• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '52.14.143.137', 0, '329745018a55dd7f8b2fcfe88a2dfe80', 129, 1716188193) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e1c38375c8f2fc823c06fb1a2d0342e5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #ff6600\">การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยและการใช้หลักฐาน</span></b>\n</div>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"300\" src=\"/files/u10503/DSCF9976.jpg\" height=\"225\" />\n</p>\n<div align=\"center\">\nที่มา : ภาพถ่ายระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดา โดยครูรุจน์ หาเรือนทรง\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #0000ff\">การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยก่อนรัชกาลที่ 4และการใช้หลักฐานประวัติศาสตร์</span></b>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"></span><br />\n<b><span style=\"color: #008000\">1. แนวทางการเขียนประวัติศาสตร์แบบตำนานและการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์</span></b><br />\nตำนาน – อยู่ในรูปของมุขปาฐะหรือคำบอกเล่า ไม่ให้ความสำคัญกับการตรวจสอบหลักฐานเพราะเชื่อว่าเป็นเรื่องจริง ตำนานมี 3 ประเภท<br />\n1)ตำนานวีรบุรุษหรือบรรพบุรุษ-เล่าเรื่องผู้นำที่ยิ่งใหญ่ในอดีต เพื่อสืบทอดการเคารพนับถือและพีธีกรรมกราบไหว้บูชาบรรพบุรุษหรือวีรบุรุษของคนรุ่นต่อๆไปภายใต้ลัทธิการบูชาบรรพบุรุษ<br />\n2)ตำนานเชื้อสายตระกูลผู้นำหรือวงศ์ตระกูล- การลำดับเชื้อสายตระกูลเพื่อยืนยันสิทธิในทรัพย์สิน สถานะทางสังคมและการเมืองของตระกูล “การสร้างบ้านแปงเมือง”<br />\n3)ตำนานประวัติศาสตร์สากลของพระพุทธศาสนา-แนวคิดที่ว่า “ทุกสรรพสิ่งอยู่ในกฎธรรมชาติ 3 ประการ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา กระบานการทางประวัติศาสตร์ดำเนินจากอดีต ปัจจุบัน อนาคตไปตามธรรมชาติไม่มีผู้ใดกำหนด” ลักษณะสำคัญ คือ <br />\n-ไม่มีจุดเริ่มต้นและไม่มีจุดสิ้นสุด วีถีประวัติศาสตร์เป็นไปตามธรรมชาติ<br />\n-แกนกลางคือจักรพรรดิราชหรือธรรมราชา (พระโพธิสัตว์)เป็นผู้มีบทบาทในการจรรโลงโลกในอยู่ในธรรม <br />\n-กำหนดช่วงเวลาเฉพาะในสมัยพระพุทธเจ้าสมณโคดม<br />\n-มีความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริย์กับพุทธศาสนา กล่าวถึงกษัตริย์ในอาณาจักรต่างๆ ในโลก ที่ให้การอุปถัมภ์พุทธศาสนา<br />\n*ส่วนที่คล้ากันของตำนานทั้ง 3 ประเภทคือ เป็นเรื่องเล่า มีกษัตริย์เป็นศูนย์กลาง<br />\n<b><span style=\"color: #008000\"><br />\n2. แนวทางการเขียนประวัติศาสตร์แบบพระราชพงศาวดารและการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์</span></b><br />\nพระราชพงศาวดาร-กรอบแนว “ความคิด”แบบตำนานเชื้อสายตระกูลผู้นำเกิดในสมัยอยุธยา + ตำนานประวัติศาสตร์สากลของพระพุทธศาสนา + แนวคิดเกี่ยวกับกษัตริย์ของอยุธยาเอง<br />\n1) หลักฐาน<br />\n-หลักฐานในการเขียน ได้แก่ เอกสารราชการ เช่น กฎหมาย จดหมายเหตุ จดหมายรายวันทัพ ปูมโหร<br />\n-จดหมายเหตุ คือ บันทึกเหตุการณ์ที่ล่วงไปแล้ว โดยเหตุการณ์ที่บันทึกนั้นมักจะเป็นเหตุการณ์เดียว<br />\n-ปูมโหร บันทึกเหตุการณ์ที่พวกโหรจดบันทึกไว้ในเวลาที่เกิดเหตุการณ์หนึ่งๆในทันที<br />\n2) วิธีการใช้หลักฐานและการเขียน<br />\n-เริ่มมีการตรวจสอบหลักฐานในสมัยรัตนโกสินทร์ เพราะมีการค้ากว้างขวางจำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์จริงในการอธิบายประวัติศาสตร์(ไม่ใช้อธิบายตามกฎธรรมชาติของศาสนาพุทธ)<br />\n-เน้นความเป็นราชาธิราช ของกษัตริย์ไทย เน้นเรื่องเฉพาะกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาตามลำดับรัชกาล\n</p>\n<div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #0000ff\">การศึกษาประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยรัชการที่ 4 ถึงสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 และการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์</span></b>\n</div>\n<p>\n<b><span style=\"color: #008000\">1. ความเปลี่ยนแปลงทางภูมิปัญญาที่มีผลต่อวิธีการใช้หลักฐาน</span></b><br />\n1.1 สาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางภูมิปัญญา “มนุษย์เป็นผู้กำหนดวิถีประวัติศาสตร์”<br />\n- การขยายตัวของการค้าและการผลิตเพื่อขาย ทำให้ผู้ประกอบการอันได้แก่ชนชั้นสูงให้ความสำคัญกับการสะสมทรัพย์สินเงินทอง แสวงหาความสุขและความสำเร็จทางโลก เป้าหมายชีวิตตามคติพระพุทธศาสนา ได้แก่ การเกิดในสวรรค์หรือการบรรลุนิพพานลดความสำคัญลง ให้ความสำคัญกับชีวิตมนุษย์มากขึ้น โดยเชื่อว่ามนุษย์มีศักยภาพและความสามารถไม่จำเป็นต้องพึ่งพาอำนาจเหนือธรรมชาติ<br />\n1.2 การให้ความสำคัญกับหลักฐาน<br />\n-เน้นให้ความสำคัญแก่ความจริงตามประสบการณ์ <br />\n-ตรวจสอบหลักฐานว่า เรื่องใดเป็นเรื่องจริง-เท็จ ตามมาตรฐานของความจริง จะต้องผ่านการพิสูจน์จนประจักษ์ได้ด้วยประสบการณ์มนุษย์<br />\n-นำวิธีทางวิทยาศาสตร์ของมิชชันนารีเข้ามาพิสูจน์<br />\n-แสวงหาข้อมูลใหม่<br />\n<b><span style=\"color: #008000\">2.ความเปลี่ยนแปลงทางภูมิปัญญาที่มีผลต่อวิธีการเขียนประวัติศาสตร์</span></b><br />\n1) ความเปลี่ยนแปลงของความคิดทางเวลา<br />\n-สมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้นเชื่อว่าต้นอยู่ในโลกที่กำลังเสื่อม แต่การให้ความสำคัญตามประสบการณ์จริง เชื่อว่าสังคมเจริญขึ้น เพราะความคิดและการกระทำของมนุษย์ไม่ใช่เสื่อมลง<br />\n2)ความคิดเกี่ยวกับกษัตริย์และรัฐ<br />\n- รัฐ : มีขอบเขตที่แน่นนอน ประชาชนทั้งหลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของรัฐ<br />\n- กษัตริย์ : มิได้เห็นว่ามนุษย์ทุกคนมีบทบาทร่วมกันในการกำหนดวิถีประวัติศาสตร์ แต่เชื่อว่ากษัตริย์เป็นผู้เดียวที่กำหนดวิถีประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง<br />\n3) แนวการเขียน <br />\n-แนวการเขียนประวัติศาสตร์ชาติไทย เน้นอดีตที่มีความเจริญรุ่งเรืองเป็นเวลายาวนานของชาติไทย<br />\n-เห็นว่าประวัติศาสตร์ชาติไทยไม่ได้เริ่มที่อยุธยา แต่มีมาก่อนหน้านี้<br />\n-ลักษณะสำคัญคือการอธิบายสาเหตุและผลกระทบ กษัตริย์เป็นผู้กำหนดวิถีประวัติศาสตร์<br />\n*ในที่สุดเกิดความสำนึกในเรื่องเชื้อชาติ ซึ่งเป็นผลรวมของทุกสิ่งและทุกคนในรัฐ</p>\n<p><b><span style=\"color: #008000\">3. แนวการเขียนประวัติศาสตร์ชาติไทย</span></b><br />\nมีการใช้หลักฐานอย่างกว้างขวาง และหลักฐานใหม่ เช่น จารึก โบราณสถาน เอกสารชาวต่างชาติ แต่ไม่เคร่งครัดต่อการตรวจสอบและประคุณค่า เพราะ <br />\n1)ผู้ศึกษาไม่ใช่นักประวัติศาสตร์อาชีพแต่เป็นนักปกครอง เช่น กรมพระยาดำรงฯ<br />\n2)มีจุดมุ่งหมายอยู่ที่การยืนยันและเสริมสร้างความชอบธรรมให้กษัตริย์ทำให้เกิดการเลือกสรรหลักฐานที่มีขอบเขตของจุดมุ่งหมายดังกล่าว\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>ที่มา </b></span>: ครูรุจน์ หาเรือนทรง สรุปจากเอกสารประกอบการสอนชุดวิชาประวัติศาสตร์ไทย - 10201 (มสธ)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><b><span style=\"color: #0000ff\">การศึกษาประวัติศาสตร์ตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึง พ.