• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.141.199.122', 0, '1b39544ec6ff3fdde4b29c1f8e0740d8', 220, 1716204043) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5de465b2f71d6f87094fa0022b2ffc39' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: x-large\"></span></p>\n<div>\n<div>\nกระบวนพยุหยาตราชลมารคกระบวนพยุหยาตราชลมารค หรือ กระบวนพยุหยาตราทางชลมารคเป็นกระบวนเสด็จพระราชดำเนินทางน้ำที่เป็นราชประเพณีไทยที่มีมาแต่โบราณ โดยมีหลักฐานชัดเจนตั้งแต่สมัยอยุธยา เรือในกระบวนมีการสลักโขนเรือเป็นรูปสัตว์ในเทพนิยาย มีการจัดกระบวนหลายแบบ ที่รู้จักกันดีก็คือ &quot;กระบวนพยุหยาตราเพชรพวง&quot; ดังปรากฏใน ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง ลิลิตพรรณนากระบวนเรือ ประพันธ์โดยเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เมื่อ พ.ศ. 2430 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โดยยึดถือตามแบบแผนเดิมแห่งกรุงศรีอยุธยาประเภทของการเห่เรือ สามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภทคือ การเห่เรือหลวง (การเห่เรือในงานพระราชพิธี)และ การเห่เรือเล่น (การเห่เรือเล่นของชาวบ้านในงานต่างๆ) ในปัจจุบันการเห่เรือ ยังคงอยู่เฉพาะ การเห่เรือหลวง ที่ใช้ใน กระบวนพยุหยาตราชลมารคสมัยเริ่มแรกของกระบวนเรือกระบวนพยุหยาตราชลมารค ในการแห่พระกฐินในอดีต หน้าวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารการเสด็จทางน้ำที่เรียกว่า กระบวนพยุหยาตราชลมารค นั้นมีหลักฐานมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ปรากฏไว้ว่า พระร่วงเจ้า (พระมหาธรรมราชา ๑) ทรงใช้เรือออกลอยกระทง หรือพิธีจองเปรียง ณ กลางสระน้ำ พร้อมทั้งเผาเทียนเล่นไฟในยามคืนเพ็ญเดือนสิบสองในยุคกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ตามพงศาวดารได้บันทึกไว้ว่า สมเด็จพระนเรศวรเมื่อคราวเสด็จไปตีเมืองเมาะตะมะ เสด็จพระราชดำเนินจากกรุงศรีอยุธยาโดยชลมารค พอได้เวลาฤกษ์ พระโหราราชครูอธิบดีศรีทิชาจารย์ ก็ลั่นกลองฆ้องชัยให้พายเรือพระที่นั่งศรีสุพรรณหงส์ อันเป็นเรือทรงพระพุทธปฏิมากรทองนพคุณ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุถวายพระนามสมญา “พระพิชัย” นำกระบวนออกไปก่อนเพื่อความเป็นสิริมงคลครั้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ซึ่งตัวเกาะกรุงนั้นเป็นเกาะที่ล้อมรอบไปด้วยแม่น้ำลำคลอง ชีวิตผูกพันกับสายน้ำ จึงปรากฏการสร้างเรือรบมากมายในกรุงศรีอยุธยา ยามบ้านเมืองสุขสงบ ชาวกรุงศรีอยุธยาก็หันมาเล่นเพลงเรือ แข่งเรือเป็นเรื่องเอิกเกริก โดยเฉพาะพระเจ้าแผ่นดินกรุงสยาม เมื่อจะเสด็จฯแปรพระราชฐานไปยังหัวเมืองต่างๆ หรือเสด็จฯไปทอดผ้ากฐินยังวัดวาอาราม ก็มักจะใช้เรือรบโบราณเหล่านั้นจัดเป็นกระบวนเรือยิ่งใหญ่ ดังนั้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีกระบวนเรือเพชรพวง ซึ่งเป็นเรือริ้วกระบวนที่ใหญ่มาก จัดออกเป็น ๔ สาย แร้วเรือพระที่นั่งตรงกลางอีก ๑ สาย ใช้เรือทั้งสิ้นไม่น้อยกว่า ๑๐๐ ลำ\n</div>\n<div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<div>\nระหว่างการเคลื่อนกระบวนก็มีการเห่เรือพร้อมเครื่องประโคม จนเกิดวรรณกรรมร้อยกรองที่ไพเราะยิ่ง คือ กาพย์เห่เรือ ของ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ หรือเจ้าฟ้ากุ้ง ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ตอนปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งบรรยายถึงความงดงาม และลักษณะของเรือในกระบวนครั้งนั้น และบทเห่เรือนี้ยังเป็นแม่แบบของกาพย์เห่เรือที่ใช้กันในปัจจุบัน\n</div>\n<div>\n\n</div>\n<div>\nสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชด้วยเหตุที่สมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชนั้น บ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆมากมาย ทั้งทรงสร้างเมืองลพบุรีขึ้น จึงมีการเสด็จฯ โดยกระบวนพยุหยาตราชลมารค และในบางโอกาสก็โปรดเกล้าฯ ให้จัดกระบวนเรือหลวงออกรับคณะราชทูต และแห่พระราชสาสน์ของพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ แห่งประเทศฝรั่งเศส จากกรุงศรีอยุธยา มายังเมืองลพบุรีในช่วงปี พ.