการแสดงแล้ว </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">เหนืออื่นใดคือการเป็นโรงละครที่เต็มไปด้วยกิจกรรมต่างๆ ในฐานะเป็นที่ทำการของคณะบัลเล่ต์ แห่งโอเปร่าปารีส </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\">ความเป็นมาของโอเปร่าแห่งปารีส เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 28 มิถุนายน ปี 1669 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 มีพระบรมราชานุญาตให้ ปิแอร์ แปร์แร็ง ก่อตั้งวิทยาลัยดุริยางค์ขึ้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ก่อนจะเปลี่ยนเป็นราชวิทยาลัยดุริยางค์ในสมัยของลุลลิ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">โอเปร่าแห่งปารีส ใช้สถานที่ในเมืองหลวงเป็นที่ทำการไปแล้วมากมายหลายแห่ง รวมทั้งโรงละครปาเลส์ รัวยาล </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">และห้องเครื่องกลของปาเลส์ตุยเลอรี ก่อนที่จักรพรรดินโปเลียนที่ 3 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">จะทรงตัดสินพระทัยให้ก่อสร้างสถานที่ซึ่งจะเป็นปาเลส์ การ์นิเยร์ ขึ้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\">การก่อสร้างนี้อยู่ภายใต้แผนงานบูรณปฏิสังขรณ์กรุงปารีส ซึ่งมีบารอนโอสมานน์ เป็นแม่งานใหญ่ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">สถาปนิกหนุ่มวัย 35 ปีซึ่งไม่เป็นที่รู้จักนามว่า &quot;ชาร์ลส์ การ์นิเยร์&quot; </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">เป็นผู้ชนะการประกวดแบบโรงละครจากจำนวนผู้ส่งแบบประกวดทั้งสิ้น 171 คน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">งานก่อสร้างโรงละครแห่งนี้กินเวลานานถึง 15 ปี คือระหว่างปี 1860-1875 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">เพราะต้องหยุดชะงักจากเหตุสุดวิสัยนานัปการ อาทิ สงครามในปี 1870 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">การล่มสลายของระบอบจักรวรรดินิยม และระบอบคอมมูน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">แต่ท้ายที่สุดแล้วโรงละครก็เปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 15 มกราคม 1875 โดยประธานาธิบดีแม็ค มาอง เป็นผู้ทำพิธีเปิด </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">นับแต่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงก่อตั้งโอเปร่าแห่งปารีส เมื่อสร้างโรงละครปาเลส์ การ์นิเยร์ เสร็จเรียบร้อย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">จึงนับเป็นครั้งแรกที่คณะโอเปร่าได้มีโรงละครที่ออกแบบและก่อสร้างขึ้นเพื่อเป็นของตัวเองอย่างแท้จริง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">การ์นิเยร์ สร้างสถาปัตยกรรมยุคนโปเลียนที่ 3 ขึ้นด้วยการออกแบบงานให้ตรงข้ามกับงานแบบเก่าที่นิยมทำกันในยุคนั้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\">ผลงานของการ์นิเยร์ แม้ไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นงานสถาปัตยกรรมสกุลหนึ่ง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">แต่อย่างน้อยก็เป็นหนึ่งในสถาปัตยกรรมที่สวยงามที่สุดในสมัยจักรวรรดิที่สอง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ชานพักของบันไดกลาง ถือเป็นหนึ่งในจุดยอดนิยมของปาเลส์ การ์นิเยร์ สร้างจากหินอ่อนหลากสี </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">และแยกเป็นบันไดเวียนออกไปสองทาง ทางหนึ่งนำไปสู่ห้องพักนักแสดง ส่วนอีกทางนั้นทอดสู่ชั้นถัดไป </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">สำหรับห้องชมการแสดงนั้นตกแต่งด้วยสีแดงและสีทองอันแสนโอ่อ่า มีโคมไฟระย้าเปล่งแสงเจิดจ้าจากคริสตัล หนักถึง 8 ตัน<br />\n <br />\nส่วนเพดานห้องที่ชากาลได้ฝากฝีมือไว้ในปี 1964 ก็ช่วยขับให้บทละครโอเปร่า </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">และนาฏยลีลาชิ้นเอกทั้งหลายตรึงอยู่ในความทรงจำของผู้ชมยิ่งขึ้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\">ปัจจุบันนี้ปาเลส์ การ์นิเยร์ เป็นสถานที่ทำงานของเจ้าหน้าที่ประมาณ 70 คน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">รวมทั้งคณะบัลเล่ต์ของโอเปร่าแห่งปารีสที่มีชื่อเสียงระดับโลก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">คณะบัลเล่ต์นี้มี บริจิตต์ เลอแฟฟว์ เป็นผู้ควบคุม ประกอบด้วยนักบัลเล่ต์ 154 คน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">นักบัลเล่ต์ระดับผู้แสดงนำ 16 คน และระดับดาราอีก 13 คน แต่ละคนมีอายุโดยเฉลี่ยประมาณ 25 ปีเท่านั้น<br />\n <br />\nนักเต้นส่วนใหญ่จบการศึกษาจากโรงเรียนสอนเต้นของโอเปร่า ซึ่งจัดการสอนทั้งด้านศิลปะและวิชาการให้แก่บรรดานักเต้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">และเป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าร่วมแข่งขันคัดตัวของคณะบัลเล่ต์ด้วย<br />\n <br />\nนอกจากนี้ยังมีแผนกโอเปร่า อันเป็นแหล่งบ่มเพาะนักร้องและนักเปียโนเยาวชน ที่ใฝ่ฝันจะยืนอยู่แถวหน้าสำหรับงานอาชีพนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">โอเปร่าแห่งปารีส ยังมีวงออเคสตราชั้นนำของโลกที่รวมนักดนตรีไว้ถึง 174 ชีวิต มีคณะนักร้องประสานเสียง 102 คน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">นักดนตรีฝีมือดีและเป็นแหล่งรวมบทโอเปร่าเรื่องยิ่งใหญ่ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีอีกมากมาย</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ccff\"><em>อ้างอิง </em> </span><a href=\"http://board.palungjit.com/f6/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B9%8C-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B3-37511.html\"><span style=\"color: #00ccff\">http://board.palungjit.com/f6/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B9%8C-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B3-37511.html</span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719108533, expire = 1719194933, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:78180b829b14d8b3172a857aeea03fbb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

