• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:67812d0e23692d22766aaea74beb4128' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #cc1ea2\"><strong><span style=\"color: #a42786\">อียิปต์โบราณ</span></strong></span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7490/image128_550_1.jpg\" height=\"347\" width=\"444\" />\n</p>\n<p>\n         <span style=\"color: #286ed6\"> อียิปต์โบราณ หรือ ไอยคุปต์ เป็นหนึ่งในอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ตั้งแต่ตอนกลางจนถึงปากแม่น้ำไนล์ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของประเทศอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์โบราณเริ่มขึ้นประมาณ 3150 ปีก่อนคริตศักราช  โดยการรวมอำนาจทางการเมืองของอียิปต์ตอนเหนือและตอนใต้ ภายใต้ฟาโรห์องค์แรกแห่งอียิปต์ และมีการพัฒนาอารยธรรมเรื่อยมากว่า 3,000 ปี  ประวัติของอียิปต์โบราณปรากฏขึ้นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หรือที่รู้จักกันว่า &quot;ราชอาณาจักร&quot; มีการแบ่งยุคสมัยของอียิปต์โบราณเป็นราชอาณาจักร ส่วนมากแบ่งตามราชวงศ์ที่ขึ้นมาปกครอง จนกระทั่งราชอาณาจักรสุดท้าย หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า &quot;ราชอาณาจักรใหม่&quot; อารยธรรมอียิปต์อยู่ในช่วงที่มีการพัฒนาที่น้อยมาก และส่วนมากลดลง ซึ่งเป็นเวลาเดียวกันที่อียิปต์พ่ายแพ้ต่อการทำสงครามจากอำนาจของชาติอื่น จนกระทั่งเมื่อ 31 ปีก่อนคริตศักราชก็เป็นการสิ้นสุดอารยธรรมอียิปต์โบราณลง เมื่อจักรวรรดิโรมันสามารถเอาชนะอียิปต์ และจัดอียิปต์เป็นเพียงจังหวัดหนึ่งในจักรวรรดิโรมัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #286ed6\">อารยธรรมอียิปต์พัฒนาการมาจากสภาพของลุ่มแม่น้ำไนล์ การควบคุมระบบชลประทาน, การควบคุมการผลิตพืชผลทางการเกษตร พร้อมกับพัฒนาอารยธรรมทางสังคม และวัฒนธรรม พื้นที่ของอียิปต์นั้นล้อมรอบด้วยทะเลทรายเสมือนปราการป้องกันการรุกรานจากศัตรูภายนอก นอกจากนี้ยังมีการทำเหมืองแร่ และอียิปต์ยังเป็นชนชาติแรกๆที่มีการพัฒนาการด้วยการเขียน ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ ,การบริหารอียิปต์เน้นไปทางสิ่งปลูกสร้าง และการเกษตรกรรม พร้อมกันนั้นก็มีการพัฒนาการทางทหารของอียิปต์ที่เสริมสร้างความแข็งแกร่งแก่ราชอาณาจักร โดยประชาชนจะให้ความเคารพกษัตริย์หรือฟาโรห์เสมือนหนึ่งเทพเจ้า ทำให้การบริหารราชการบ้านเมืองและการควบคุมอำนาจนั้นทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #286ed6\">          ชาวอียิปต์โบราณไม่ได้เป็นเพียงแต่นักเกษตรกรรม และนักสร้างสรรค์อารยธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นนักคิด, นักปรัชญา ได้มาซึ่งความรู้ในศาสตร์ต่างๆมากมายตลอดการพัฒนาอารยธรรมกว่า 3,000 ปี ทั้งในด้านคณิตศาสตร์, เทคนิคการสร้างพีระมิด, วัด, โอเบลิสก์, ตัวอักษร และเทคนิคโลยีด้านกระจก นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาประสิทธิภาพทางด้านการแพทย์, ระบบชลประทานและการเกษตรกรรม อียิปต์ทิ้งมรดกสุดท้ายแก่อนุชนรุ่นหลังไว้คือศิลปะ และสถาปัตยกรรม ซึ่งถูกคัดลอกนำไปใช้ทั่วโลก อนุสรณ์สถานที่ต่างๆในอียิปต์ต่างดึงดูดนักท่องเที่ยว นักประพันธ์กว่าหลายศตวรรษที่ผ่านมา ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุใหม่ๆในอียิปต์มากมายซึ่งกำลังตรวจสอบถึงประวัติความเป็นมา เพื่อเป็นหลักฐานให้แก่อารยธรรมอียิปต์ และเป็นหลักฐานแก่อารยธรรมของโลกต่อไป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ee1153\"><strong><span style=\"color: #d73c74\">ประวัติ</span><br />\n</strong></span> <br />\n<span style=\"color: #286ed6\">          แผ่นที่อียิปต์โบราณ, แสดงถึงสถานที่ตั้งเมืองและบริเวณ ในสมัยยุคราชวงศ์ (3150 - 30 