ศ. 2199-2231 ปรากฏหลักฐานว่าเมื่อพระองค์เสด็จแปรพระราชฐานไปยังหัวเมืองต่างๆ มีการจัดกระบวนพยุหยาตราฯที่เรียกว่า “ขบวนเพชรพวง” เป็นริ้วกระบวนยิ่งใหญ่ 4 สาย พร้อมริ้วเรือพระที่นั่ง ตรงกลางอีก 1 สาย มีเรือทั้งสิ้นไม่ตำกว่า 100 ลำ ซึ่งนับเป็นกระบวนพยุหยาตราฯที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์และนับเป็นต้นแบบสำคัญของกระบวนพยุหยาตราฯในสมัยต่อๆ มาบันทึกของนิโคลาส แชแวร์ตามบันทึกของ นิโคลาส แชแวร์ ราชทูตฝรั่งเศสซึ่งเดินทางเข้ามาในสมัยนั้น ได้บรรทึกไว้ในหนังสือ ประวัติศาสตร์แห่งราชอาณาจักรสยาม ถึงกระบวนเรือไว้ว่า&quot;ไม่สามารถเทียบความงามกับขบวนเรืออื่นใดได้ เป็นขบวนเรือที่มโหฬาร มีเรือกว่า ๒๐๐ ลำ โดยมีเรือพระที่นั่งพายเป็นคู่ๆไปข้างหน้า เรือพระที่นั่งนั้น ใช้ฝีพายของพวกแขนแดงที่ได้รับการฝึกพายมาจนชำนาญ ทุกคนสวมหมวก เสื้อ ปลอกเข่า ปลอกแขน มีทองคำประกอบ เวลาพายพร้อมกับเป็นจังหวะจะโคน พายนั้นก็เป็นทอง เสียงพายกระทบเป็นเสียงประสานไปกับทำนองเพลงยอพระเกียรติของพระเจ้าแผ่นดิน&quot;\n</div>\n<div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<div>\nบันทึกของกวีย์ ตาชาร์ด\n</div>\n<div>\nในปี พ.ศ. ๒๒๒๘ พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ทรงส่งลาลูแบร์เป็นราชทูตเข้ามายังประเทศไทย พร้อมกับคณะบาทหลวงเยซูอิด ซึ่งมีบาทหลวงผู้หนึ่ง คือ กวีย์ ตาชาร์ด เป็นผู้บันทึกเหตุการณ์ไว้ในหนังสือเรื่อง จดหมายเหตุการเดินทางสู่ประเทศสยาม ในตอนหนึ่งได้เล่าถึงขบวนเรือที่ใช้ออกรับเครื่องราชบรรณาการว่า&quot;มีเรือบังลังก์ขนาดใหญ่ ๔ ลำมา แต่ละลำมีฝีพายถึง ๘๐ คน ซึ่งเราไม่เคยเห็นเช่นนั้นมาก่อน ๒ ลำแรกนั้นหัวเรือทำเป็นรูปเหมือนม้าปิดทองทั้งลำ เมื่อเห็นมันมาแต่ไกลในลำน้ำนั้นดูคล้ายกับมันมีชีวิตชีวา มีเจ้าหน้าที่กองทหารรักษาพระองค์ ๒ นายมาในเรือทั้ง ๒ ลำ เพื่อรับเครื่องราชบรรณาการของสมเด็จพระเจ้ากรุงฝรั่งเศส ครั้นบรรทุกเสร็จแล้วก็ถอยออก ไปลอยลำอยู่กลางแม่น้ำอย่างสงบเงียบ และตลอดเวลาที่ลอยลำอยู่นี้ ไม่มีสุ้มเสียงใดเลยบนฝั่ง และไม่มีเรือลำได้เลยแล่นขึ้นล่องในแม่น้ำ เป็นการแสดงความเคารพต่อเรือบัลลังก์หลวง และเครื่องราชบรรณาการที่บรรทุกอยู่นั้น&quot;บาทหลวง ตาชาร์ด ยังเขียนถึงขบวนเรือที่แห่พระราชสาสน์ และเครื่องราชบรรณาการที่เดินทางออกจากกรุงศรีอยุธยา ไปยังเมืองลพบุรีไว้อีกว่า&quot;ขบวนอันยึดยาวของเรือบังลังก์หลวง ซึ่งเคลื่อนที่ไปอย่างมีระเบียบเรียบร้อยนี้มีจำนวนถึง ๑๕๐ ลำผนวกกับเรือลำอื่นๆ เข้าอีกก็แน่นแม่น้ำ แลไปได้สุดสายตา อันเป็นทัศนียภาพที่งดงามยิ่งนัก เสียงเห่แสดงความยินดีตามธรรมเนียมนิยมของชาวสยาม อันคล้ายจะรุกไล่เข้าประกับข้าศึกนั้น ก้องไปทั้งฟากแม่น้ำ ซึ่งมีประชาชาพลเมืองมาคอยชมขบวนเรือยาตราอันมโหฬารนี้อยู่&quot;สมัยกรุงรัตนโกสินทร์พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะทรงประทับบนเรือพระที่นั่งสุวรรณหงส์ทอดบัลลังก์บุษบก เสด็จพระราชดำเนินทรงทอดพระกฐินทางชลมารค ( ภาพถ่ายลายเส้นหายากจากหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศสในสมัยนั้น )ในตอนเสียกรุงครั้งที่ ๒ พม่าได้เผาทำลายเรือลงจนหมดสิ้น หลังจากนั้น เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงกอบกู้เอกราชของไทยคืนมาได้ ก็ทรงสร้างเรือขึ้นใหม่ทั้งชุด แต่ส่วนใหญ่จะเป็นเรือที่ใช้ในการรบพุ่งทั้งสิ้น เพราะในสมัยนั้นมีแต่การศึกสงครามครั้นมาถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระองค์ได้ทรงสร้างเรือขึ้นมาใหม่อีก ๖๗ ลำ ซึ่งมีทั้งเรือพระที่นั่ง เรือกระบวนปิดทอง เรือพิฆาต และเรือแซง ซึ่งเป็นเรือที่สำคัญๆ เป็นที่รู้จักมาจนเท่าทุกวันนี้ในรัชกาลต่อๆมาก็ยังมีการสร้างเรือเพิ่มขึ้นมาอีก·         รัชกาลที่ ๒ ๒ ลำ ·         รัชกาลที่ ๓ ๒๔ ลำ ·         รัชกาลที่ ๔ ๗ ลำ ·         รัชกาลที่ ๕ ลำเดียว ·   รัชกาลที่ ๖ ๒ ลำ จากนั้นก็มิได้มีการสร้างเรืออีกจนถึงรัชกาลที่ ๙จึงได้มีการสร้างเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙เนื่องในโอกาสกาญจนาภิเษก เรือที่สำคัญๆ และตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน ก็ได้แก่ เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช สร้างขึ้นครั้งแรกในรัชกาลที่ ๔ และมาสร้างขึ้นแทนลำเดิมอีกในรัชกาลที่ ๖ เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ สร้างขึ้นในรัชกาลที่ ๕ และ เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ สร้างขึ้นในรัชกาลที่ ๖ในช่วงสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา อู่เรือพระที่นั่งที่ปากคลองบางกอกน้อยถูกลูกระเบิดถล่มจนเรือเสียหายไปหลายลำ จากนั้นมาจึงมีการซ่อมแซมเรือ และโอนเรือพระราชพิธี ๓๖ ลำ ให้กรมศิลปากรดูแลเก็บรักษาไว้ที่อู่เรือพระราชพิธีปากคลองบางกอกน้อย และส่วนที่เหลืออีกราว ๓๒ ลำ เป็นพวกเรือตำรวจ เรือดั้ง เรือแซง กองทัพเรือเก็บรักษาไว้\n</div>\n<div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<div>\nสำหรับกระบวนพยุหยาตราที่มีในรัชกาลปัจจุบันนั้น ส่วนมากจะเป็นการเสด็จไปทอดผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม และ พิธีสำคัญๆ อย่างเช่น\n</div>\n<div>\n\n</div>\n<div>\nการฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี กาญจนาภิเษก และ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ (สำหรับงาน เอเปค และ งานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี นั้น เป็นเพียงการสาธิตแห่กระบวนเรือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมิได้เสด็จในกระบวน)ในรัชกาลปัจจุบันเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ กับ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทสำหรับในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ได้มีการจัดกระบวนพยุหยาตราชลมารคมาแล้วจำนวน ๑๖ ครั้งแล้ว ดังนี้1.กระบวนพยุหยาตราชลมารค ในการฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ เมื่อ ๑๔ พฤศภาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ 2.กระบวนพยุหยาตราชลมารค(น้อย) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๒ 3.กระบวนพยุหยาตราชลมารค(น้อย) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๔ 4.กระบวนพยุหยาตราชลมารค(น้อย) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ 5.กระบวนพยุหยาตราชลมารค(น้อย) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ 6.กระบวนพยุหยาตราชลมารค(น้อย) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ 7.กระบวนพยุหยาตราชลมารค(น้อย) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ 8.กระบวนพยุหยาตราชลมารค(ใหญ่) กรุงรัตนโกสินทร์มีอายุครบ ๒๐๐ ปี เสด็จพระราชดำเนินไปบวงสรวงสมเด็จพระบูรพามหากษัตริย์เจ้า เมื่อ 5 เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ 9.กระบวนพยุหยาตราชลมารค(น้อย) แห่พระพุทธสิหิงค์ เมื่อ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ 10.กระบวนพยุหยาตราชลมารค ในพระราชพิธีถวายผ้าพระกฐิน(ใหญ่) ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ 11.กระบวนพยุหยาตราชลมารค(ใหญ่) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ 12.กระบวนพยุหยาตราชลมารค(ใหญ่) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๙ 13.กระบวนพยุหยาตราชลมารค(ใหญ่) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒ 14.ขบวนเรือพระราชพิธี การประชุมกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก หรือเอเปก ๒๐๐๓ เมื่อ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ 15.ขบวนเรือพระราชพิธี ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี เมื่อ ๑๒ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๙ 16.กระบวนพยุหยาตราชลมารค(ใหญ่) การเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อ ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐ตัวเรือที่แสนจะเล็กนิดเดียว ต้องขออภัยนะคร้า\n</div>\n<div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<div>\nและมาถึงรายละเอียดของตัวเรือนะคะเรือพระที่นั่งอนันตนาคราช เป็นเรือพระที่นั่งบัลลังก์ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลำปัจจุบันมีการสร้างใหม่ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สำเร็จเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๗ ลำเรือภายนอกทาสีเขียว ท้องเรือภายในทาสีแดง ยาว ๔๒.