ศ.2510 และการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์</span></b>\n</p></div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img width=\"300\" src=\"/files/u10503/DSCF0051.jpg\" height=\"225\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา : ภาพถ่ายโลหะปราสาท วัดราชนัดดาฯ โดยครูรุจน์ หาเรือนทรง\n</div>\n<p>\n<b><span style=\"color: #008000\">1. แนวการเขียนประวัติศาสตร์ไทยแบบมาร์กซิสต์</span></b><br />\n1.1 กรอบแนวคิด<br />\n-พฤติกรรมที่สำคัญที่สุดของมนุษย์ คือ การผลิตอาหารและสิ่งของเครื่องใช้เพื่อการดำรงชีวิต ดั้งนั้น พฤติกรรมทางเศรษฐกิจจึงเป็นเงื่อนไขพื้นฐานสำคัญที่จะกำหนดลักษณะความสัมพันธ์ทางสังคมของมนุษย์ทุกๆด้าน<br />\n-วิถีการผลิต(Mode of Production) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างพลังการผลิตกับความสัมพันธ์ทางการผลิตในยุคหนึ่งๆ<br />\n-พลังการผลิต ได้แก่ เครื่องมือหรือเทคโนโลยีในการผลิต แรงงานทั้งความรู้ ความคิดของคนที่ใช่ในการผลิตนั้น<br />\n-ความสัมพันธ์ทางการผลิต คือ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้แรงงานในการผลิตกับผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ได้แก่ ที่ดิน เงินทุน เครื่องมือ เป็นต้น<br />\n1.2 ลักษณะสำคัญ<br />\n-การเปลี่ยนแปลงจากสังคมบุพกาล เป็นสังคมทาส สังคมศักดินา และทุนนิยมตามลำดับสังคมมีวิวัฒนาการเป็นเส้นตรง<br />\n-แต่ละยุคประชาชนเป็นผู้ทำการผลิตและถูกขูดรีด<br />\n-เน้นบทบาทของกษัตริย์ในการเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและเป็นผู้ได้รับแรงงานและผลผลิตส่วนเกินในรูปของการเกณฑ์แรงงานและภาษีอากร<br />\n1.3 ข้อบกพร่อง<br />\n-เน้นแต่ด้านเศรษฐกิจไม่สนใจการคลี่คลายของความสลับซับซ้อนและความหลากหลายของความสัมพันธ์ทางสังคมของมนุษย์<br />\n-ไม่สนใจอธิบายวิวัฒนาการของสังคมทำให้ขาดภาพความเคลื่อนไหว</p>\n<p><b><span style=\"color: #008000\">2. การใช้หลักฐานการเขียนประวัติศาสตร์ไทยแบบมาร์กซิสต์</span></b><br />\n2.1 การใช้หลักฐาน<br />\n-เลือกหลักฐานเฉพาะที่สอดคล้องกับความคิดของตน เพื่อยืนยันทฤษฎี จึงไม่เคร่งครัดต่อการตรวจสอบหลักฐาน<br />\n-มักจะเลือกกฎหมายที่ตราขึ้นในสมัยอยุธยาเป็นหลัก<br />\n-ใช้จดหมายและบันทึกของชาวตะวันตก<br />\n2.2 จิตร ภูมิศักดิ์(สมสมัย ศรีศูทรพรรณ)<br />\n-ในระยะแรกมีการศึกษาโดยใช้กรอบทฤษฎีตายตัว ต่อมาเริ่มใช้หลักฐานท้องถิ่นอย่างหลากหลายและใช้วิธีการของศาสตร์ต่างๆ หลายสาขาเพื่อช่วยตีความและประเมินคุณค่าหลักฐาน\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>ที่มา </b></span>: ครูรุจน์ หาเรือนทรง สรุปจากเอกสารประกอบการสอนชุดวิชาประวัติศาสตร์ไทย - 10201 (มสธ)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><b><span style=\"color: #0000ff\">ลักษณะทั่วไปของการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยในปัจจุบัน</span></b>\n</p></div>\n<p>\n1.แนวคิดว่าการอธิบายความเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย เกิดจากพลังทางสังคม เช่น เศรษฐกิจ วัฒนธรรม เทคโนโลยี ฯลฯ โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยทางเศรษฐกิจ<br />\n2.จุดมุ่งหมาย – มุ่งที่จะเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสังคม ซึ่งต้องเข้าใจคนทุกกลุ่มไม่เฉพาะชนชั้นนำเท่านั้น<br />\nแนวการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยแนวทางต่างๆ<br />\n1. แนวประวัติศาสตร์ชาติ<br />\nเดิมศึกษาในกรอบแนวคิด เรื่องกษัตริย์เป็นผู้กำหนดวิถีประวัติศาสตร์ ต่อมาก็จะเน้นบทบาทของผู้นำทางการเมือง เช่น จอมพล ป. และพัฒนามาศึกษาประวัติศาสตร์ของประชาชนอย่างไรก็ตามผู้เขียนยังคงกล่าวถึงสภาพที่ประชาชนถูกกำหนดโดยกษัตริย์เท่านั้น<br />\n2.แนวเศรษฐศาสตร์การเมือง<br />\n-ใช้ทฤษฎีวิถีการผลิตแบบเอเชีย สนใจประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ยุคที่เริ่มเปลี่ยนแปลงเป็นสังคมทุนนิยม<br />\n-ดร. ฉัตรทิพย์ นาถสุภา<br />\n3.แนวมนุษยนิยม<br />\n-ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์<br />\n-คำนึงถึงมนุษย์ในฐานะเป็นผู้กระทำประวัติศาสตร์ มิได้เป็นผลมาจากการกำหนดของพลังสังคม เช่น พลังทางเศรษฐกิจ การเมืองเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง<br />\n-การกระทำของมนุษย์แตกต่างกันไปภายใต้เงื่อนไขของสังคม(context)<br />\n-ตรวจสอบหลักฐานอย่างพิถีพิถัน เพราะให้ความสำคัญกับช่วงเวลา<br />\n-ใช้ทฤษฎีสังคมศาสตร์ช่วยวิเคราะห์<br />\n4.แนวรัฐศาสตร์<br />\n-ศึกษาความคลี่คลายเปลี่ยนแปลงของระบบการเมืองไทยหรือการเปลี่ยนผ่าน (transformation)ของรัฐไทย<br />\n-พิจารณารัฐกับสังคม<br />\n5.แนวทฤษฎีความเจริญเติบโต<br />\n-สนใจความเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดของระบบเศรษฐกิจต่างจากแนวเศรษฐศาสตร์การเมืองที่เน้นการเปลี่ยนแปลงในระดับโครงสร้าง\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>ที่มา </b></span>: ครูรุจน์ หาเรือนทรง สรุปจากเอกสารประกอบการสอนชุดวิชาประวัติศาสตร์ไทย - 10201 (มสธ)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><b><span style=\"color: #0000ff\">ความเคลื่อนไหวของการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรม</span></b>\n</p></div>\n<div align=\"center\">\n<img width=\"300\" src=\"/files/u10503/115.jpg\" height=\"225\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา :ภาพถ่ายตลาดน้ำเมืองโบราณ โดยครูรุจน์ หาเรือนทรง\n</div>\n<p>\n<b><span style=\"color: #008000\">1.ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น</span></b><br />\nA.ความหมาย : การศึกษาประวัติศาสตร์ของสังคมหรือชุมชนที่อยู่นอกแวดวงศูนย์อำนาจทางการเมืองของรัฐ<br />\nB.พัฒนาการศึกษามี 2 แนวทาง<br />\n1)การศึกษาประวัติศาสตร์ที่มองความสัมพันธ์ทางการผลิตเป็นหลัก โดยเน้นการศึกษาที่หมู่บ้าน เรียกว่าประวัติศาสตร์หมู่บ้าน<br />\n2)การศึกษาผ่านวัฒนธรรมของชุมชนในท้องถิ่นเน้นในเรื่องการตั้งฐานของชุมชนและประวัติศาสตร์โบราณ<br />\nC.ปัญหาสำคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น<br />\n1)หลักฐานในการศึกษาไม่เพียงพอ<br />\n2)การศึกษามุ่งด้านใดด้านเดียวตามวิธีวิทยาของสาขาใดสาขาหนึ่ง ไม่ครอบคลุมลักษณะองค์รวม<br />\n<b><span style=\"color: #008000\">2.การศึกษาประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรม</span></b><br />\nA.ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรม คือ การศึกษาเรื่องราวของมนุษยชาติทุกๆด้านที่กว้างที่สุด โดยศึกษาวิถีชีวิต รวมถึงความเชื่อ รสนิยม ค่านิยม และประเพณีเก่าๆ ซึ่งคงสืบทอดมาถึงปัจจุบัน เริ่มปรากฏในสมัย ร.4-5 ซึ่งเป็นช่วงที่รัฐอยู่ในภาวะเปลี่ยนแปลงทางสังคมเพื่อเข้าสู่ความเป็นรัฐสมัยใหม่ อันเป็นผลให้รัฐต้องแสวงหาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม เพื่อแสดงถึงความมีอารยธรรมอันศิวิไลซ์ต่อชาวตะวันตก<br />\n*วัฒนธรรมทางมนุษยวิทยา : คติชนวิทยา( Folklore ) <br />\nB.