• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:49361b6c94d524b5994d452ff50230a5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff99cc\"><img border=\"0\" width=\"324\" src=\"/files/u7491/0020.jpg\" height=\"418\" style=\"width: 120px; height: 190px\" /> </span>\n\n</p><p>\n<span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #008000\">แหล่งที่มา:http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/515/35515/images/0020.jpg</span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #513041\"><u><span style=\"color: #ff99cc\"></span></u></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #513041\"><span style=\"color: #513041\"><u>เหตุผล 10 ประการ ว่า ทำไมโยเกิร์ตถึงเป็นอาหารชั้นยอดของร่างกาย</u></span></span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #ff99cc\">1.โยเกิร์ตย่อยง่ายกว่านม แม้ในคนที่แพ้โปรตีนหรือไม่มีสามารถย่อยนมได้ ก็สามารถกินโยเกิร์ตได้ เนื่องจากในขบวนการทำโยเกิร์ต นมจะถูกหมักและเปลี่ยนเป็นโมเลกุลที่สามารถย่อยได้ง่ายขึ้น และในขบวนการดังกล่าวจะเกิดแลคเตส ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ใช้ย่อยนม (น้ำตาลแลคโตส)  สำหรับคนที่ไม่สามารถสามารถย่อยนมได้จะขาดเอนไซม์ชนิดนี้ นอกจากนี้ในขบวนการหมักดังกล่าวจะจะเกิดเอนไซม์ที่สามารถย่อยโปรตีนเคซีน ทำให้ง่ายต่อการดูดซึมและเกิดการแพ้น้อยลง จากการสังเกตเด็กที่ไม่สามารถย่อยนมได้ พบว่าสามารถกินโยเกิร์ตได้บ่อยครั้งโดยที่ไม่มีอาการท้องเสีย ในขบวนการทำโยเกิร์ต น้ำตาลนมแลคโตสจะถูกเปลี่ยนเป็นน้ำตาลกาแลคโตสและกลูโคส ซึ่งน้ำตาล 2 ชนิดนี้สามารถดูดซึมได้ง่ายแม้ในคนที่ไม่สามารถย่อยนมได้<br />\n2.โยเกิร์ตมีประโยชน์ต่อลำไส้ เนื่องจากในโยเกิร์ตประกอบด้วยแบคที่เรียแลคโตบาซิลัสที่เป็นประโยชน์ต่อลำไส้ ตลอดจนช่วยความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งลำไส้ แบคทีเรียแลคโตบาซิลัสโดยเฉพาะ Lactobaciillus acidophilus จะช่วยเร่งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายในลำไส้ใหญ่และช่วยลดการเปลี่ยนน้ำดีเป็นกรดน้ำดีซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดมะเร็ง ปริมาณแบคทีเรียที่มีประโยชน์ในลำไส้จะช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคต่างๆที่บริเวณลำไส้ นอกจากนี้แบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ต่อลำไส้พวกนี้จะทำลายสารอันตรายต่างๆ เช่น สารไนเตรตและไนไตรท์ ก่อนที่สารเหล่านี้จะเปลี่ยนเป็นไนโตรซามีนซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งอย่างหนึ่ง<br />\n        นอกจากโยเกริ์ต จะเป็นแหล่งของแบคทีเรียแล้ว ยังเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยแคลเซียม ซึ่งเป็นแร่ธาตุที่ช่วยยับยั้งการโตของเเซลล์ที่บุเยื่อบุลำไส้ที่มากจนเกินไปในบุคคลที่มีแนวโน้มที่จะเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ นอกจากนี้แคลเซียมยังรวมตัวกับกรดน้ำดีซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงในการเกิดมะเร็งโดยไม่ระคายเคืองต่อลำไส้ใหญ่ การบริโภคอาหารที่มีแคลเซียมสูง อาทิเช่นคนในแถบประเทศสแกนดิเนเวียนจะมีอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ลดลง จากการศึกษาพบว่าการกินแคลเซียมวันละ 1,200 มิลลิกรัม สามารถลดการเกิดมะเร็งลำไส้ได้ 75 %<br />\n3.โยเกิร์ตช่วยทำให้การดูดซึมของแร่ธาตุต่างๆดีขึ้น ขบวนการหมักโยเกิร์ตจะช่วยเพิ่มการดูดซึมแคลเซียมและวิตามินบี นอกจากนี้กรดแลคติกในโยเกิร์ตยังช่วยย่อยแคลเซียมในนม ทำให้ดูดซึมง่ายขึ้น<br />\n4.โยเกิร์ตช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันของร่างกาย จากการศึกษาพบว่าการบริโภคโยเกิร์ตวันละ 2 ถ้วยเป็นประจำ ตลอดเวลา 3 เดือนพบว่าระดับอินเตอร์เฟอรอนซึ่งเป็นสารในระบบภูมิคุ้มกันมีปริมาณเพิ่มขึ้น นอกจากนี้แบคทีเรียในโยเกิร์ตยังกระตุ้นการทำงานของเม็ดเลือดขาวในการทำลายเชื้อโรค   บางการศึกษารายงานว่าพบสารที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็งในโยเกิร์ต<br />\n5.โยเกิร์ตช่วยในขบวนการหายหลังการติดเชื้อที่ทางเดินอาหาร เชื้อไวรัสบางชนิด ตลอดจนอาการแพ้อาหารสามารถทำให้เซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เสียหายได้โดยเฉพาะเซลล์ที่ทำหน้าที่ผลิตแลคเตส จึงส่งผลให้เกิดความผิดปกติในการดูดซึมน้ำตาลแลคโตสชั่วคราว นี่คือเหตุผลว่าทำไมในเด็กที่มีโรคติดเชื้อบริเวณทางเดินอาหารจะไม่สามารถย่อยนมได้ตามปกติหลังจากติดเชื้อ 1-2 เดือน  และเนื่องจากโยเกิร์ตประกอบด้วยน้ำตาลแลคโตสน้อยลง แต่มีเอนไซม์แลคเตสมากขึ้น ดังนั้นจึงนิยมใช้โยเกิร์ตเป็นอาหารเพื่อรักษาอาการท้องเสีย  เพราะจะช่วยให้อาการท้องเสียหายเร็วขึ้น สำหรับบุคคลที่ได้รับยาปฏิชีวนะ การรับประทานโยเกริ์ตจะช่วยลดผลกระทบของยาต่อแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ในลำไส้ใหญ่ (เนื่องจากยาปฏิชีวนะไม่ได้ออกฤทธิ์ทำลายเฉพาะแบคทีเรียที่เป็นอันตราย แต่จะทำลายแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์แก่ร่างกายด้วย) ดังนั้นจึงมีการแนะนำให้กินโยเกิร์ตวันละ 1 ถ้วยในขณะที่ได้รับยาปฏิชีวนะ และรับประทานต่อเนื่องอีก 2 สัปดาห์หลังจากหยุดยาแล้ว จาการศึกษาในปี 1999 โดยกุมารแพทย์พบว่าแบคทีเรียแลคโตบาซลัสจะช่วยลดอาการท้องเสียหลังจากได้รับยาปฏิชีวนะ<br />\n6.โยเกิร์ตช่วยลดการติดเชื้อรา จากการศึกษาพบว่าการกินโยเกิร์ตวันละ 8 ออนซ์ทุกวันสามารถลดปริมาณเชื้อราที่ช่องคลอดได้ และยังช่วยลดการติดเชื้อราที่ช่องคลอดได้อีกด้วย<br />\n7.โยเกิร์ตเป็นแหล่งของแคลเซียม ในโยเกิร์ต 8 ออนซ์จะมีแคลเซียมมากถึง 450 มิลลิกรัม (ปริมาณเท่ากับแคลเซียมครึ่งหนึ่งที่ RDA แนะนำให้เด็กได้รับภายใน 1 วัน , และเท่ากับ 30-40 % ของปริมาณแคลเซียมที่แนะนำให้ผู้ใหญ่บริโภคภายใน 1 วัน)   และเนื่องจากแบคทีเรียในโยเกริ์ตจะช่วยให้การดูดซึมแคลเซียมเป็นไปได้มากขึ้น ดังนั้นการกินโยเกิร์ตจะช่วยให้คุณได้รับแคลเซียมมากกว่าการกินนมในปริมาณเท่ากัน<br />\n8.โยเกิร์ตเป็นแหล่งของโปรตีนชั้นดี ในโยเกิร์ต 8 ออนซ์ประกอบด้วยโปรตีนประมาณ 10-14 กรัม ซึ่งเป็นปริมาณเท่ากับ 20 % ของความต้องการโปรตีนในแต่ละวัน และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างนมกับโยเกิร์ตปริมาณเท่ากัน ในโยเกิร์ตจะมีโปรตีนปริมาณมากกว่า นอกจากโยเกิร์ตจะเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยโปรตีนแล้ว โปรตีนในโยเกิร์ตยังเป็นโปรตีนที่ย่อยง่าย<br />\n9.โยเกิร์ตช่วยลดระดับคลอเลสเตอรอล จากการศึกษาพบว่าโยเกิร์ตสามารถลดปริมาณคลอเลสเตอรอลได้เนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ในโยเกิร์ตสามารถกำจัดคลอเลสเตอรอลได้ และทั้งนี้โยเกิร์ตก็สามารถรวมตัวกับกรดน้ำดีซึ่งเป็นสารตั้งต้นของคลอเลสเตอรอลได้<br />\n10.โยเกิร์ตช่วยให้เด็กเจริญเติบโตได้ดี เนื่องจากในโยเกิร์ตเป็นแหล่งของโปรตีนที่ย่อยง่ายและกรดแลคติคในโยเกิร์ตจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซึมแร่ธาตุเข้าผ่านลำไส้</span></span></p>\n<p><span style=\"color: #ff99cc\"></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>', created = 1719114122, expire = 1719200522, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:49361b6c94d524b5994d452ff50230a5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โยเกิร์ต

รูปภาพของ sss27426

แหล่งที่มา:http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/515/35515/images/0020.jpg

เหตุผล 10 ประการ ว่า ทำไมโยเกิร์ตถึงเป็นอาหารชั้นยอดของร่างกาย

1.โยเกิร์ตย่อยง่ายกว่านม แม้ในคนที่แพ้โปรตีนหรือไม่มีสามารถย่อยนมได้ ก็สามารถกินโยเกิร์ตได้ เนื่องจากในขบวนการทำโยเกิร์ต นมจะถูกหมักและเปลี่ยนเป็นโมเลกุลที่สามารถย่อยได้ง่ายขึ้น และในขบวนการดังกล่าวจะเกิดแลคเตส ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ใช้ย่อยนม (น้ำตาลแลคโตส)  สำหรับคนที่ไม่สามารถสามารถย่อยนมได้จะขาดเอนไซม์ชนิดนี้ นอกจากนี้ในขบวนการหมักดังกล่าวจะจะเกิดเอนไซม์ที่สามารถย่อยโปรตีนเคซีน ทำให้ง่ายต่อการดูดซึมและเกิดการแพ้น้อยลง จากการสังเกตเด็กที่ไม่สามารถย่อยนมได้ พบว่าสามารถกินโยเกิร์ตได้บ่อยครั้งโดยที่ไม่มีอาการท้องเสีย ในขบวนการทำโยเกิร์ต น้ำตาลนมแลคโตสจะถูกเปลี่ยนเป็นน้ำตาลกาแลคโตสและกลูโคส ซึ่งน้ำตาล 2 ชนิดนี้สามารถดูดซึมได้ง่ายแม้ในคนที่ไม่สามารถย่อยนมได้