๙๕ เมตร กว้าง ๒.๙๕ เมตร ลึก ๐.๗๖ เมตร กินน้ำลึก ๐.๓๑ เมตร กำลัง ๓.๐๒ เมตร ฝีพาย ๕๔ คน นายท้าย ๒ คน นายเรือ ๒ คน คนถือธงท้าย ๑ คน พลสัญญาณ ๑ คน คนเห่เรือ ๑ คนโขนเรือเป็น &quot;พญาอนันตนาคราช&quot; หรือนาค ๗ เศียร โดยปกติจะใช้เป็นเรือพระที่นั่งรอง หรือเรือเชิญผ้าพระกฐิน หรือประดิษฐานบุษบกสำหรับพระพุทธรูปสำคัญ นับเป็นเรือพระที่นั่งที่มีความงดงามอีกลำหนึ่ง อนึ่ง เคยมีการพิมพ์รูปเรือพระที่นั่งอนันตนาคราชด้านหลังธนบัตร ๒๐ บาท โดยจัดพิมพ์และใช้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๕ ปัจจุบันเลิกพิมพ์แล้วเรือพระที่นั่งอนันตนาคราชเรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ เป็นเรือพระที่นั่งรอง ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค ลักษณะเด่นคือมีโขนเรือเชิดเรียว ไม่ได้สร้างเป็นรูปสัตว์ในตำนาน แต่จำหลักและปิดทองเป็นรูปพญานาคจำนวนมาก จึงได้ชื่อว่า อเนกชาติภุชงค์ (อเนก หมายถึง จำนวนมาก, ชาติภุชงค์ หมายถึง พญานาค)ประวัติเรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ สร้างขึ้นใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ก่อนหน้านี้ไม่ปรากฏชื่อเรือพระที่นั่งลำนี้ จัดเป็นเรือพระที่นั่งศรี ในลำดับชั้นรอง ใช้ในการเสด็จพระราชดำเนินลำลอง ภายหลังนำเข้ากระบวนพยุหยาตราชลมารค เรียกว่า เรือพระที่นั่งรอง นับเป็นเรือพระที่นั่งลำเดียวที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ ๕\n</div>\n<div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<div>\nโขนเรือจำหลักปิดทองเป็นรูปพญานาคเล็ก ๆ จำนวนมาก ลำเรือภายนอกทางสีชมพู ท้องเรือภายในทาสีแดง ยาว ๔๕.๕๐ เมตร กว้าง ๓.๑๕\n</div>\n<div>\n\n</div>\n<div>\nเมตร ลึก ๑.๑๑ เมตร กินน้ำลึก .๔๖ เมตร กำลัง ๓.๕๐ เมตร ใช้ฝีพาย ๖๑ คน นายท้าย ๒ คน นายเรือ ๒ คน คน ถือธงท้าย ๑ คน พลสัญญาณ ๑ คน คนเห่ ๑ คนปัจจุบันเก็บรักษาที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี ริมคลองบางกอกน้อย ใกล้สะพานอรุณอมรินทร์เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ เป็นหนึ่งในเรือพระที่นั่ง และพระราชพิธี กระบวนพยุหยาตราชลมารค เป็นเรือที่ถือว่ามีความสำคัญอย่างมาก ในปัจจุบันจัดแสดงอยู่ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี ปากคลองบางกอกน้อย เขตบางกอกน้อยประวัติเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ ที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นเรือพระที่นั่งที่สร้างใหม่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่มาเสร็จสมบูรณ์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเรือลำแรกนั้นมีนามว่า เรือศรีสุพรรณหงส์ สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙ เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธี ในกระบวนพยุหยาตราชลมารคเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณฯ จัดสร้างขึ้น เพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาส พระราชพิธีกาญจนาภิเษก แห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๙ โดย กองทัพเรือ ร่วมกับ กรมศิลปากร ได้นำ โขนเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ ที่สร้างขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ ๓ และ รัชกาลที่ ๔ มาเป็นต้นแบบ โดยกองทัพเรือ สร้างในส่วนที่เป็นโครงสร้างเรือ พาย และคัดฉาก ส่วนกรมศิลปากร ดำเนินการในงานที่เกี่ยวกับ ศิลปกรรมของเรือทั้งหมดประวัติเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณฯ จัดเป็นเรือพระที่นั่งกิ่ง ลำเดิมสร้างขึ้น ในสมัย รัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีชื่อว่า “มงคลสุบรรณ” หัวเรือเป็นรูป พระครุฑพ่าห์ ต่อมา ในรัชกาลที่ ๔ ได้เสริมรูปพระนารายณ์ ยืนประทับบนหลังพญาสุบรรณ แล้วขนานนามว่า “เรือนารายณ์ทรงสุบรรณ” ต่อมา เรือได้เสื่อมสภาพลง คงเหลือแต่โขนเรือ เก็บรักษาไว้ แต่เนื่องจากความงดงาม และความสำคัญ ในสัญลักษณ์ของโขนเรือ ที่เป็นเชิงเทิดพระเกียรติ สถาบันพระมหากษัตริย์ใน พ.