• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:612114c7787afc104e38cc6d54957f66' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffff\"><strong>วิหารโนเตรอดาม</strong></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"350\" src=\"/files/u7196/38_20080530164603_.jpg\" height=\"326\" />\n</div>\n</div>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://images.thaiza.com/38/38_20080530164603..jpg\"><span style=\"color: #00ccff\">http://images.thaiza.com/38/38_20080530164603..jpg</span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">มหาวิหารโนเตรอดาม (ภาษาฝรั่งเศส: Notre-Dame de Paris หรือรู้จักกันสั้นๆว่า Notre Dame) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">เป็นมหาวิหารสมัยกอธิค ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">คำว่า Notre Dame ในชื่อวัดนั้นแปลว่า &quot;Our Lady&quot; </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ปัจจุบันมหาวิหารก็ยังใช้เป็นวัดของนิกายโรมันคาทอลิกและเป็นที่นั่งของอาร์คบิชอปแห่งปารีส </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">มหาวิหารโนเตรอดามถือกันว่าเป็นวัดทีที่สวยงามที่สุดในลักษณะกอธิคแบบฝรั่งเศส </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">วัดนี้ได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์โดยเออแชน วีโยเล-เลอ-ดุก (Eugène Viollet-le-Duc) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ผู้เป็นสถาปนิกคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของฝรั่งเศส</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"400\" src=\"/files/u7196/1216908776.jpg\" height=\"285\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://www.bloggang.com/data/travelaround/picture/1216908776.jpg\"><span style=\"color: #00ccff\">http://www.bloggang.com/data/travelaround/picture/1216908776.jpg</span>  </a>\n</div>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\">การก่อสร้างเป็นแบบกอธิคเป็นมหาวิหารแรกที่สร้างในลักษณะนี้ และการก่อสร้างก็ทำต่อเนื่องมาตลอดสมัยกอธิค </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ปฏิมากรรม และหน้าต่างประดับกระจกสี (stained glass) มีอิทธิพลจากศิลปะแบบแนทเชอราลลิสม์ (Naturalism) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ทำให้แตกต่างจาก ศิลปะโรมาเนสก์ที่สร้างก่อนหน้านั้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">โนเตรอดามเป็นหนึ่งในบรรดาสิ่งก่อสร้างแรกที่ใช้ &quot;กำแพงค้ำยันแบบปีกนก&quot; (flying buttress) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ตามแบบเดิมไม่ได้บ่งถึงกำแพงค้ำยันรอบมหาวิหาร &quot;Choir&quot; หรือ รอบทางเดินกลางของตัววัด (nave) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">เมื่อเริ่มสร้างกำแพงวัดสูงขึ้นกำแพงก็เริ่มร้าวเพราะน้ำหนักของสิ่งก่อสร้าง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">เพราะสถาปนิกสมัยกอธิคจะเน้นการสร้างสิ่งก่อสร้างที่สูง บาง และโปร่ง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">เมื่อสร้างสูงขึ้นไปกำแพงก็ไม่สามารถรับน้ำหนักและความกดดันของกำแพงและหลังคาได้ทำให้กำแพงโก่งออกไปและร้าว </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">สถาปนิกจึงใช้วิธีแก้ด้วยการเติม &quot;กำแพงค้ำยัน&quot; ที่กางออกไปคล้ายปีกนกด้านนอกตัววัด </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">เพื่อให้กำแพงค้ำยันนี้หนุนหรือค้ำกำแพงตัววัดเอาไว้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">เมื่อทำไปแล้วนอกจากจะมีประโยชน์ทางการใช้สอยแล้วยังกลายเป็นเครื่องตกแต่งที่ทำให้สิ่งก่อสร้างความสวยงามขึ้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ฉนั้นวิธีแก้ปัญหานี้จึงกลายเป็นเอกลักษณ์ส่วนหนึ่งของวัดที่สร้างแบบกอธิคไปในตัว </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\">ราวปี ค.ศ. 1790s ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสวัดก็ได้รับความเสียหายอย่างหนัก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ประติมากรรมและศิลปะทางศาสนาถูกทำลายไปมาก มหาวิหารได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">จนมีสภาพเหมือนก่อนหน้าที่ถูกทำลาย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">การก่อสร้าง  เมื่อปี ค.ศ. 1160 บาทหลวงมอรีซ เดอ ซุลยี (Maurice de Sully) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ได้รับแต่งตั้งให้เป็นบาทหลวงแห่งปารีส ท่านเห็นว่าวัดที่ตั้งอยู่เดิมไม่สมฐานะจึงสั่งให้รื้อทิ้งไม่นานหลังจากที่ท่านได้รับตำแหน่งใหม่ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ตามตำนานว่ากันว่าบาทหลวงเห็นภาพพจน์ของมหาวิหารแห่งปารีสอันสวยงาม ท่านจึงรีบร่างแบบที่เห็นไว้บนทรายนอกวัดเดิม </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ก่อนจะสร้างวิหารใหม่ก็ต้องรื้อบ้านเรือนบริเวณนั้นออกไปหลายหลัง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">และต้องสร้างถนนใหม่เพื่อจะได้สะดวกต่อการขนวัสดุก่อสร้างได้สะดวก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">มหาวิหารเริ่มสร้างเมื่อปี ค.ศ. 1163 ระหว่างรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 ตั้งแต่นั้นมาบาทหลวงซุลยีก็อุทิศชีวิตให้กับการสร้างมหาวิหารนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">เริ่มการก่อสร้างทางด้านตะวันตก (west front) ซึ่งมีหอคอยสองหอ เมื่อราวปี ค.ศ. 1200 ก่อนที่จะสร้างโถงกลางของตัววัดเสร็จ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ซึ่งไม่ตรงกับหลักการสร้างสิ่งก่อสร้างตามแบบฉบับ วัดนี้มีสถาปนีกหลายคนที่มีส่วนในการก่อสร้าง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">จะเห็นได้จากความเปลี่ยนแปลงของรูปทรงไปตามสมัยนิยมของสถาปนิก เป็นต้นว่าหอสองหอทางด้านตะวันตกจะไม่เท่ากัน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ระหว่างปี ค.ศ. 1210 ค.ศ. 1220 สถาปนิกคนที่สี่เป็นผู้ดุแลการสร้างระดับหน้าต่างกุหลาบ และโถงภายใต้หอ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">หอสร้างเสร็จเมื่อปี ค.ศ. 1245 และมหาวิหารเมื่อปี ค.ศ. 1345</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #00ccff\"><em>อ้างอิง</em> </span><a href=\"http://my1.dek-d.com/niamo/diary/?id=334953\"><span style=\"color: #00ccff\">http://my1.dek-d.com/niamo/diary/?id=334953</span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727201892, expire = 1727288292, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:612114c7787afc104e38cc6d54957f66' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