ปีก่อนคริสต์ศักราช)ดูบทความเพิ่มเติมที่ ประวัติอียิปต์โบราณ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #286ed6\">         ช่วงปลายสมัยยุคหินเก่า แอฟริกาตอนเหนือมีสภาพอากาศที่ร้อนมาก และแห้งแล้ง ทำให้คนจำนวนมากลงมาอาศัยอยู่รอบๆบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไนล์ และกลุ่มชนล่าสัตว์,เก็บพืชผลเร่ร่อนเริ่มอาศัยเป็นหลักแหล่งเมื่อประมาณ 1.8 ล้านปีที่แล้ว แม่น้ำไนล์จึงเป็นแม่น้ำสายชีวิตของชาวอียิปต์มาช้านาน  ความอุดมสมบูรณืของบริเวณรอบแม่น้ำไนล์ เสมือนหนึ่งที่ธรรมชาติหยิบยื่นโอกาสให้แก่มนุษย์ที่จะตั้งถิ่นฐาน พัฒนาการเกษตรกรรม, เศรษฐกิจ และสังคม และนับเป็นศูนย์กลางทางสังคมสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมของมนุษยชาติ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ee1153\"><strong><span style=\"color: #d73c74\">ลำดับราชวงศ์<br />\n</span></strong></span><span style=\"color: #286ed6\">ปลายยุคก่อนราชวงศ์แห่งอียิปต์โบราณ<br />\nยุคราชวงศ์ (ลำดับราชวงศ์และฟาโรห์แห่งอียิปต์) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #286ed6\">ราชวงศ์ต้นๆ (ราชวงศ์ที่หนึ่ง และ ราชวงศ์ที่สอง)<br />\nราชอาณาจักรเก่า (ราชวงศ์ที่สาม ถึง ราชวงศ์ที่หก)<br />\nช่วงต่อระยะที่หนึ่ง (ราชวงศ์ที่เจ็ด ถึง ราชวงศ์ที่สิบเอ็ด)<br />\nราชอาณาจักรกลาง (ราชวงศ์ที่สิบเอ็ด ถึง ราชวงศ์ที่สิบสี่)<br />\nช่วงต่อระยะที่สอง (ราชวงศ์ที่สิบห้า ถึง ราชวงศ์ที่สิบเจ็ด)<br />\nราชอาณาจักรใหม่ (ราชวงศ์ที่สิบแปด ถึง ราชวงศ์ที่ยี่สิบ)<br />\nช่วงต่อระยะที่สาม (ราชวงศ์ที่ยี่สิบเอ็ด ถึง ราชวงศ์ที่ยี่สิบห้า)<br />\nยุคปลาย (ราชวงศ์ที่ยี่สิบหก ถึง ราชวงศ์ที่สามสิบเอ็ด)<br />\nยุคกรีก - โรมัน(พ.ศ. 211 ถึง พ.ศ. 1182) <br />\nกษัตริย์มาซิโดเนีย (พ.ศ. 211 ถึง พ.ศ. 238)<br />\nราชวงศ์ปโตเลมี (พ.ศ. 238 ถึง พ.ศ. 513)<br />\nอียิปต์ตุส (รัฐหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน พ.ศ. 513 ถึง พ.ศ. 1182)<br />\nมุสลิมบุกอียิปต์ (พ.ศ. 1182)  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ee1153\"><strong><span style=\"color: #d73c74\">อารยธรรมอียิปต์โบราณ</span></strong></span>     \n</p>\n<p>\n         <span style=\"color: #286ed6\">อารยธรรมที่เก่าแก่และรุ่งเรืองมากแห่งหนึ่งของโลก คือ อาณาจักรอิยิปต์โบราณ ชาวอิยิปต์มีพัฒนาการทางวิชาการที่ก้าวหน้า มีการสร้างสรรสิ่งก่อสร้างและศิลปโดยสถาปนิกจนเป็นที่เลื่องลือ งานศิลปที่สำคัญได้แก่ การแกะสลัก และงานสถาปัตยกรรมต่าง ๆ ชาวอิยิปต์ได้พัฒนาศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ ทั้งเรื่องดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ การแพทย์ และงานสร้างสรรรูปวาด ทั้งที่วาดบนฝาผนัง หรือแผ่นพาไพรัส (papyrus) ผลงานที่จารึกบนแผ่นพาไพรัสมีชื่อเสียงเลื่องลือ และเป็นที่บันทึกประวัติศาสตร์ได้ดีจนถึงปัจจุบัน </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7490/mdev03_1.gif\" height=\"203\" width=\"125\" />\n</div>\n<p>\n          <span style=\"color: #286ed6\">ชาวอิยิปต์ยังเป็นชนชาติที่มีความรู้ทางด้านการเกษตร สามารถทำการเพาะปลูกได้ดียิ่งในลุ่มแม่น้ำไนล์อาณาจักรของชาวอิยิปต์มีมาก่อน 5000 BC </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #286ed6\">          ประมาณ 3300 BC อาณาจักรอิยิปต์แบ่งออกเป็นสองอาณาจักร คือ อาณาจักรตอนบนตอนล่าง จนราว 3118 BC จึงได้รวมเป็นหนึ่งเดียว กษัตริย์ผู้รวมแผ่นดินอียิปต์มีพระนามว่า กษัตริย์เมเนส (Menes) สร้างเมืองหลวงอยู่ที่เมมไพส์ (Memphis) ปิรามิดที่เก่าแก่ของอิยิปต์ที่มีชื่อเสียงคือ ปิรามิดแบบเป็นชั้น ๆ ที่เมืองซัคคาร่า (Sakkara)สร้างโดยกษัตริย์โซเซอร์ (Soser) ประมาณปี 2667-2648 BC </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7490/mdev04_0.gif\" style=\"width: 145px; height: 164px\" height=\"85\" width=\"60\" />\n</div>\n<p>\n          <span style=\"color: #286ed6\">ปิรามิดที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันคือ ปิรามิดที่เมืองกิซ่า (Giza) ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกของแม่น้ำไนล์ ปิรามิดแห่งเมืองกิซ่ามีลักษณะแตกต่างจากปิรามิดรุ่นแรก ๆ คือ เป็นปิรามิดที่มีผิวเรียบ การสร้างปิรามิดรุ่นหลังนี้ สร้างในยุคอารยธรรมอิยิปต์ที่มีกษัตริย์ปกครอง ทรงพระนามว่า ฟาโรห์ การก่อสร้างปิรามิดเพื่อเป็นสถานที่ฝังพระศพของกษัตริย์และบุคคลสำคัญต่าง ๆ อาณาจักรอิยิปต์โบราณยุคใหม่นี้ก่อตั้งราว 1567-1085 BC และหลังจากนั้นอาณาจักรอิยิปต์เริ่มเสื่อมถอยลง จนราว 525-404 BC ก็ถูกครอบครองโดยเปอร์เซีย และจาก 332-30 BC ก็ตกอยู่ภายใต้การครอบครองของกรีกและมาเซโคเนียน หลังจาก 30 BC ก็ตกอยู่ภายใต้อาณาจักรโรมัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #286ed6\">          อารยธรรมอันยิ่งใหญ่ของโลกโบราณในระยะต้นนั้นส่วนใหญ่ก็คือ   อารยธรรมที่ราบลุ่มแม่น้ำทั้งนี้เพราะการสร้างอารยธรรม <br />\nในยุคแรกนั้นมีกำเนิดในบริเวณลุ่มแม่น้ำใหญ่เนื่องจากประชากรในยุคนั้นต้องอาศัยน้ำทั้งในการดำรงชีวิตและเพื่องานเกษตรกรรม  <br />\nการคมนาคมส่วนใหญ่ก็ต้องอาศัยแม่น้ำ ด้วยเหตุนี้แหล่งอารยธรรมโบราณของโลกจึงอยู่ที่บริเวณแม่น้ำใหญ่ 4 แห่ง    คือ บริเวณที่ <br />\nราบลุ่มแม่น้ำไนล์    บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกรีส ยูเฟรตีส    บริเวณแม่น้ำสินธุ   และบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำฮวงโหหรือแม่น้ำเหลือง  <br />\nอารยธรรมในบริเวณนี้เป็นอารยธรรมเกษตรกรรม เนื่องจากต้องอาศัยการดำรงชีวิตอยู่ใกล้บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำทั้งสิ้น</span> <br />\n \n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #d73c74\">ปัจจัยทางภูมิศาสตร์</span> <br />\n</strong>            <span style=\"color: #286ed6\">ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ นักประวัติศาสตร์กรีกท่านหนึ่งคือ เฮโรโดตัส (Herodotus:484-425 B.C.) กล่าวถึงอียิปต์ว่าเป็น  <br />\na  gift  of  the  Nile   เพราะถือว่าแม่น้ำไนล์นั้นคือหัวใจสำคัญที่หล่อเลี้ยงประเทศอียิปต์ เพราะตามปกติอียิปต์จะเป็นประเทศที่มี <br />\nอากาศร้อนและแห้งแล้ง เพราะล้อมรอบด้วยทะเลทราย มีฝนตกเพียงเล็กน้อยในฤดูหนาว  และตกเฉพาะบริเวณเดลต้า อียิปต์จึงได้ <br />\nอาศัยความชุ่มชื้นจากแม่น้ำไนล์ ในราวเดือนกรกฎาคมของทุกปีน้ำจากแม่น้ำจะไหลล้นฝั่งทั้งสองและเริ่มลดลงในเดือนตุลาคมเมื่อ <br />\nน้ำลดลงก็จะทิ้งโคลนตมไว้บริเวณสองฟากฝั่งแม่น้ำ โคลนตมเหล่านี้จเป็นปุ๋ยช่วยให้พืชเจริญงอกงาม  ฉะนั้น ถ้าขาดแม่น้ำไนล์เสีย <br />\nอียิปต์ก็จะกลายเป็นทะเลทรายที่ร้อนระอุ    ด้วยเหตุที่แม่น้ำไนล์ให้ความอุดมสมบูรณ์นี้อารยธรรมของอียิปต์จึงเป็นอารยธรรมที่เกิด <br />\nจากการเกษตรกรรม <br />\n  <br />\n          อิทธิพลของน้ำขึ้นน้ำลงนี้เชื่อว่าเป็นเพราะอิทธิพลของของฟาโรห์  พระองค์เท่านั้นที่รู้จักและเข้า  Ma\'at     ซึ่งหมายความว่า <br />\nนั่นคือ   เป็นผู้ดียวที่เข้าใจถึงความสอดคล้องต้องกันของจักรวาล     เพราะฉะนั้น การปกครองของอียิปต์ในระยะแรกจึงมาในรูปของ <br />\nกษัตริย์เทวาธิปไตย ในระหว่างที่ฟาโรห์ยังทรงพระชนม์อยู่ก็จะดำรงตำแหน่งโฮรัส   (Horus)   พระบุตรของโอสิริส   (Osiris)   เมื่อ <br />\nสิ้นพระชนม์แล้วก็จะกลับไปเป็นเทพโอสิริส กล่าวคือเป็นเทพโอสิริสอีกองค์หนึ่งเพราะฉะนั้นกษัตริย์อียิปต์ทุกพระองค์เมื่อได้มีทำพิธี <br />\nฝังพระศพแล้วก็จะถูกเรียกว่าเทพโอสิริสทุกพระองค์และเมื่อนั้นก็จะมีการช่วยเหลือข้าราชบริพารของพระองค์ที่ยังดำรงชีวิตอยู่ได้ </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #d73c74\">ประวัติศาสตร์การเมืองของอียิปต์</span></strong>          \n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #286ed6\">ประวัติศาสตร์การเมืองของอียิปต์ นักปราชญ์ผู้ทำการศึกษาเรื่องราวของอียิปต์โดยเฉพาะคือ จอห์น เอ วิลสัน  <br />\n(John A. Wilson) บันทึกไว้ ว่า &quot;การเปลี่ยนแปลงและวิวัฒนาการต่างๆ นั้น น้ำจะเกิดขึ้นภายในดินแดนลุ่มแม่น้ำไนล์เอง กล่าวคือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #286ed6\">ฝูงสัตว์จากบริเวณที่สูงรวมทั้งคนด้วยคงจะล่องมาตามบริเวณริมฝั่งแม่น้ำหาแหล่งที่มีพืชผลอุดมสมบูรณ์ตามกันลงมาจนทั้งสองฝ่าย <br />\nรู้จักกันดีขึ้นคนรู้ว่าสัตว์บางชนิดควรเลี้ยงไว้ใ่กล้สัตว์เพื่อเก็บไว้เป็นอาหารในวันหน้าพืชบางชนิดก็อาจขยายพันธุ์ให้ได้จำนวนมากขึ้น <br />\nเพื่อเลี้ยงทั้งมนุษย์และสัตว์ที่คนเลี้ยงไว้ด้วย&quot;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #286ed6\">          อียิปต์โบราณ หรือบริเวณลุ่มแม่น้ำไนล์นี้เอง เป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของโลก กล่าวคือเมื่อประมาณ 6000 ปี มาแล้วประชาชนบริเวณนี้ได้เริ่มเรียนรู้วิธีที่จะเอาชนะธรรมชาติและนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ มีรัฐบาลที่เป็นระเบียบมี <br />\nความมั่นคงอุดมสมบูรณ์    ตลอดจนมีศิลปและวรรณคดีชั้นสูง อารยธรรมนี้ก็เจริญและยั่งยืนอยู่เป็นเวลานาน      สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ <br />\nอารยธรรมเจริญอยู่เป็นเวลานานก็เพราะสภาพภูมิประเทศ <br />\n          1. การที่อิยิปต์ล้อมรอบด้วยทะเลทรายทั้งทางทิศตะวันตก และทิศตะวันออกตลอดจนการที่แม่น้ำไนล์มี แก่งโจน(Catarats) <br />\nตั้งแต่ปากน้ำจนสุดสายแม่น้ำซึ่งยาวประมาณ 700 ไมล์ ทำให้เป็นการยากแก่ศัตรูภายนอกที่จะเข้ารุกรานมีทางเดียวเท่านั้นที่ศรัตรู <br />\nจะเข้ามารุกรานอียิปต์ได้คือเดลต้าที่เชื่อมทวีปอัฟริกากับเอเซียคือตรงบริเวณทะเลแดง แต่ก็ป้องกันได้ง่าย <br />\n         2. การที่แม่น้ำไนล์ท่วมฝั่งทุกปีทำให้ประชาชนที่เข้าอยู่บริเวณนี้ต้องพยายามหาทางที่จะเอาชนะธรรมชาติจึงเกิดความร่วมมือ <br />\nกันทำงาน เช่นมีการชลประทานมีการขุดคูส่งน้ำเมื่อมีคนมาอยู่มากก็ต้องมีรัฐบาลปกครองเพื่อความเป็นอยู่อย่างสงบสุข นอกจากนี้ <br />\nความอุดมสมบูรณ์ที่ได้รับจากแม่น้ำไนล์ก็ยังมีส่วนทำให้ชาวอียิปต์มีจิตใจที่จะคิดค้นและสร้างสมศิลปวัฒนธรรมและวรรรณคดีต่างๆ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7490/200px-Ancient_Egypt_map-en_svg.png\" height=\"408\" width=\"200\" />\n</div>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #286ed6\">แผ่นที่อียิปต์โบราณ, แสดงถึงสถานที่ตั้งเมืองและบริเวณ </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<span style=\"color: #286ed6\">ในสมัยยุคราชวงศ์ (3150 - 30 ปีก่อนคริสต์ศักราช) </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719554758, expire = 1719641158, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:67812d0e23692d22766aaea74beb4128' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:254422b0c3bd5d4c9e455d9d7453465c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>เราขอใช้ข้อมูลหน่อยน้า</p>\n<p>แล้วจะอ้างอิงไว้จ้ะ</p>\n<p>ขอบคุนนะ</p>\n<p>^_________^</p>\n', created = 1719554758, expire = 1719641158, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:254422b0c3bd5d4c9e455d9d7453465c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อียิปต์โบราณ