ศ. ๒๕๓๙ กองทัพเรือ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) กรมอู่ทหารเรือ และกรมศิลปากร ได้ร่วมกันจัดสร้าง เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ ลำใหม่ น้อมเกล้าฯ ถวาย และได้รับพระราชทานนามว่า “เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙” เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระบรมเดชานุภาพ และเป็นเกียรติยศสำหรับแผ่นดิน สืบไปเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณเรือเอกไชยเหินหาวเป็นเรือประเภทเรือเอกขัยในลำดับชั้นของเรือพระที่นั่งในกระบวนพยุหยาตราชลมารค ซึ่งเกือบเทียบเท่าเรือพระที่นั่งกิ่ง ทำหน้าที่เป็นเรือคู่ชักใช้นำหน้าหรือชักลากเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ คู่กับเรือเอกไชยหลาวทองหรือสำหรับชักลากเรือพระที่นั่ง ในกรณีที่ฝีพายไม่เพียงพอ ปัจจุบันเก็บรักษาที่ พิพิธภัณฑสถานเรือพระราชพิธี คลองบางกอกน้อย ประวัติเรือเอกไชยเหินหาวสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๑ เรือลำนี้ได้ถูกระเบิดได้รับความเสียหายใน สงครามโลกครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๘๗ ต่อมากรมศิลปากรได้ตัดหัวเรือและท้ายเรือเก็บรักษาไว ้ในพิพิธภัณฑ์ เมื่อปี ๒๔๙๑ลำปัจจุบัน สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๘ จากหัวและท้ายเรือเดิม โดยกรมอู่ทหารเรือ วางกระดูกงูเรือเมื่อวันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๘ เริ่มสร้างเมื่อ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๘ ลงน้ำเมื่อ ๑๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๐ จากนั้นจึงทำการตกแต่งตัวเรือโดยช่างแกะสลักทำงานประมาณ ๑๔ เดือนช่างรักปิดทองทำงาน ๖ เดือน ช่างเขียนลายรดน้ำทำงานประมาณ ๖ เดือน ช่างปิดทองและประดับกระจกทำงานประมาณ ๔ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้ทำการซ่อมใหญ่ เปลี่ยนไม้ตัวเรือที่ผุซึ่งชำรุดบางส่วน ลงรักปิดทอง ทาสีตัวเรือใหม่และอื่นๆ เพื่อให้ทันใช้ในงานสมโภชน์กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ในวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เริ่มซ่อมทำตั้งแต่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถึงวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมี บริษัท สหายสันต์ จำกัด เป็นผู้รับเหมาซ่อมทำเรือเอกชัยเหินหาวเรือเอกชัยหลาวทองเป็นเรือประเภทเรือเอกขัยในลำดับชั้นของเรือพระที่นั่ง ซึ่งเกือบเทียบเท่าเรือพระที่นั่งกิ่ง ทำหน้าที่เป็นเรือ คู่ชักในกระบวนพยุหยาตรา สำหรับชักลากเรือพระที่นั่ง สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปรากฏมีเพียง ๒ ลำ เท่านั้น ต่อมาถูกระเบิดได้รับความเสียหายทั้งสองลำ จากสงครามโลกครั้งที่ ๒ กรมอู่ทหารเรือและกรมศิลปากร จึงได้ซ่อมแซมขึ้นใหม่ เมื่อ ปี พ.ศ.๒๕๐๘ จากหัวและท้ายเรือเดิม ลักษณะ : โขนเรือเป็นไม้รูปดั้งเชิดสูง เขึยนลายรดน้ำรูปเหราหรืด จรเข้ ปิดทองเรือเอกชัยหลาวทอง ความยาว ๒๙.๖๔ เมตร กว้าง ๑.๙๖ เมตร กินน้ำลึก ๐.๖๐ เมตร กำลัง : เรือเอกชัยหลาวทอง ๒.๖๕ เมตร เจ้าพนักงานประจำเรือ : ฝีพาย ๓๘ นาย นายท้าย ๒ นาย ปัจจุบันเก็บรักษาที่ พิพิธภัณฑสถานเรือพระราชพิธี คลองบางกอกน้อยเรือเอกชัยหลาวทองเรือพาลีรั้งทวีปและเรือสุครีพครองเมืองเรือทั้งสองลำเป็นรูปสัตว์ ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร จัดเป็นเรือรบโบราณ ติดตั้งปืนใหญ่ที่โขนเรือ ไม่ปารกฏหลักฐานการสร้าง ลักษณะ : โขนเรือเป็นรูปพญาวานร ปิดทองประดับกระจกภายในสีแดง ภายนอก ทาสีดำ เขียนลวดลายดอกพุตตานสีทอง เรือพญารั้งทวีปโขนเรือสลัก รูปพญาวานรสีเขียว เรือสุครีพครองเมืองโขนเรือสลักรูปพญาวานรสี แดง ขนาด : เรือพาลีรั้งทวีป ความยาว ๒๙.๐๓ เมตร กว้าง ๒.๐๐ เมตร กินน้ำลึก ๐.๖๓ เมตร เรือสุครีพครองเมือง ความยาว ๒๙.๑๐ เมตร กว้าง ๑.๙๘ เมตร กินน้ำลึก ๐.๖๐ เมตร กำลัง : ทั้งสองลำ ๒.