:: Diary Of French บันทึกประเทศฝรั่งเศส ::

รูปภาพของ sss27174

 

 

 

โรงละครปาเลส์ การ์นิเยร์

โรงละครหินอ่อนและทองคำ

 

 http://i180.photobucket.com/albums/x66/olacm/Jane2008/380px-Opera_Garnier_Grand_Escalier.jpg

 


"ปาเลส์ การ์นิเยร์" นั้นนอกจากจะถูกเปรียบเป็นดั่งวิหารแห่งดุริยางคศิลป์และนาฏยลีลา

ด้วยความหรูหราของบันไดกลาง และตัวอาคารอันเป็นที่เลื่องลือ รวมทั้งความตระการตาของห้องชมการแสดงแล้ว

เหนืออื่นใดคือการเป็นโรงละครที่เต็มไปด้วยกิจกรรมต่างๆ ในฐานะเป็นที่ทำการของคณะบัลเล่ต์ แห่งโอเปร่าปารีส


ความเป็นมาของโอเปร่าแห่งปารีส เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 28 มิถุนายน ปี 1669

เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 มีพระบรมราชานุญาตให้ ปิแอร์ แปร์แร็ง ก่อตั้งวิทยาลัยดุริยางค์ขึ้น

ก่อนจะเปลี่ยนเป็นราชวิทยาลัยดุริยางค์ในสมัยของลุลลิ

โอเปร่าแห่งปารีส ใช้สถานที่ในเมืองหลวงเป็นที่ทำการไปแล้วมากมายหลายแห่ง รวมทั้งโรงละครปาเลส์ รัวยาล

และห้องเครื่องกลของปาเลส์ตุยเลอรี ก่อนที่จักรพรรดินโปเลียนที่ 3

จะทรงตัดสินพระทัยให้ก่อสร้างสถานที่ซึ่งจะเป็นปาเลส์ การ์นิเยร์ ขึ้น


การก่อสร้างนี้อยู่ภายใต้แผนงานบูรณปฏิสังขรณ์กรุงปารีส ซึ่งมีบารอนโอสมานน์ เป็นแม่งานใหญ่

สถาปนิกหนุ่มวัย 35 ปีซึ่งไม่เป็นที่รู้จักนามว่า "ชาร์ลส์ การ์นิเยร์"