รูปภาพของ sss28363

 อียิปต์โบราณ

          อียิปต์โบราณ หรือ ไอยคุปต์ เป็นหนึ่งในอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ตั้งแต่ตอนกลางจนถึงปากแม่น้ำไนล์ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของประเทศอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์โบราณเริ่มขึ้นประมาณ 3150 ปีก่อนคริตศักราช  โดยการรวมอำนาจทางการเมืองของอียิปต์ตอนเหนือและตอนใต้ ภายใต้ฟาโรห์องค์แรกแห่งอียิปต์ และมีการพัฒนาอารยธรรมเรื่อยมากว่า 3,000 ปี  ประวัติของอียิปต์โบราณปรากฏขึ้นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หรือที่รู้จักกันว่า "ราชอาณาจักร" มีการแบ่งยุคสมัยของอียิปต์โบราณเป็นราชอาณาจักร ส่วนมากแบ่งตามราชวงศ์ที่ขึ้นมาปกครอง จนกระทั่งราชอาณาจักรสุดท้าย หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า "ราชอาณาจักรใหม่" อารยธรรมอียิปต์อยู่ในช่วงที่มีการพัฒนาที่น้อยมาก และส่วนมากลดลง ซึ่งเป็นเวลาเดียวกันที่อียิปต์พ่ายแพ้ต่อการทำสงครามจากอำนาจของชาติอื่น จนกระทั่งเมื่อ 31 ปีก่อนคริตศักราชก็เป็นการสิ้นสุดอารยธรรมอียิปต์โบราณลง เมื่อจักรวรรดิโรมันสามารถเอาชนะอียิปต์ และจัดอียิปต์เป็นเพียงจังหวัดหนึ่งในจักรวรรดิโรมัน

อารยธรรมอียิปต์พัฒนาการมาจากสภาพของลุ่มแม่น้ำไนล์ การควบคุมระบบชลประทาน, การควบคุมการผลิตพืชผลทางการเกษตร พร้อมกับพัฒนาอารยธรรมทางสังคม และวัฒนธรรม พื้นที่ของอียิปต์นั้นล้อมรอบด้วยทะเลทรายเสมือนปราการป้องกันการรุกรานจากศัตรูภายนอก นอกจากนี้ยังมีการทำเหมืองแร่ และอียิปต์ยังเป็นชนชาติแรกๆที่มีการพัฒนาการด้วยการเขียน ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ ,การบริหารอียิปต์เน้นไปทางสิ่งปลูกสร้าง และการเกษตรกรรม พร้อมกันนั้นก็มีการพัฒนาการทางทหารของอียิปต์ที่เสริมสร้างความแข็งแกร่งแก่ราชอาณาจักร โดยประชาชนจะให้ความเคารพกษัตริย์หรือฟาโรห์เสมือนหนึ่งเทพเจ้า ทำให้การบริหารราชการบ้านเมืองและการควบคุมอำนาจนั้นทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ

          ชาวอียิปต์โบราณไม่ได้เป็นเพียงแต่นักเกษตรกรรม และนักสร้างสรรค์อารยธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นนักคิด, นักปรัชญา ได้มาซึ่งความรู้ในศาสตร์ต่างๆมากมายตลอดการพัฒนาอารยธรรมกว่า 3,000 ปี ทั้งในด้านคณิตศาสตร์, เทคนิคการสร้างพีระมิด, วัด, โอเบลิสก์, ตัวอักษร และเทคนิคโลยีด้านกระจก นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาประสิทธิภาพทางด้านการแพทย์, ระบบชลประทานและการเกษตรกรรม อียิปต์ทิ้งมรดกสุดท้ายแก่อนุชนรุ่นหลังไว้คือศิลปะ และสถาปัตยกรรม ซึ่งถูกคัดลอกนำไปใช้ทั่วโลก อนุสรณ์สถานที่ต่างๆในอียิปต์ต่างดึงดูดนักท่องเที่ยว นักประพันธ์กว่าหลายศตวรรษที่ผ่านมา ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุใหม่ๆในอียิปต์มากมายซึ่งกำลังตรวจสอบถึงประวัติความเป็นมา เพื่อเป็นหลักฐานให้แก่อารยธรรมอียิปต์ และเป็นหลักฐานแก่อารยธรรมของโลกต่อไป