:: Diary Of French บันทึกประเทศฝรั่งเศส ::

รูปภาพของ sss27174

 

 

 

วิหารโนเตรอดาม

 

 

 http://images.thaiza.com/38/38_20080530164603..jpg

 

มหาวิหารโนเตรอดาม (ภาษาฝรั่งเศส: Notre-Dame de Paris หรือรู้จักกันสั้นๆว่า Notre Dame)

เป็นมหาวิหารสมัยกอธิค ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

คำว่า Notre Dame ในชื่อวัดนั้นแปลว่า "Our Lady"

ปัจจุบันมหาวิหารก็ยังใช้เป็นวัดของนิกายโรมันคาทอลิกและเป็นที่นั่งของอาร์คบิชอปแห่งปารีส

มหาวิหารโนเตรอดามถือกันว่าเป็นวัดทีที่สวยงามที่สุดในลักษณะกอธิคแบบฝรั่งเศส

วัดนี้ได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์โดยเออแชน วีโยเล-เลอ-ดุก (Eugène Viollet-le-Duc)

ผู้เป็นสถาปนิกคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของฝรั่งเศส

 

 


การก่อสร้างเป็นแบบกอธิคเป็นมหาวิหารแรกที่สร้างในลักษณะนี้ และการก่อสร้างก็ทำต่อเนื่องมาตลอดสมัยกอธิค

ปฏิมากรรม และหน้าต่างประดับกระจกสี (stained glass) มีอิทธิพลจากศิลปะแบบแนทเชอราลลิสม์ (Naturalism)

ทำให้แตกต่างจาก ศิลปะโรมาเนสก์ที่สร้างก่อนหน้านั้น

โนเตรอดามเป็นหนึ่งในบรรดาสิ่งก่อสร้างแรกที่ใช้ "กำแพงค้ำยันแบบปีกนก" (flying buttress)