เป็นผู้ชนะการประกวดแบบโรงละครจากจำนวนผู้ส่งแบบประกวดทั้งสิ้น 171 คน

งานก่อสร้างโรงละครแห่งนี้กินเวลานานถึง 15 ปี คือระหว่างปี 1860-1875

เพราะต้องหยุดชะงักจากเหตุสุดวิสัยนานัปการ อาทิ สงครามในปี 1870

การล่มสลายของระบอบจักรวรรดินิยม และระบอบคอมมูน

แต่ท้ายที่สุดแล้วโรงละครก็เปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 15 มกราคม 1875 โดยประธานาธิบดีแม็ค มาอง เป็นผู้ทำพิธีเปิด

นับแต่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงก่อตั้งโอเปร่าแห่งปารีส เมื่อสร้างโรงละครปาเลส์ การ์นิเยร์ เสร็จเรียบร้อย

จึงนับเป็นครั้งแรกที่คณะโอเปร่าได้มีโรงละครที่ออกแบบและก่อสร้างขึ้นเพื่อเป็นของตัวเองอย่างแท้จริง

การ์นิเยร์ สร้างสถาปัตยกรรมยุคนโปเลียนที่ 3 ขึ้นด้วยการออกแบบงานให้ตรงข้ามกับงานแบบเก่าที่นิยมทำกันในยุคนั้น


ผลงานของการ์นิเยร์ แม้ไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นงานสถาปัตยกรรมสกุลหนึ่ง

แต่อย่างน้อยก็เป็นหนึ่งในสถาปัตยกรรมที่สวยงามที่สุดในสมัยจักรวรรดิที่สอง

ชานพักของบันไดกลาง ถือเป็นหนึ่งในจุดยอดนิยมของปาเลส์ การ์นิเยร์ สร้างจากหินอ่อนหลากสี

และแยกเป็นบันไดเวียนออกไปสองทาง ทางหนึ่งนำไปสู่ห้องพักนักแสดง ส่วนอีกทางนั้นทอดสู่ชั้นถัดไป

สำหรับห้องชมการแสดงนั้นตกแต่งด้วยสีแดงและสีทองอันแสนโอ่อ่า มีโคมไฟระย้าเปล่งแสงเจิดจ้าจากคริสตัล หนักถึง 8 ตัน
 
ส่วนเพดานห้องที่ชากาลได้ฝากฝีมือไว้ในปี 1964 ก็ช่วยขับให้บทละครโอเปร่า

และนาฏยลีลาชิ้นเอกทั้งหลายตรึงอยู่ในความทรงจำของผู้ชมยิ่งขึ้น


ปัจจุบันนี้ปาเลส์ การ์นิเยร์ เป็นสถานที่ทำงานของเจ้าหน้าที่ประมาณ 70 คน

รวมทั้งคณะบัลเล่ต์ของโอเปร่าแห่งปารีสที่มีชื่อเสียงระดับโลก

คณะบัลเล่ต์นี้มี บริจิตต์ เลอแฟฟว์ เป็นผู้ควบคุม ประกอบด้วยนักบัลเล่ต์ 154 คน

นักบัลเล่ต์ระดับผู้แสดงนำ 16 คน และระดับดาราอีก 13 คน แต่ละคนมีอายุโดยเฉลี่ยประมาณ 25 ปีเท่านั้น
 
นักเต้นส่วนใหญ่จบการศึกษาจากโรงเรียนสอนเต้นของโอเปร่า ซึ่งจัดการสอนทั้งด้านศิลปะและวิชาการให้แก่บรรดานักเต้น

และเป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าร่วมแข่งขันคัดตัวของคณะบัลเล่ต์ด้วย
 
นอกจากนี้ยังมีแผนกโอเปร่า อันเป็นแหล่งบ่มเพาะนักร้องและนักเปียโนเยาวชน ที่ใฝ่ฝันจะยืนอยู่แถวหน้าสำหรับงานอาชีพนี้

โอเปร่าแห่งปารีส ยังมีวงออเคสตราชั้นนำของโลกที่รวมนักดนตรีไว้ถึง 174 ชีวิต มีคณะนักร้องประสานเสียง 102 คน

นักดนตรีฝีมือดีและเป็นแหล่งรวมบทโอเปร่าเรื่องยิ่งใหญ่ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีอีกมากมาย

 

อ้างอิง  http://board.palungjit.com/f6/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B9%8C-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B3-37511.html

 

 

 

รูปภาพของ sss27190

สวยจังเลยๆๆๆ

^-^

อิอิ

เด๋วเราทำเส็ดแล้วมาเม้นให้มั้งนะๆๆ

5555555

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 498 คน กำลังออนไลน์