• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:33d48b81c0d9dea2fc4507fdf2b9416e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nประวัติการโคลนนิ่ง <br />\nโคลนนิ่ง (cloning) เป็นกระบวนการสืบพันธุ์โดยไม่อาศัย<br />\nเพศชนิดหนึ่ง มนุษย์รู้จักโคลนนิ่งมาแต่สมัยโบราณแล้ว แต่เป็นการ<br />\nรู้จักโคลนนิ่งที่เกิดกับพืช นั่นคือ การขยายพันธุ์พืชโดยไม่อาศัย<br />\nกระบวนการที่เกี่ยวกับเพศของพืชเลย โคลนนิ่งที่เป็นการขยาย<br />\nพันธุ์พืชหรือสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศที่เป็นที่รู้จักและเรียกกัน<br />\nในภาษาไทยของเราว่า “การเพาะชำพืช” สำหรับเรื่องการโคลนนิ่ง<br />\nของสัตว์และมนุษย์ก็เป็นกระบวนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เช่นกัน คำว่าโคลน<br />\n(clone) มาจากคำภาษากรีกว่า “Klone” แปลว่า แขนง กิ่ง ก้าน<br />\nซึ่งใช้อธิบายการแบ่งตัวแบบไม่มีเพศ (asexual) ในพืชและสัตว์ การโคลนนิ่ง<br />\nคือการผลิตสัตว์ให้มีลักษณะทาง กายภาพ (phenotype) และทางพันธุกรรม (genotype)<br />\nเหมือนกัน (identical twin) โดยไม่ใช้เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียมาผสม กัน<br />\nในภาษาอังกฤษเรียกว่า “genetic duplication” ดังนั้น<br />\nการโคลนนิ่งจึงเป็นการทำสิ่งมีชีวิตให้เป็นแฝดเหมือนกัน คือ มีเพศเหมือนกัน<br />\nสีผิวเหมือนกัน หมู่เลือดเหมือนกัน ตำหนิเหมือนกัน เป็นต้น ซึ่งในทางธรรมชาติ<br />\nโดยเฉพาะในสัตว์เกิดปรากฏการณ์การเกิดแฝด ขึ้นได้น้อยมาก บางรายงานกล่าวว่าแฝด<br />\nคู่สอง (twin) มีโอกาสเกิดน้อยกว่า ร้อยละ 1-5 และแฝดคู่สาม คู่สี่ หรือมากกว่า<br />\nมีรายงานน้อยมาก<br />\nการพัฒนาวิทยาการทางด้านโคลนนิ่งเซลล์สัตว์นั้นได้เริ่มมาตั้งแต่<br />\nพ.ศ. 2423 หรือ 120 ปีที่ผ่านมา การทดลองค้นคว้าวิจัยได้ เกิดขึ้นมาเป็นลำดับ<br />\nอาจจะมีทิ้งช่วงบ้างไปตามกาลเวลา แต่ความพยายามคิดค้นก็มิได้หยุดนิ่ง<br />\nจุดเริ่มต้นการทำโคลนนิ่ง สัตว์เกิดขึ้นเมื่อต้นทศวรรษที่ 50<br />\nโดยนักชีววิทยาอเมริกันสองคน คือ โรเบิร์ต บริกกส์ (Robert W. Briggs) และ โทมัส<br />\nคิง (Thomas J. King) แห่งสถาบันการวิจัยมะเร็งในฟิลาเดเฟีย<br />\nทั้งสองได้ร่วมทำการทดลองโคลนนิ่งสัตว์ โดยเริ่มต้นกับกบ3 และได้ริเริ่มการทำ<br />\nโคลนนิ่งด้วยวิธีการถ่ายโอนนิวเคลียส (nuclear transfer) โดยอาศัย<br />\nเทคนิคที่พัฒนาโดย Sperman ซึ่งกลายเป็นวิธีการทำโคลนนิ่งที่ ใช้กันทั่วไป<br />\nเมื่อเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 การโคลนนิ่งสัตว์ครั้งแรกๆ ได้ประสบความสำเร็จคือ<br />\nการโคลนนิ่งแกะ Dolly ซึ่งเป็นสัตว์ใหญ่ โคลนนิ่งตัวแรกของโลก<br />\nความสำเร็จนี้ได้จุดประกายในการที่จะค้นพบเรื่องการเพาะเซลล์4-6<br />\nรวมถึงความฝันที่ต้องการสร้างมนุษย์ ขึ้นมาจากการโคลนนิ่งเซลล์ (ตารางที่ 1)<br />\n7<br />\nหลักการเบื้องต้นของการโคลนนิ่ง8-11<br />\nวิธีโคลนนิ่งทางวิทยาศาสตร์สามารถทำได้<br />\n2 วิธี คือ <br />\n1. การแยกเซลล์หรือตัดแบ่งตัวอ่อนในระยะก่อนการฝังตัว (blastomere<br />\nseparation or embryo bisection )<br />\n1.1 การแยกเซลล์ (blastomere separation)<br />\nหลังปฏิสนธิตัวอ่อนระยะ 1 เซลล์จะมีการแบ่งตัวเป็นทวีคูณ จากหนึ่งเป็นสอง<br />\nสองเป็นสี่ สี่เป็นแปด เรื่อยๆไป หากต้องการทำแฝดเราสามารถทำโดยการแยกเซลล์เดี่ยวๆ<br />\nออกมา เช่น หากเป็น 2 เซลล์ ก็นำมาแยกเป็น 1:1 หรือหากเป็น 4 ก็แยกเป็น 4 ส่วน<br />\n1:1:1:1 เป็นต้น<br />\nอย่างไรก็ตามพบว่าการเจริญเป็นตัวอ่อนปกติหรือตัวเต็มวัยตัวอ่อนหลังแบ่งต้อง<br />\nประกอบด้วยเซลล์จำนวนหนึ่งที่เพียงพอ<br />\nหากแบ่งแล้วไม่พอเพียงก็ไม่สามารถเจริญเป็นตัวอ่อนที่ปกติหรือตัวเต็มวัยได้จึงเป็น<br />\nข้อจำกัดที่สำคัญอย่างหนึ่ง <br />\n1.2 การตัดแบ่งตัวอ่อน ( embryo bisection )<br />\nตัวอ่อน ระยะมอรูล่า หรือ ระยะบลาสโตซีสสามารถแบ่งเป็น 2 ส่วนเท่าๆ กัน<br />\nโดยใช้ใบมีดขนาดเล็ก (microblade) ติดกับเครื่องมือพิเศษที่เรียกว่า<br />\n“micromanipulator” ข้อแตกต่างของการตัดแบ่งระยะ มอรูล่าและระยะบลาสโตซีส คือ<br />\nแนวการแบ่ง หากเป็นตัวอ่อนระยะมอรูล่าสามารถแบ่งในแนวใดก็ได้ให้สมดุลย์ (symmetry)<br />\nแต่หาก เป็นตัวอ่อนระยะบลาสโตซีสต้องตัดแบ่งในแนวที่ผ่านเซลล์ภายในที่เรียกว่า<br />\nอินเนอร์เซลล์แมส (inner cell mass, ICM) ทั้งนี้เพราะ<br />\nตัวอ่อนระยะนี้เซลล์ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปแล้ว (differentiation)<br />\nแม้ว่าการโคลนสัตว์แบบการแยกเซลล์หรือการตัดแบ่งตัวอ่อน<br />\nนี้มีข้อดีคือสามารถทำได้เร็ว ไม่ต้องมีขั้นตอนมากมาย<br />\nแต่ก็มีข้อจำกัดคือไม่สามารถแบ่งตัวอ่อนได้มากตามจำนวนเซลล์ <br />\n2.<br />\nการย้ายฝากนิวเคลียส (nuclear transfer or nuclear<br />\ntransplantation)9-10<br />\nการย้ายฝากนิวเคลียสเป็นวิธีการที่ค่อนข้างจะซับซ้อน<br />\nโดยมีรายละเอียดขั้นตอนโดยย่อคือ ก. เตรียมโอโอไซต์ตัวรับ (oocyte recipient<br />\npreparation) ข. เตรียมนิวเคลียสจากตัวอ่อน ต้นแบบ (nuclear donor preparation) ค.