ตามแบบเดิมไม่ได้บ่งถึงกำแพงค้ำยันรอบมหาวิหาร "Choir" หรือ รอบทางเดินกลางของตัววัด (nave)

เมื่อเริ่มสร้างกำแพงวัดสูงขึ้นกำแพงก็เริ่มร้าวเพราะน้ำหนักของสิ่งก่อสร้าง

เพราะสถาปนิกสมัยกอธิคจะเน้นการสร้างสิ่งก่อสร้างที่สูง บาง และโปร่ง

เมื่อสร้างสูงขึ้นไปกำแพงก็ไม่สามารถรับน้ำหนักและความกดดันของกำแพงและหลังคาได้ทำให้กำแพงโก่งออกไปและร้าว

สถาปนิกจึงใช้วิธีแก้ด้วยการเติม "กำแพงค้ำยัน" ที่กางออกไปคล้ายปีกนกด้านนอกตัววัด

เพื่อให้กำแพงค้ำยันนี้หนุนหรือค้ำกำแพงตัววัดเอาไว้

เมื่อทำไปแล้วนอกจากจะมีประโยชน์ทางการใช้สอยแล้วยังกลายเป็นเครื่องตกแต่งที่ทำให้สิ่งก่อสร้างความสวยงามขึ้น

ฉนั้นวิธีแก้ปัญหานี้จึงกลายเป็นเอกลักษณ์ส่วนหนึ่งของวัดที่สร้างแบบกอธิคไปในตัว


ราวปี ค.ศ. 1790s ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสวัดก็ได้รับความเสียหายอย่างหนัก

ประติมากรรมและศิลปะทางศาสนาถูกทำลายไปมาก มหาวิหารได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19

จนมีสภาพเหมือนก่อนหน้าที่ถูกทำลาย

การก่อสร้าง  เมื่อปี ค.ศ. 1160 บาทหลวงมอรีซ เดอ ซุลยี (Maurice de Sully)

ได้รับแต่งตั้งให้เป็นบาทหลวงแห่งปารีส ท่านเห็นว่าวัดที่ตั้งอยู่เดิมไม่สมฐานะจึงสั่งให้รื้อทิ้งไม่นานหลังจากที่ท่านได้รับตำแหน่งใหม่

ตามตำนานว่ากันว่าบาทหลวงเห็นภาพพจน์ของมหาวิหารแห่งปารีสอันสวยงาม ท่านจึงรีบร่างแบบที่เห็นไว้บนทรายนอกวัดเดิม

ก่อนจะสร้างวิหารใหม่ก็ต้องรื้อบ้านเรือนบริเวณนั้นออกไปหลายหลัง

และต้องสร้างถนนใหม่เพื่อจะได้สะดวกต่อการขนวัสดุก่อสร้างได้สะดวก

มหาวิหารเริ่มสร้างเมื่อปี ค.ศ. 1163 ระหว่างรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 ตั้งแต่นั้นมาบาทหลวงซุลยีก็อุทิศชีวิตให้กับการสร้างมหาวิหารนี้

เริ่มการก่อสร้างทางด้านตะวันตก (west front) ซึ่งมีหอคอยสองหอ เมื่อราวปี ค.ศ. 1200 ก่อนที่จะสร้างโถงกลางของตัววัดเสร็จ

ซึ่งไม่ตรงกับหลักการสร้างสิ่งก่อสร้างตามแบบฉบับ วัดนี้มีสถาปนีกหลายคนที่มีส่วนในการก่อสร้าง

จะเห็นได้จากความเปลี่ยนแปลงของรูปทรงไปตามสมัยนิยมของสถาปนิก เป็นต้นว่าหอสองหอทางด้านตะวันตกจะไม่เท่ากัน

ระหว่างปี ค.ศ. 1210 ค.ศ. 1220 สถาปนิกคนที่สี่เป็นผู้ดุแลการสร้างระดับหน้าต่างกุหลาบ และโถงภายใต้หอ

หอสร้างเสร็จเมื่อปี ค.ศ. 1245 และมหาวิหารเมื่อปี ค.ศ. 1345

 


อ้างอิง http://my1.dek-d.com/niamo/diary/?id=334953

 

 

 

รูปภาพของ sss27190

สวยจังเลยๆๆๆ

^-^

อิอิ

เด๋วเราทำเส็ดแล้วมาเม้นให้มั้งนะๆๆ

5555555

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 421 คน กำลังออนไลน์