๖๐ เมตร เจ้าพนักงานประจำเรือ: ฝีพาย ๓๔ นาย นายท้าย ๒ นาย ปัจจุบันเก็บรักษาที่ โรงเรือท่าวาสุกรี เรือพาลีรั้งทวีปเรือสุครีพครองเมืองเรืออสุรวายุภักษ์และเรืออสุรปักษี\n</div>\n<div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<div>\nเรือทั้งสองจัดเป็นเรือรูปสัตว์ ในประเภทของเรือเหล่าแสนยากร มีช่องปืนที่ใต้โขนเรือ ทำหน้าที่เป็นเรือรบ ในสมัยโบราณ ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง แต่มีการซ่อมแซมตกแต่งเรืออสูรวายุภักษ์ขึ้นใหม่ใน พ.ศ.๒๕๑๔ ลักษณะ : โขนเรือสลักเป็นรูปยักษ์กายเป็นนก ปิดทองประดับกระจก เครื่องแต่งกายสีม่วง\n</div>\n<div>\n\n</div>\n<div>\nด้านหลังสีเขียว ลำเรือภายนอกทาสีดำเขียนลายดอกพุตตานสีทอง ภายในทาสีแดง เรืออสูรวายุภักษ์กายสีคราม ส่วนเรือ อสูรปักษีกายสีเขียว ขนาด : เรืออสูรวายุภักษ์ ความยาว ๓๑.๐๐ เมตร กว้าง ๒.๐๓ เมตร กินน้ำลึก ๐.๖๑ เมตร กำลัง : ทั้งสองลำ ๒.๖๐ เมตร เจ้าพนักงานประจำเรือ : ฝีพาย ๓๐ นาย นายท้าย ๒ นาย ปัจจุบัน เรืออสูรวายุภักษ์เก็บรักษาที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเรือพระราชพิธี คลองบางกอกน้อย เรืออสูรปักษีเก็บรักษาที่ โรงเรือท่าวาสุกรี เรืออสุรวายุภักษ์เรืออสุรปักษีเรือกระบี่ปราบเมืองมารและเรือกระบี่ราญรอนราพณ์เรือทั้งสองลำเป็นเรือรบโบราณ เพราะมีช่องติดตั้งปืนใหญ่ที่ใต้โขนเรือ ในลำดับชั้นของเรือเหล่าแสนยากร จัดเป็นเรือรูปสัตว์ ใม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง ในปี พ.ศ.๒๔๗๘ ได้รับความเสียหายจากระเบิดระหว่าง สงครามโลกครั้งที่ ๒ กรมศิลปากรได้จัดสร้างเรือกระบี่ราญรอนราพณ์ขึ้นใหม่ทั้งลำเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๙ และซ่อมเรือกระบี่ปราบเมืองมารจากหัวเรือเดิม เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ลักษณะ: โขนเรือสลักรูปขุนกระบี่ ปิดทองประดับกระจก ลำเรือทาสีดำ เขียนลายดอกพุตตานสีทอง เรือกระบี่ราญรอนราพณ์เป็นขุนกระบี่สีขาว เรือกระบี่ปราบเมืองมารเป็นขุนกระบี่สีดำ ขนาด : เรือกระบี่ราญรอนราพณ์ ยาว ๒๘.๓๐ เมตร กว้าง ๒.๑๐ เมตร กินน้ำลึก ๐.๕๖ เมตร เรือกระบี่ปราบเมืองมาร ยาว ๒๘.๘๕ เมตร กว้าง ๒.๑๐ เมตร กินน้ำลึก ๐.๕๖ เมตร กำลัง : ทั้งสองลำ ๒.๖๐ เมตร เจ้าพนักงานประจำเรือ: ฝีพาย ๓๖ นาย นายท้าย ๒ นาย ปัจจุบันเรือกระบี่ราญรอนราพณ์เก็บรักษาที่ โรงเรือท่าวาสุกรี เรือกระบี่ปราบเมืองมารเก็บรักษาที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตืเรือพระราชพิธี คลองบางกอกน้อย\n</div>\n<div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<div>\nเรือกระบี่ปราบเมืองมารเรือกระบี่ราญรอนราพณ์ เรือครุฑเหินเห็จและเรือครุฑเตร็จไตรจักรจัดเป็นเรือรูปสัตว์ ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง สันนิษฐานว่ามีมาแต่สมัยต้นรัตนโกสินทร์ ในระหว่างสงครามโลก ครั้งที่ ๒ ได้รับความเสียหายจากระเบิด ในปี พ.ศ.๒๕๑๑ กรมศิลปากร จึงนำโขนเรือเดิมมา ซ่อมแซมขึ้นใหม่ จนถึงในปัจจุบัน ลักษณะ: โขนเรือเป็นรูป พญาครุฑยุดนาค เรือครุฑเหิรเห็จสีแดง เรือครุฑเตร็จไตรจักร สีชมพู ขนาด: เรือครุฑเหิรเห็จ มีความยาว ๒๘.๕๘ เมตร กว้าง ๒.๑๐ เมตร กินน้ำลึก ๐.๕๖ เมตร เรือครุฑเตร็จไตรจักร ยาว ๒๘.๗๒ เมตร กว้าง ๒.๐๘ เมตร กินน้ำลึก๐.๕๕ เมตร กำลัง: ทั้งสอง ๒.๖๑๐ เมตร เจ้าพนักประจำเรือ: ฝีพาย ๓๔ นาย นายท้าย ๒ นาย ปัจจุบัน เรือครุฑเหิรเห็จเก็บรักษาที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเรือ พระราชพิธี คลองบางกอกน้อย เรือครุฑเตร็จไตรจักรเก็บรักษาที่ โรงเรือท่าวาสุกรีเรือครุฑเหินเห็จเรือครุฑเตร็จไตรจักรเรืออีเหลือง-ไม่พบหลักฐานที่สร้าง\n</div>\n<div>\n- พ.ศ.2524 ซ่อมใหญ่ เปลี่ยนไม้ตัวเรือที่ผุซึ่งชำรุดบางส่วน ลงรักปิดทอง ทาสีตัวเรือใหม่และอื่น ๆ เพื่อให้ทันใช้ในงานสมโภชน์กรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ.2525 เริ่มซ่อมทำตั้งแต่ 4 กันยายน พ.ศ.2524 จนถึงวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2525 โดยมี บริษัท สหายสันต์ จำกัด เป็นผู้รับเหมาซ่อมทำเรือเสือทะยานชลและเรือคำรณสินธ์เรือทั้งสองลำนี้จัดเป็นเรือแชในลำดับประเภทของเรือเหล่าแสนยากร มีหน้าที่เป็นเรือพิฆาตในกระบวน พยุหยาตรา ไม่พบหลักฐานการสร้าง แต่มีถึง ๖ คู่ในสมัยรัชการที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และมีเพียงคู่เดียว นับจากรัชการที่ ๖ เป็นต้นมา กระทั่งถึงปี พ.