แนวทางการศึกษา<br />\n1)การศึกษาความเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์จากพลังทางวัฒนธรรมด้านความเชื่อ โดยอธิบายว่า ความเชื่อดั้งเดิมเป็นพลังผลักดันให้เกิดการรวมกลุ่มทางสังคมเริ่มแรก<br />\n2)ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมและสังคม งานศึกษาประเภทนี้จะมีลักษณะเป็นการศึกษาวิถีชีวิตในด้านต่างๆ เช่น ศาสนา ประเพณี การศึกษา การใช้ชีวิตประจำวันของคนทั่วไป</p>\n<p>\n**************</p>\n<p><b><span style=\"color: #008000\">สรุป </span></b><br />\n- การศึกษาประวัติศาสตร์ใช้หลักฐาน ยืนยันความจริงเกี่ยวกับอดีต<br />\n- แนวมนุษย์นิยมให้ความสำคัญกับการตรวจสอบหลักฐาน เพราะให้ความสำคัญกับมิติเวลาอย่างมาก<br />\n- แนวโน้มการศึกษาประวัติศาสตร์ในปัจจุบันและอนาคต คือ การศึกษาอย่างเป็นระบบ อธิบายการเปลี่ยนแปลงโดยคำนึงถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ รอบด้านเพื่อให้เห็นภาพรวมของสังคม <br />\n- ใช้วิธีการศึกษาแบบสหวิทยาการ ( interdisciplinary )\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>ที่มา </b></span>: ครูรุจน์ หาเรือนทรง สรุปจากเอกสารประกอบการสอนชุดวิชาประวัติศาสตร์ไทย - 10201 (มสธ)\n</p>\n<p><span style=\"color: #808000\"></span></p>\n', created = 1716188203, expire = 1716274603, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e1c38375c8f2fc823c06fb1a2d0342e5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:50cccb2cb975f7d0ea6f17d6cf328a5e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #ff6600\">การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยและการใช้หลักฐาน</span></b>\n</div>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"300\" src=\"/files/u10503/DSCF9976.jpg\" height=\"225\" />\n</p>\n<div align=\"center\">\nที่มา : ภาพถ่ายระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดา โดยครูรุจน์ หาเรือนทรง\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #0000ff\">การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยก่อนรัชกาลที่ 4และการใช้หลักฐานประวัติศาสตร์</span></b>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"></span><br />\n<b><span style=\"color: #008000\">1. แนวทางการเขียนประวัติศาสตร์แบบตำนานและการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์</span></b><br />\nตำนาน – อยู่ในรูปของมุขปาฐะหรือคำบอกเล่า ไม่ให้ความสำคัญกับการตรวจสอบหลักฐานเพราะเชื่อว่าเป็นเรื่องจริง ตำนานมี 3 ประเภท<br />\n1)ตำนานวีรบุรุษหรือบรรพบุรุษ-เล่าเรื่องผู้นำที่ยิ่งใหญ่ในอดีต เพื่อสืบทอดการเคารพนับถือและพีธีกรรมกราบไหว้บูชาบรรพบุรุษหรือวีรบุรุษของคนรุ่นต่อๆไปภายใต้ลัทธิการบูชาบรรพบุรุษ<br />\n2)ตำนานเชื้อสายตระกูลผู้นำหรือวงศ์ตระกูล- การลำดับเชื้อสายตระกูลเพื่อยืนยันสิทธิในทรัพย์สิน สถานะทางสังคมและการเมืองของตระกูล “การสร้างบ้านแปงเมือง”<br />\n3)ตำนานประวัติศาสตร์สากลของพระพุทธศาสนา-แนวคิดที่ว่า “ทุกสรรพสิ่งอยู่ในกฎธรรมชาติ 3 ประการ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา กระบานการทางประวัติศาสตร์ดำเนินจากอดีต ปัจจุบัน อนาคตไปตามธรรมชาติไม่มีผู้ใดกำหนด” ลักษณะสำคัญ คือ <br />\n-ไม่มีจุดเริ่มต้นและไม่มีจุดสิ้นสุด วีถีประวัติศาสตร์เป็นไปตามธรรมชาติ<br />\n-แกนกลางคือจักรพรรดิราชหรือธรรมราชา (พระโพธิสัตว์)เป็นผู้มีบทบาทในการจรรโลงโลกในอยู่ในธรรม <br />\n-กำหนดช่วงเวลาเฉพาะในสมัยพระพุทธเจ้าสมณโคดม<br />\n-มีความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริย์กับพุทธศาสนา กล่าวถึงกษัตริย์ในอาณาจักรต่างๆ ในโลก ที่ให้การอุปถัมภ์พุทธศาสนา<br />\n*ส่วนที่คล้ากันของตำนานทั้ง 3 ประเภทคือ เป็นเรื่องเล่า มีกษัตริย์เป็นศูนย์กลาง<br />\n<b><span style=\"color: #008000\"><br />\n2. แนวทางการเขียนประวัติศาสตร์แบบพระราชพงศาวดารและการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์</span></b><br />\nพระราชพงศาวดาร-กรอบแนว “ความคิด”แบบตำนานเชื้อสายตระกูลผู้นำเกิดในสมัยอยุธยา + ตำนานประวัติศาสตร์สากลของพระพุทธศาสนา + แนวคิดเกี่ยวกับกษัตริย์ของอยุธยาเอง<br />\n1) หลักฐาน<br />\n-หลักฐานในการเขียน ได้แก่ เอกสารราชการ เช่น กฎหมาย จดหมายเหตุ จดหมายรายวันทัพ ปูมโหร<br />\n-จดหมายเหตุ คือ บันทึกเหตุการณ์ที่ล่วงไปแล้ว โดยเหตุการณ์ที่บันทึกนั้นมักจะเป็นเหตุการณ์เดียว<br />\n-ปูมโหร บันทึกเหตุการณ์ที่พวกโหรจดบันทึกไว้ในเวลาที่เกิดเหตุการณ์หนึ่งๆในทันที<br />\n2) วิธีการใช้หลักฐานและการเขียน<br />\n-เริ่มมีการตรวจสอบหลักฐานในสมัยรัตนโกสินทร์ เพราะมีการค้ากว้างขวางจำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์จริงในการอธิบายประวัติศาสตร์(ไม่ใช้อธิบายตามกฎธรรมชาติของศาสนาพุทธ)<br />\n-เน้นความเป็นราชาธิราช ของกษัตริย์ไทย เน้นเรื่องเฉพาะกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาตามลำดับรัชกาล\n</p>\n<div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #0000ff\">การศึกษาประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยรัชการที่ 4 ถึงสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 และการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์</span></b>\n</div>\n<p>\n<b><span style=\"color: #008000\">1. ความเปลี่ยนแปลงทางภูมิปัญญาที่มีผลต่อวิธีการใช้หลักฐาน</span></b><br />\n1.1 สาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางภูมิปัญญา “มนุษย์เป็นผู้กำหนดวิถีประวัติศาสตร์”<br />\n- การขยายตัวของการค้าและการผลิตเพื่อขาย ทำให้ผู้ประกอบการอันได้แก่ชนชั้นสูงให้ความสำคัญกับการสะสมทรัพย์สินเงินทอง แสวงหาความสุขและความสำเร็จทางโลก เป้าหมายชีวิตตามคติพระพุทธศาสนา ได้แก่ การเกิดในสวรรค์หรือการบรรลุนิพพานลดความสำคัญลง ให้ความสำคัญกับชีวิตมนุษย์มากขึ้น โดยเชื่อว่ามนุษย์มีศักยภาพและความสามารถไม่จำเป็นต้องพึ่งพาอำนาจเหนือธรรมชาติ<br />\n1.2 การให้ความสำคัญกับหลักฐาน<br />\n-เน้นให้ความสำคัญแก่ความจริงตามประสบการณ์ <br />\n-ตรวจสอบหลักฐานว่า เรื่องใดเป็นเรื่องจริง-เท็จ ตามมาตรฐานของความจริง จะต้องผ่านการพิสูจน์จนประจักษ์ได้ด้วยประสบการณ์มนุษย์<br />\n-นำวิธีทางวิทยาศาสตร์ของมิชชันนารีเข้ามาพิสูจน์<br />\n-แสวงหาข้อมูลใหม่<br />\n<b><span style=\"color: #008000\">2.ความเปลี่ยนแปลงทางภูมิปัญญาที่มีผลต่อวิธีการเขียนประวัติศาสตร์</span></b><br />\n1) ความเปลี่ยนแปลงของความคิดทางเวลา<br />\n-สมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้นเชื่อว่าต้นอยู่ในโลกที่กำลังเสื่อม แต่การให้ความสำคัญตามประสบการณ์จริง เชื่อว่าสังคมเจริญขึ้น เพราะความคิดและการกระทำของมนุษย์ไม่ใช่เสื่อมลง<br />\n2)ความคิดเกี่ยวกับกษัตริย์และรัฐ<br />\n- รัฐ : มีขอบเขตที่แน่นนอน ประชาชนทั้งหลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของรัฐ<br />\n- กษัตริย์ : มิได้เห็นว่ามนุษย์ทุกคนมีบทบาทร่วมกันในการกำหนดวิถีประวัติศาสตร์ แต่เชื่อว่ากษัตริย์เป็นผู้เดียวที่กำหนดวิถีประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง<br />\n3) แนวการเขียน <br />\n-แนวการเขียนประวัติศาสตร์ชาติไทย เน้นอดีตที่มีความเจริญรุ่งเรืองเป็นเวลายาวนานของชาติไทย<br />\n-เห็นว่าประวัติศาสตร์ชาติไทยไม่ได้เริ่มที่อยุธยา แต่มีมาก่อนหน้านี้<br />\n-ลักษณะสำคัญคือการอธิบายสาเหตุและผลกระทบ กษัตริย์เป็นผู้กำหนดวิถีประวัติศาสตร์<br />\n*ในที่สุดเกิดความสำนึกในเรื่องเชื้อชาติ ซึ่งเป็นผลรวมของทุกสิ่งและทุกคนในรัฐ</p>\n<p><b><span style=\"color: #008000\">3. แนวการเขียนประวัติศาสตร์ชาติไทย</span></b><br />\nมีการใช้หลักฐานอย่างกว้างขวาง และหลักฐานใหม่ เช่น จารึก โบราณสถาน เอกสารชาวต่างชาติ แต่ไม่เคร่งครัดต่อการตรวจสอบและประคุณค่า เพราะ <br />\n1)ผู้ศึกษาไม่ใช่นักประวัติศาสตร์อาชีพแต่เป็นนักปกครอง เช่น กรมพระยาดำรงฯ<br />\n2)มีจุดมุ่งหมายอยู่ที่การยืนยันและเสริมสร้างความชอบธรรมให้กษัตริย์ทำให้เกิดการเลือกสรรหลักฐานที่มีขอบเขตของจุดมุ่งหมายดังกล่าว\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>ที่มา </b></span>: ครูรุจน์ หาเรือนทรง สรุปจากเอกสารประกอบการสอนชุดวิชาประวัติศาสตร์ไทย - 10201 (มสธ)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>', created = 1716188203, expire = 1716274603, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:50cccb2cb975f7d0ea6f17d6cf328a5e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยและการใช้หลักฐาน

รูปภาพของ snsroot
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยและการใช้หลักฐาน

ที่มา : ภาพถ่ายระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดา โดยครูรุจน์ หาเรือนทรง
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยก่อนรัชกาลที่ 4และการใช้หลักฐานประวัติศาสตร์


1. แนวทางการเขียนประวัติศาสตร์แบบตำนานและการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ตำนาน – อยู่ในรูปของมุขปาฐะหรือคำบอกเล่า ไม่ให้ความสำคัญกับการตรวจสอบหลักฐานเพราะเชื่อว่าเป็นเรื่องจริง ตำนานมี 3 ประเภท
1)ตำนานวีรบุรุษหรือบรรพบุรุษ-เล่าเรื่องผู้นำที่ยิ่งใหญ่ในอดีต เพื่อสืบทอดการเคารพนับถือและพีธีกรรมกราบไหว้บูชาบรรพบุรุษหรือวีรบุรุษของคนรุ่นต่อๆไปภายใต้ลัทธิการบูชาบรรพบุรุษ
2)ตำนานเชื้อสายตระกูลผู้นำหรือวงศ์ตระกูล- การลำดับเชื้อสายตระกูลเพื่อยืนยันสิทธิในทรัพย์สิน สถานะทางสังคมและการเมืองของตระกูล “การสร้างบ้านแปงเมือง”
3)ตำนานประวัติศาสตร์สากลของพระพุทธศาสนา-แนวคิดที่ว่า “ทุกสรรพสิ่งอยู่ในกฎธรรมชาติ 3 ประการ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา กระบานการทางประวัติศาสตร์ดำเนินจากอดีต ปัจจุบัน อนาคตไปตามธรรมชาติไม่มีผู้ใดกำหนด” ลักษณะสำคัญ คือ
-ไม่มีจุดเริ่มต้นและไม่มีจุดสิ้นสุด วีถีประวัติศาสตร์เป็นไปตามธรรมชาติ
-แกนกลางคือจักรพรรดิราชหรือธรรมราชา (พระโพธิสัตว์)เป็นผู้มีบทบาทในการจรรโลงโลกในอยู่ในธรรม
-กำหนดช่วงเวลาเฉพาะในสมัยพระพุทธเจ้าสมณโคดม
-มีความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริย์กับพุทธศาสนา กล่าวถึงกษัตริย์ในอาณาจักรต่างๆ ในโลก ที่ให้การอุปถัมภ์พุทธศาสนา
*ส่วนที่คล้ากันของตำนานทั้ง 3 ประเภทคือ เป็นเรื่องเล่า มีกษัตริย์เป็นศูนย์กลาง

2. แนวทางการเขียนประวัติศาสตร์แบบพระราชพงศาวดารและการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์

พระราชพงศาวดาร-กรอบแนว “ความคิด”แบบตำนานเชื้อสายตระกูลผู้นำเกิดในสมัยอยุธยา + ตำนานประวัติศาสตร์สากลของพระพุทธศาสนา + แนวคิดเกี่ยวกับกษัตริย์ของอยุธยาเอง
1) หลักฐาน