ประวัติ
 
          แผ่นที่อียิปต์โบราณ, แสดงถึงสถานที่ตั้งเมืองและบริเวณ ในสมัยยุคราชวงศ์ (3150 - 30 ปีก่อนคริสต์ศักราช)ดูบทความเพิ่มเติมที่ ประวัติอียิปต์โบราณ

         ช่วงปลายสมัยยุคหินเก่า แอฟริกาตอนเหนือมีสภาพอากาศที่ร้อนมาก และแห้งแล้ง ทำให้คนจำนวนมากลงมาอาศัยอยู่รอบๆบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไนล์ และกลุ่มชนล่าสัตว์,เก็บพืชผลเร่ร่อนเริ่มอาศัยเป็นหลักแหล่งเมื่อประมาณ 1.8 ล้านปีที่แล้ว แม่น้ำไนล์จึงเป็นแม่น้ำสายชีวิตของชาวอียิปต์มาช้านาน  ความอุดมสมบูรณืของบริเวณรอบแม่น้ำไนล์ เสมือนหนึ่งที่ธรรมชาติหยิบยื่นโอกาสให้แก่มนุษย์ที่จะตั้งถิ่นฐาน พัฒนาการเกษตรกรรม, เศรษฐกิจ และสังคม และนับเป็นศูนย์กลางทางสังคมสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมของมนุษยชาติ

ลำดับราชวงศ์
ปลายยุคก่อนราชวงศ์แห่งอียิปต์โบราณ
ยุคราชวงศ์ (ลำดับราชวงศ์และฟาโรห์แห่งอียิปต์)

ราชวงศ์ต้นๆ (ราชวงศ์ที่หนึ่ง และ ราชวงศ์ที่สอง)
ราชอาณาจักรเก่า (ราชวงศ์ที่สาม ถึง ราชวงศ์ที่หก)
ช่วงต่อระยะที่หนึ่ง (ราชวงศ์ที่เจ็ด ถึง ราชวงศ์ที่สิบเอ็ด)
ราชอาณาจักรกลาง (ราชวงศ์ที่สิบเอ็ด ถึง ราชวงศ์ที่สิบสี่)
ช่วงต่อระยะที่สอง (ราชวงศ์ที่สิบห้า ถึง ราชวงศ์ที่สิบเจ็ด)
ราชอาณาจักรใหม่ (ราชวงศ์ที่สิบแปด ถึง ราชวงศ์ที่ยี่สิบ)
ช่วงต่อระยะที่สาม (ราชวงศ์ที่ยี่สิบเอ็ด ถึง ราชวงศ์ที่ยี่สิบห้า)
ยุคปลาย (ราชวงศ์ที่ยี่สิบหก ถึง ราชวงศ์ที่สามสิบเอ็ด)
ยุคกรีก - โรมัน(พ.ศ. 211 ถึง พ.ศ. 1182)
กษัตริย์มาซิโดเนีย (พ.ศ. 211 ถึง พ.ศ. 238)
ราชวงศ์ปโตเลมี (พ.ศ. 238 ถึง พ.ศ. 513)
อียิปต์ตุส (รัฐหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน พ.ศ. 513 ถึง พ.ศ. 1182)
มุสลิมบุกอียิปต์ (พ.ศ. 1182) 

อารยธรรมอียิปต์โบราณ     

         อารยธรรมที่เก่าแก่และรุ่งเรืองมากแห่งหนึ่งของโลก คือ อาณาจักรอิยิปต์โบราณ ชาวอิยิปต์มีพัฒนาการทางวิชาการที่ก้าวหน้า มีการสร้างสรรสิ่งก่อสร้างและศิลปโดยสถาปนิกจนเป็นที่เลื่องลือ งานศิลปที่สำคัญได้แก่ การแกะสลัก และงานสถาปัตยกรรมต่าง ๆ ชาวอิยิปต์ได้พัฒนาศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ ทั้งเรื่องดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ การแพทย์ และงานสร้างสรรรูปวาด ทั้งที่วาดบนฝาผนัง หรือแผ่นพาไพรัส (papyrus) ผลงานที่จารึกบนแผ่นพาไพรัสมีชื่อเสียงเลื่องลือ และเป็นที่บันทึกประวัติศาสตร์ได้ดีจนถึงปัจจุบัน

          ชาวอิยิปต์ยังเป็นชนชาติที่มีความรู้ทางด้านการเกษตร สามารถทำการเพาะปลูกได้ดียิ่งในลุ่มแม่น้ำไนล์อาณาจักรของชาวอิยิปต์มีมาก่อน 5000 BC