ศ. ๒๕๒๔ จึงมีการซ่อมแซมครั้งใหม่ ลักษณะ:โขนเรือเขียนลายน้ำยาสีเป็นรูปหัวเสือ ลำเรือเขียนรายเสือทาสีเหลือง ภายในทาสีแดง ขนาด: เรือเสือทะยานชล ความยาว ๒๒.๒๐ เมตร กว้าง ๑.๗๕ เมตร กินน้ำลึก ๐ฬ๗๐ เมตร เรือเสือคำรณสินธุ์ ความยาว ๒๒.๒๓ เมตร กว้าง ๑.๗๕ เมตร กินน้ำลึก ๐.๗๐ เมตร กำลัง: ทั้งสองลำ ๒.๐๐ เมตร เจ้าพนักงานประจำเรือ : ฝีพาย ๒๖ นาย นายท้าย ๒ นาย ปัจจุบันเก็บรักษาที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเรือพระราชพิธี คลองบางกอกน้อย เรือเสือทยานชลเรือคำรณสินธ์เรือทองขวานฟ้าและเรือทองบ้าบิ่นเรือทั้งสองลำจัดเป็นเรือดั้งในลำดับประเภทของเรือเหล่าแสนยากร มีหน้าที่เป็นเรือประตูในกระบวนพยุหยาตรา ชลมารค สำหรับพระราชพิธีพระราชทานพระกฐินในวโรกาสกาญจนาภิเษกนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างแต่เมื่อ ครั้งสงครามโลกที่ ๒ ได้รับความเสียหายอย่างหนัก ต่อมากรมศิลปากรได้นำส่วนหัวและท้ายเรือมาสร้างต่อเติม ใหม่ในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ลักษณะ : โขนเรือตัดแหลม ปิดทองทั้งหัวและท้ายลำเรือทาสีน้ำมันดำ ไม่มีลวดลาย ขนาด : เรือทองขวานฟ้า ความยาว ๓๒.๐๘ เมตร กว้าง ๑.๘๘ เมตร กินน้ำลึก ๐.๖๔ เมตร เรือทองบ้าบิ่น ความยาว ๓๒.๐๐ เมตร กว้าง ๑.๘๓ เมตร กินน้ำลึก ๐.๖๔ เมตร เจ้าพนักงานประจำเรือ : ฝีพาย ๓๙ นาย นายท้าย ๒ นาย ปัจจุบันเก็บรักษาที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเรือพระราชพิธี คลองบางกอกน้อย เรือทองขวานฟ้าเรือทองบ้าบิ่นเรือแตงโมเรือตั้งเรือแซงเรือตำรวจเรือตำรวจนอกใช้เรือกราบ มีนายเรือ นายท้าย และฝีพาย ในสองลำไม่เท่ากัน ลำหนึ่งมี 22 พาย ลำหนึ่งมี 27 นาย มีพระตำรวจหลวงชั้นปลัดกรมนั่งคฤหเรือตำรวจใน \n</div>\n<div>\nใช้เรือกราบ มีนายเรือ นายท้าย และฝีพาย ในสองลำไม่เท่ากัน ลำหนึ่งมี 22 พาย ลำหนึ่งมี 27 นาย มีพระตำรวจหลวงชั้นปลัดกรมนั่งคฤห\n</div>\n</div>\n<p></p>\n', created = 1716204053, expire = 1716290453, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5de465b2f71d6f87094fa0022b2ffc39' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4742d3eddec92ee2e1d3306cc1fb0e08' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: x-large\"></span></p>\n<div>\n<div>\nกระบวนพยุหยาตราชลมารคกระบวนพยุหยาตราชลมารค หรือ กระบวนพยุหยาตราทางชลมารคเป็นกระบวนเสด็จพระราชดำเนินทางน้ำที่เป็นราชประเพณีไทยที่มีมาแต่โบราณ โดยมีหลักฐานชัดเจนตั้งแต่สมัยอยุธยา เรือในกระบวนมีการสลักโขนเรือเป็นรูปสัตว์ในเทพนิยาย มีการจัดกระบวนหลายแบบ ที่รู้จักกันดีก็คือ &quot;กระบวนพยุหยาตราเพชรพวง&quot; ดังปรากฏใน ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง ลิลิตพรรณนากระบวนเรือ ประพันธ์โดยเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เมื่อ พ.ศ. 2430 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โดยยึดถือตามแบบแผนเดิมแห่งกรุงศรีอยุธยาประเภทของการเห่เรือ สามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภทคือ การเห่เรือหลวง (การเห่เรือในงานพระราชพิธี)และ การเห่เรือเล่น (การเห่เรือเล่นของชาวบ้านในงานต่างๆ) ในปัจจุบันการเห่เรือ ยังคงอยู่เฉพาะ การเห่เรือหลวง ที่ใช้ใน กระบวนพยุหยาตราชลมารคสมัยเริ่มแรกของกระบวนเรือกระบวนพยุหยาตราชลมารค ในการแห่พระกฐินในอดีต หน้าวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารการเสด็จทางน้ำที่เรียกว่า กระบวนพยุหยาตราชลมารค นั้นมีหลักฐานมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ปรากฏไว้ว่า พระร่วงเจ้า (พระมหาธรรมราชา ๑) ทรงใช้เรือออกลอยกระทง หรือพิธีจองเปรียง ณ กลางสระน้ำ พร้อมทั้งเผาเทียนเล่นไฟในยามคืนเพ็ญเดือนสิบสองในยุคกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ตามพงศาวดารได้บันทึกไว้ว่า สมเด็จพระนเรศวรเมื่อคราวเสด็จไปตีเมืองเมาะตะมะ เสด็จพระราชดำเนินจากกรุงศรีอยุธยาโดยชลมารค