2.โยเกิร์ตมีประโยชน์ต่อลำไส้ เนื่องจากในโยเกิร์ตประกอบด้วยแบคที่เรียแลคโตบาซิลัสที่เป็นประโยชน์ต่อลำไส้ ตลอดจนช่วยความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งลำไส้ แบคทีเรียแลคโตบาซิลัสโดยเฉพาะ Lactobaciillus acidophilus จะช่วยเร่งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายในลำไส้ใหญ่และช่วยลดการเปลี่ยนน้ำดีเป็นกรดน้ำดีซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดมะเร็ง ปริมาณแบคทีเรียที่มีประโยชน์ในลำไส้จะช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคต่างๆที่บริเวณลำไส้ นอกจากนี้แบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ต่อลำไส้พวกนี้จะทำลายสารอันตรายต่างๆ เช่น สารไนเตรตและไนไตรท์ ก่อนที่สารเหล่านี้จะเปลี่ยนเป็นไนโตรซามีนซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งอย่างหนึ่ง
        นอกจากโยเกริ์ต จะเป็นแหล่งของแบคทีเรียแล้ว ยังเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยแคลเซียม ซึ่งเป็นแร่ธาตุที่ช่วยยับยั้งการโตของเเซลล์ที่บุเยื่อบุลำไส้ที่มากจนเกินไปในบุคคลที่มีแนวโน้มที่จะเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ นอกจากนี้แคลเซียมยังรวมตัวกับกรดน้ำดีซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงในการเกิดมะเร็งโดยไม่ระคายเคืองต่อลำไส้ใหญ่ การบริโภคอาหารที่มีแคลเซียมสูง อาทิเช่นคนในแถบประเทศสแกนดิเนเวียนจะมีอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ลดลง จากการศึกษาพบว่าการกินแคลเซียมวันละ 1,200 มิลลิกรัม สามารถลดการเกิดมะเร็งลำไส้ได้ 75 %
3.โยเกิร์ตช่วยทำให้การดูดซึมของแร่ธาตุต่างๆดีขึ้น ขบวนการหมักโยเกิร์ตจะช่วยเพิ่มการดูดซึมแคลเซียมและวิตามินบี นอกจากนี้กรดแลคติกในโยเกิร์ตยังช่วยย่อยแคลเซียมในนม ทำให้ดูดซึมง่ายขึ้น
4.โยเกิร์ตช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันของร่างกาย จากการศึกษาพบว่าการบริโภคโยเกิร์ตวันละ 2 ถ้วยเป็นประจำ ตลอดเวลา 3 เดือนพบว่าระดับอินเตอร์เฟอรอนซึ่งเป็นสารในระบบภูมิคุ้มกันมีปริมาณเพิ่มขึ้น นอกจากนี้แบคทีเรียในโยเกิร์ตยังกระตุ้นการทำงานของเม็ดเลือดขาวในการทำลายเชื้อโรค   บางการศึกษารายงานว่าพบสารที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็งในโยเกิร์ต