          ประมาณ 3300 BC อาณาจักรอิยิปต์แบ่งออกเป็นสองอาณาจักร คือ อาณาจักรตอนบนตอนล่าง จนราว 3118 BC จึงได้รวมเป็นหนึ่งเดียว กษัตริย์ผู้รวมแผ่นดินอียิปต์มีพระนามว่า กษัตริย์เมเนส (Menes) สร้างเมืองหลวงอยู่ที่เมมไพส์ (Memphis) ปิรามิดที่เก่าแก่ของอิยิปต์ที่มีชื่อเสียงคือ ปิรามิดแบบเป็นชั้น ๆ ที่เมืองซัคคาร่า (Sakkara)สร้างโดยกษัตริย์โซเซอร์ (Soser) ประมาณปี 2667-2648 BC

          ปิรามิดที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันคือ ปิรามิดที่เมืองกิซ่า (Giza) ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกของแม่น้ำไนล์ ปิรามิดแห่งเมืองกิซ่ามีลักษณะแตกต่างจากปิรามิดรุ่นแรก ๆ คือ เป็นปิรามิดที่มีผิวเรียบ การสร้างปิรามิดรุ่นหลังนี้ สร้างในยุคอารยธรรมอิยิปต์ที่มีกษัตริย์ปกครอง ทรงพระนามว่า ฟาโรห์ การก่อสร้างปิรามิดเพื่อเป็นสถานที่ฝังพระศพของกษัตริย์และบุคคลสำคัญต่าง ๆ อาณาจักรอิยิปต์โบราณยุคใหม่นี้ก่อตั้งราว 1567-1085 BC และหลังจากนั้นอาณาจักรอิยิปต์เริ่มเสื่อมถอยลง จนราว 525-404 BC ก็ถูกครอบครองโดยเปอร์เซีย และจาก 332-30 BC ก็ตกอยู่ภายใต้การครอบครองของกรีกและมาเซโคเนียน หลังจาก 30 BC ก็ตกอยู่ภายใต้อาณาจักรโรมัน

          อารยธรรมอันยิ่งใหญ่ของโลกโบราณในระยะต้นนั้นส่วนใหญ่ก็คือ   อารยธรรมที่ราบลุ่มแม่น้ำทั้งนี้เพราะการสร้างอารยธรรม
ในยุคแรกนั้นมีกำเนิดในบริเวณลุ่มแม่น้ำใหญ่เนื่องจากประชากรในยุคนั้นต้องอาศัยน้ำทั้งในการดำรงชีวิตและเพื่องานเกษตรกรรม 
การคมนาคมส่วนใหญ่ก็ต้องอาศัยแม่น้ำ ด้วยเหตุนี้แหล่งอารยธรรมโบราณของโลกจึงอยู่ที่บริเวณแม่น้ำใหญ่ 4 แห่ง    คือ บริเวณที่
ราบลุ่มแม่น้ำไนล์    บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกรีส ยูเฟรตีส    บริเวณแม่น้ำสินธุ   และบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำฮวงโหหรือแม่น้ำเหลือง 
อารยธรรมในบริเวณนี้เป็นอารยธรรมเกษตรกรรม เนื่องจากต้องอาศัยการดำรงชีวิตอยู่ใกล้บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำทั้งสิ้น
 
 

ปัจจัยทางภูมิศาสตร์
            ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ นักประวัติศาสตร์กรีกท่านหนึ่งคือ เฮโรโดตัส (Herodotus:484-425 B.C.) กล่าวถึงอียิปต์ว่าเป็น 
a  gift  of  the  Nile   เพราะถือว่าแม่น้ำไนล์นั้นคือหัวใจสำคัญที่หล่อเลี้ยงประเทศอียิปต์ เพราะตามปกติอียิปต์จะเป็นประเทศที่มี
อากาศร้อนและแห้งแล้ง เพราะล้อมรอบด้วยทะเลทราย มีฝนตกเพียงเล็กน้อยในฤดูหนาว  และตกเฉพาะบริเวณเดลต้า อียิปต์จึงได้
อาศัยความชุ่มชื้นจากแม่น้ำไนล์ ในราวเดือนกรกฎาคมของทุกปีน้ำจากแม่น้ำจะไหลล้นฝั่งทั้งสองและเริ่มลดลงในเดือนตุลาคมเมื่อ
น้ำลดลงก็จะทิ้งโคลนตมไว้บริเวณสองฟากฝั่งแม่น้ำ โคลนตมเหล่านี้จเป็นปุ๋ยช่วยให้พืชเจริญงอกงาม  ฉะนั้น ถ้าขาดแม่น้ำไนล์เสีย
อียิปต์ก็จะกลายเป็นทะเลทรายที่ร้อนระอุ    ด้วยเหตุที่แม่น้ำไนล์ให้ความอุดมสมบูรณ์นี้อารยธรรมของอียิปต์จึงเป็นอารยธรรมที่เกิด
จากการเกษตรกรรม
 