พอได้เวลาฤกษ์ พระโหราราชครูอธิบดีศรีทิชาจารย์ ก็ลั่นกลองฆ้องชัยให้พายเรือพระที่นั่งศรีสุพรรณหงส์ อันเป็นเรือทรงพระพุทธปฏิมากรทองนพคุณ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุถวายพระนามสมญา “พระพิชัย” นำกระบวนออกไปก่อนเพื่อความเป็นสิริมงคลครั้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ซึ่งตัวเกาะกรุงนั้นเป็นเกาะที่ล้อมรอบไปด้วยแม่น้ำลำคลอง ชีวิตผูกพันกับสายน้ำ จึงปรากฏการสร้างเรือรบมากมายในกรุงศรีอยุธยา ยามบ้านเมืองสุขสงบ ชาวกรุงศรีอยุธยาก็หันมาเล่นเพลงเรือ แข่งเรือเป็นเรื่องเอิกเกริก โดยเฉพาะพระเจ้าแผ่นดินกรุงสยาม เมื่อจะเสด็จฯแปรพระราชฐานไปยังหัวเมืองต่างๆ หรือเสด็จฯไปทอดผ้ากฐินยังวัดวาอาราม ก็มักจะใช้เรือรบโบราณเหล่านั้นจัดเป็นกระบวนเรือยิ่งใหญ่ ดังนั้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีกระบวนเรือเพชรพวง ซึ่งเป็นเรือริ้วกระบวนที่ใหญ่มาก จัดออกเป็น ๔ สาย แร้วเรือพระที่นั่งตรงกลางอีก ๑ สาย ใช้เรือทั้งสิ้นไม่น้อยกว่า ๑๐๐ ลำ\n</div>\n<div>\n</div></div>', created = 1716204053, expire = 1716290453, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4742d3eddec92ee2e1d3306cc1fb0e08' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กระบวนพยุหยาตราชลมารค

รูปภาพของ sss28262

กระบวนพยุหยาตราชลมารคกระบวนพยุหยาตราชลมารค หรือ กระบวนพยุหยาตราทางชลมารคเป็นกระบวนเสด็จพระราชดำเนินทางน้ำที่เป็นราชประเพณีไทยที่มีมาแต่โบราณ โดยมีหลักฐานชัดเจนตั้งแต่สมัยอยุธยา เรือในกระบวนมีการสลักโขนเรือเป็นรูปสัตว์ในเทพนิยาย มีการจัดกระบวนหลายแบบ ที่รู้จักกันดีก็คือ "กระบวนพยุหยาตราเพชรพวง" ดังปรากฏใน ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง ลิลิตพรรณนากระบวนเรือ ประพันธ์โดยเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เมื่อ พ.ศ. 2430 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โดยยึดถือตามแบบแผนเดิมแห่งกรุงศรีอยุธยาประเภทของการเห่เรือ สามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภทคือ การเห่เรือหลวง (การเห่เรือในงานพระราชพิธี)และ การเห่เรือเล่น (การเห่เรือเล่นของชาวบ้านในงานต่างๆ) ในปัจจุบันการเห่เรือ ยังคงอยู่เฉพาะ การเห่เรือหลวง ที่ใช้ใน กระบวนพยุหยาตราชลมารคสมัยเริ่มแรกของกระบวนเรือกระบวนพยุหยาตราชลมารค ในการแห่พระกฐินในอดีต หน้าวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารการเสด็จทางน้ำที่เรียกว่า กระบวนพยุหยาตราชลมารค นั้นมีหลักฐานมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ปรากฏไว้ว่า พระร่วงเจ้า (พระมหาธรรมราชา ๑) ทรงใช้เรือออกลอยกระทง หรือพิธีจองเปรียง ณ กลางสระน้ำ พร้อมทั้งเผาเทียนเล่นไฟในยามคืนเพ็ญเดือนสิบสองในยุคกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ตามพงศาวดารได้บันทึกไว้ว่า สมเด็จพระนเรศวรเมื่อคราวเสด็จไปตีเมืองเมาะตะมะ เสด็จพระราชดำเนินจากกรุงศรีอยุธยาโดยชลมารค พอได้เวลาฤกษ์ พระโหราราชครูอธิบดีศรีทิชาจารย์ ก็ลั่นกลองฆ้องชัยให้พายเรือพระที่นั่งศรีสุพรรณหงส์ อันเป็นเรือทรงพระพุทธปฏิมากรทองนพคุณ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุถวายพระนามสมญา “พระพิชัย” นำกระบวนออกไปก่อนเพื่อความเป็นสิริมงคลครั้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ซึ่งตัวเกาะกรุงนั้นเป็นเกาะที่ล้อมรอบไปด้วยแม่น้ำลำคลอง ชีวิตผูกพันกับสายน้ำ จึงปรากฏการสร้างเรือรบมากมายในกรุงศรีอยุธยา ยามบ้านเมืองสุขสงบ ชาวกรุงศรีอยุธยาก็หันมาเล่นเพลงเรือ แข่งเรือเป็นเรื่องเอิกเกริก โดยเฉพาะพระเจ้าแผ่นดินกรุงสยาม เมื่อจะเสด็จฯแปรพระราชฐานไปยังหัวเมืองต่างๆ หรือเสด็จฯไปทอดผ้ากฐินยังวัดวาอาราม ก็มักจะใช้เรือรบโบราณเหล่านั้นจัดเป็นกระบวนเรือยิ่งใหญ่ ดังนั้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีกระบวนเรือเพชรพวง ซึ่งเป็นเรือริ้วกระบวนที่ใหญ่มาก จัดออกเป็น ๔ สาย แร้วเรือพระที่นั่งตรงกลางอีก ๑ สาย ใช้เรือทั้งสิ้นไม่น้อยกว่า ๑๐๐ ลำ
สร้างโดย: 
ปาจรีย์ หวังวิไล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 305 คน กำลังออนไลน์