-หลักฐานในการเขียน ได้แก่ เอกสารราชการ เช่น กฎหมาย จดหมายเหตุ จดหมายรายวันทัพ ปูมโหร
-จดหมายเหตุ คือ บันทึกเหตุการณ์ที่ล่วงไปแล้ว โดยเหตุการณ์ที่บันทึกนั้นมักจะเป็นเหตุการณ์เดียว
-ปูมโหร บันทึกเหตุการณ์ที่พวกโหรจดบันทึกไว้ในเวลาที่เกิดเหตุการณ์หนึ่งๆในทันที
2) วิธีการใช้หลักฐานและการเขียน
-เริ่มมีการตรวจสอบหลักฐานในสมัยรัตนโกสินทร์ เพราะมีการค้ากว้างขวางจำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์จริงในการอธิบายประวัติศาสตร์(ไม่ใช้อธิบายตามกฎธรรมชาติของศาสนาพุทธ)
-เน้นความเป็นราชาธิราช ของกษัตริย์ไทย เน้นเรื่องเฉพาะกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาตามลำดับรัชกาล

การศึกษาประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยรัชการที่ 4 ถึงสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 และการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์

1. ความเปลี่ยนแปลงทางภูมิปัญญาที่มีผลต่อวิธีการใช้หลักฐาน
1.1 สาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางภูมิปัญญา “มนุษย์เป็นผู้กำหนดวิถีประวัติศาสตร์”
- การขยายตัวของการค้าและการผลิตเพื่อขาย ทำให้ผู้ประกอบการอันได้แก่ชนชั้นสูงให้ความสำคัญกับการสะสมทรัพย์สินเงินทอง แสวงหาความสุขและความสำเร็จทางโลก เป้าหมายชีวิตตามคติพระพุทธศาสนา ได้แก่ การเกิดในสวรรค์หรือการบรรลุนิพพานลดความสำคัญลง ให้ความสำคัญกับชีวิตมนุษย์มากขึ้น โดยเชื่อว่ามนุษย์มีศักยภาพและความสามารถไม่จำเป็นต้องพึ่งพาอำนาจเหนือธรรมชาติ
1.2 การให้ความสำคัญกับหลักฐาน
-เน้นให้ความสำคัญแก่ความจริงตามประสบการณ์
-ตรวจสอบหลักฐานว่า เรื่องใดเป็นเรื่องจริง-เท็จ ตามมาตรฐานของความจริง จะต้องผ่านการพิสูจน์จนประจักษ์ได้ด้วยประสบการณ์มนุษย์
-นำวิธีทางวิทยาศาสตร์ของมิชชันนารีเข้ามาพิสูจน์
-แสวงหาข้อมูลใหม่
2.ความเปลี่ยนแปลงทางภูมิปัญญาที่มีผลต่อวิธีการเขียนประวัติศาสตร์
1) ความเปลี่ยนแปลงของความคิดทางเวลา
-สมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้นเชื่อว่าต้นอยู่ในโลกที่กำลังเสื่อม แต่การให้ความสำคัญตามประสบการณ์จริง เชื่อว่าสังคมเจริญขึ้น เพราะความคิดและการกระทำของมนุษย์ไม่ใช่เสื่อมลง
2)ความคิดเกี่ยวกับกษัตริย์และรัฐ
- รัฐ : มีขอบเขตที่แน่นนอน ประชาชนทั้งหลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของรัฐ
- กษัตริย์ : มิได้เห็นว่ามนุษย์ทุกคนมีบทบาทร่วมกันในการกำหนดวิถีประวัติศาสตร์ แต่เชื่อว่ากษัตริย์เป็นผู้เดียวที่กำหนดวิถีประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง
3) แนวการเขียน
-แนวการเขียนประวัติศาสตร์ชาติไทย เน้นอดีตที่มีความเจริญรุ่งเรืองเป็นเวลายาวนานของชาติไทย
-เห็นว่าประวัติศาสตร์ชาติไทยไม่ได้เริ่มที่อยุธยา แต่มีมาก่อนหน้านี้
-ลักษณะสำคัญคือการอธิบายสาเหตุและผลกระทบ กษัตริย์เป็นผู้กำหนดวิถีประวัติศาสตร์
*ในที่สุดเกิดความสำนึกในเรื่องเชื้อชาติ ซึ่งเป็นผลรวมของทุกสิ่งและทุกคนในรัฐ

3. แนวการเขียนประวัติศาสตร์ชาติไทย
มีการใช้หลักฐานอย่างกว้างขวาง และหลักฐานใหม่ เช่น จารึก โบราณสถาน เอกสารชาวต่างชาติ แต่ไม่เคร่งครัดต่อการตรวจสอบและประคุณค่า เพราะ
1)ผู้ศึกษาไม่ใช่นักประวัติศาสตร์อาชีพแต่เป็นนักปกครอง เช่น กรมพระยาดำรงฯ
2)มีจุดมุ่งหมายอยู่ที่การยืนยันและเสริมสร้างความชอบธรรมให้กษัตริย์ทำให้เกิดการเลือกสรรหลักฐานที่มีขอบเขตของจุดมุ่งหมายดังกล่าว

ที่มา : ครูรุจน์ หาเรือนทรง สรุปจากเอกสารประกอบการสอนชุดวิชาประวัติศาสตร์ไทย - 10201 (มสธ)

 

สร้างโดย: 
ครูรุจน์ หาเรือนทรง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 268 คน กำลังออนไลน์