5.โยเกิร์ตช่วยในขบวนการหายหลังการติดเชื้อที่ทางเดินอาหาร เชื้อไวรัสบางชนิด ตลอดจนอาการแพ้อาหารสามารถทำให้เซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เสียหายได้โดยเฉพาะเซลล์ที่ทำหน้าที่ผลิตแลคเตส จึงส่งผลให้เกิดความผิดปกติในการดูดซึมน้ำตาลแลคโตสชั่วคราว นี่คือเหตุผลว่าทำไมในเด็กที่มีโรคติดเชื้อบริเวณทางเดินอาหารจะไม่สามารถย่อยนมได้ตามปกติหลังจากติดเชื้อ 1-2 เดือน  และเนื่องจากโยเกิร์ตประกอบด้วยน้ำตาลแลคโตสน้อยลง แต่มีเอนไซม์แลคเตสมากขึ้น ดังนั้นจึงนิยมใช้โยเกิร์ตเป็นอาหารเพื่อรักษาอาการท้องเสีย  เพราะจะช่วยให้อาการท้องเสียหายเร็วขึ้น สำหรับบุคคลที่ได้รับยาปฏิชีวนะ การรับประทานโยเกริ์ตจะช่วยลดผลกระทบของยาต่อแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ในลำไส้ใหญ่ (เนื่องจากยาปฏิชีวนะไม่ได้ออกฤทธิ์ทำลายเฉพาะแบคทีเรียที่เป็นอันตราย แต่จะทำลายแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์แก่ร่างกายด้วย) ดังนั้นจึงมีการแนะนำให้กินโยเกิร์ตวันละ 1 ถ้วยในขณะที่ได้รับยาปฏิชีวนะ และรับประทานต่อเนื่องอีก 2 สัปดาห์หลังจากหยุดยาแล้ว จาการศึกษาในปี 1999 โดยกุมารแพทย์พบว่าแบคทีเรียแลคโตบาซลัสจะช่วยลดอาการท้องเสียหลังจากได้รับยาปฏิชีวนะ
6.โยเกิร์ตช่วยลดการติดเชื้อรา จากการศึกษาพบว่าการกินโยเกิร์ตวันละ 8 ออนซ์ทุกวันสามารถลดปริมาณเชื้อราที่ช่องคลอดได้ และยังช่วยลดการติดเชื้อราที่ช่องคลอดได้อีกด้วย
7.โยเกิร์ตเป็นแหล่งของแคลเซียม ในโยเกิร์ต 8 ออนซ์จะมีแคลเซียมมากถึง 450 มิลลิกรัม (ปริมาณเท่ากับแคลเซียมครึ่งหนึ่งที่ RDA แนะนำให้เด็กได้รับภายใน 1 วัน , และเท่ากับ 30-40 % ของปริมาณแคลเซียมที่แนะนำให้ผู้ใหญ่บริโภคภายใน 1 วัน)   และเนื่องจากแบคทีเรียในโยเกริ์ตจะช่วยให้การดูดซึมแคลเซียมเป็นไปได้มากขึ้น ดังนั้นการกินโยเกิร์ตจะช่วยให้คุณได้รับแคลเซียมมากกว่าการกินนมในปริมาณเท่ากัน
8.โยเกิร์ตเป็นแหล่งของโปรตีนชั้นดี ในโยเกิร์ต 8 ออนซ์ประกอบด้วยโปรตีนประมาณ 10-14 กรัม ซึ่งเป็นปริมาณเท่ากับ 20 % ของความต้องการโปรตีนในแต่ละวัน และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างนมกับโยเกิร์ตปริมาณเท่ากัน ในโยเกิร์ตจะมีโปรตีนปริมาณมากกว่า นอกจากโยเกิร์ตจะเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยโปรตีนแล้ว โปรตีนในโยเกิร์ตยังเป็นโปรตีนที่ย่อยง่าย
9.โยเกิร์ตช่วยลดระดับคลอเลสเตอรอล จากการศึกษาพบว่าโยเกิร์ตสามารถลดปริมาณคลอเลสเตอรอลได้เนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ในโยเกิร์ตสามารถกำจัดคลอเลสเตอรอลได้ และทั้งนี้โยเกิร์ตก็สามารถรวมตัวกับกรดน้ำดีซึ่งเป็นสารตั้งต้นของคลอเลสเตอรอลได้
10.โยเกิร์ตช่วยให้เด็กเจริญเติบโตได้ดี เนื่องจากในโยเกิร์ตเป็นแหล่งของโปรตีนที่ย่อยง่ายและกรดแลคติคในโยเกิร์ตจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซึมแร่ธาตุเข้าผ่านลำไส้

รูปภาพของ ssspoonsak

ดีแล้วละ

ขออีกนิด แต่ขออีกนิด การอ้างอิง ต้องอ้างอิงทุกหน้า ตรวจดูอีกทีนะ ที่มารูปภาพต้องชัดเจน

อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 479 คน กำลังออนไลน์