          อิทธิพลของน้ำขึ้นน้ำลงนี้เชื่อว่าเป็นเพราะอิทธิพลของของฟาโรห์  พระองค์เท่านั้นที่รู้จักและเข้า  Ma'at     ซึ่งหมายความว่า
นั่นคือ   เป็นผู้ดียวที่เข้าใจถึงความสอดคล้องต้องกันของจักรวาล     เพราะฉะนั้น การปกครองของอียิปต์ในระยะแรกจึงมาในรูปของ
กษัตริย์เทวาธิปไตย ในระหว่างที่ฟาโรห์ยังทรงพระชนม์อยู่ก็จะดำรงตำแหน่งโฮรัส   (Horus)   พระบุตรของโอสิริส   (Osiris)   เมื่อ
สิ้นพระชนม์แล้วก็จะกลับไปเป็นเทพโอสิริส กล่าวคือเป็นเทพโอสิริสอีกองค์หนึ่งเพราะฉะนั้นกษัตริย์อียิปต์ทุกพระองค์เมื่อได้มีทำพิธี
ฝังพระศพแล้วก็จะถูกเรียกว่าเทพโอสิริสทุกพระองค์และเมื่อนั้นก็จะมีการช่วยเหลือข้าราชบริพารของพระองค์ที่ยังดำรงชีวิตอยู่ได้

ประวัติศาสตร์การเมืองของอียิปต์          

          ประวัติศาสตร์การเมืองของอียิปต์ นักปราชญ์ผู้ทำการศึกษาเรื่องราวของอียิปต์โดยเฉพาะคือ จอห์น เอ วิลสัน 
(John A. Wilson) บันทึกไว้ ว่า "การเปลี่ยนแปลงและวิวัฒนาการต่างๆ นั้น น้ำจะเกิดขึ้นภายในดินแดนลุ่มแม่น้ำไนล์เอง กล่าวคือ

ฝูงสัตว์จากบริเวณที่สูงรวมทั้งคนด้วยคงจะล่องมาตามบริเวณริมฝั่งแม่น้ำหาแหล่งที่มีพืชผลอุดมสมบูรณ์ตามกันลงมาจนทั้งสองฝ่าย
รู้จักกันดีขึ้นคนรู้ว่าสัตว์บางชนิดควรเลี้ยงไว้ใ่กล้สัตว์เพื่อเก็บไว้เป็นอาหารในวันหน้าพืชบางชนิดก็อาจขยายพันธุ์ให้ได้จำนวนมากขึ้น
เพื่อเลี้ยงทั้งมนุษย์และสัตว์ที่คนเลี้ยงไว้ด้วย"

          อียิปต์โบราณ หรือบริเวณลุ่มแม่น้ำไนล์นี้เอง เป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของโลก กล่าวคือเมื่อประมาณ 6000 ปี มาแล้วประชาชนบริเวณนี้ได้เริ่มเรียนรู้วิธีที่จะเอาชนะธรรมชาติและนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ มีรัฐบาลที่เป็นระเบียบมี
ความมั่นคงอุดมสมบูรณ์    ตลอดจนมีศิลปและวรรณคดีชั้นสูง อารยธรรมนี้ก็เจริญและยั่งยืนอยู่เป็นเวลานาน      สาเหตุหนึ่งที่ทำให้
อารยธรรมเจริญอยู่เป็นเวลานานก็เพราะสภาพภูมิประเทศ
          1. การที่อิยิปต์ล้อมรอบด้วยทะเลทรายทั้งทางทิศตะวันตก และทิศตะวันออกตลอดจนการที่แม่น้ำไนล์มี แก่งโจน(Catarats)
ตั้งแต่ปากน้ำจนสุดสายแม่น้ำซึ่งยาวประมาณ 700 ไมล์ ทำให้เป็นการยากแก่ศัตรูภายนอกที่จะเข้ารุกรานมีทางเดียวเท่านั้นที่ศรัตรู
จะเข้ามารุกรานอียิปต์ได้คือเดลต้าที่เชื่อมทวีปอัฟริกากับเอเซียคือตรงบริเวณทะเลแดง แต่ก็ป้องกันได้ง่าย
         2. การที่แม่น้ำไนล์ท่วมฝั่งทุกปีทำให้ประชาชนที่เข้าอยู่บริเวณนี้ต้องพยายามหาทางที่จะเอาชนะธรรมชาติจึงเกิดความร่วมมือ
กันทำงาน เช่นมีการชลประทานมีการขุดคูส่งน้ำเมื่อมีคนมาอยู่มากก็ต้องมีรัฐบาลปกครองเพื่อความเป็นอยู่อย่างสงบสุข นอกจากนี้
ความอุดมสมบูรณ์ที่ได้รับจากแม่น้ำไนล์ก็ยังมีส่วนทำให้ชาวอียิปต์มีจิตใจที่จะคิดค้นและสร้างสมศิลปวัฒนธรรมและวรรรณคดีต่างๆ

 

แผ่นที่อียิปต์โบราณ, แสดงถึงสถานที่ตั้งเมืองและบริเวณ

ในสมัยยุคราชวงศ์ (3150 - 30 ปีก่อนคริสต์ศักราช)

 

 

 

เราขอใช้ข้อมูลหน่อยน้า

แล้วจะอ้างอิงไว้จ้ะ

ขอบคุนนะ

^_________^

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 245 คน กำลังออนไลน์