<br />\nดูดเอานิวเคลียสตัวอ่อนให้ใส่ไปยัง ไซโตพลาสซึ่มของโอโอไซต์ (nuclear transfer) ง.<br />\nเชื่อม นิวเคลียสให้ติดกับไซโตพลาสซึ่มของโอโอไซต์ (oocyte-nuclear fusion) จ.<br />\nการเลี้ยงนำตัวอ่อน (embryo culture) และ ฉ. การย้ายฝากตัวอ่อน (embryo<br />\ntransfer<br />\nประโยชน์และโทษของการโคลนนิ่ง12-13<br />\nการโคลนนิ่งนี้เป็นประโยชน์ต่อการเลี้ยงสัตว์เป็นอย่างมาก<br />\nในแง่การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การใช้วิธีโคลนนิ่งจะช่วยให้ปรับปรุงพันธุ์ได้เร็วขึ้น<br />\nในแง่การทดลองทางวิทยาศาสตร์ สามารถช่วยลดจำนวนสัตว์ที่ใช้ในการทดลองให้น้อยลง<br />\nเนื่องจากสัตว์มีลักษณะทางพันธุกรรม เหมือนกัน<br />\nทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการทดลองในทางการแพทย์มีความพยายามที่จะผลิตเนื้อเยื่อมนุษย์<br />\nเพื่อใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ มีความพยายามที่จะโคลนนิ่งมนุษย์ทั้งคน<br />\nแต่อย่างไรก็ตามการกระทำดังกล่าวยังไม่เป็นที่ยอมรับ<br />\nจัดว่าเป็นปัญหาทางด้านจริยธรรม ในทางการแพทย์13<br />\nแม้มีข้อกล่าวอ้างถึงประโยชน์จากการปลูกถ่ายทดแทนอวัยวะของมนุษย์<br />\nแต่ยังมีวิธีการอื่นที่ไม่ใช่การโคลน เช่น stem cell research และ transgene<br />\ntechnique14<br />\nที่อาจพัฒนามาใช้ในจุดประสงค์ดังกล่าวได้นอกจากความผิดทางจริยธรรมทางการ แพทย์แล้ว<br />\nการโคลนนิ่งยังไม่เป็นที่ยอมรับจากทางศาสนจักรโรมันคาธอลิก<br />\nและยังไม่เป็นที่ยอมรับของนักสังคมศาสตร์ในแง่มุมของ<br />\nการเสียไปของการพิสูจน์บุคคลหากยอมให้มีการโคลนเกิดขึ้น การโคลนนิ่งมนุษย์จึงยัง<br />\nเป็นสิ่งที่ไม่อาจจะกระทำได้ในปัจจุบัน15-16 แต่อย่างไรก็ตาม<br />\nยังมีนักวิทยาศาสตร์หลายๆกลุ่มที่ยังพยายามโต้แย้งในประเด็น<br />\nดังกล่าวเนื่องด้วยข้อจำกัดทางจริยธรรม ทางการแพทย์ดังกล่าว<br />\nข้อมูลเกี่ยวกับรายงานการโคลนมนุษย์ในปัจจุบันจึงยังมีอยู่<br />\nอย่างจำกัด<br />\nประวัติการโคลนนิ่งในประเทศไทย 11<br />\n<br />\nในประเทศไทยการพัฒนาของพันธุ์สัตว์เรื่องการผสมเทียม การย้ายฝากตัวอ่อน<br />\nการผลิตตัวอ่อนในหลอดแก้วสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นพื้นฐานของการโคลนนิ่ง<br />\nโครงการวิจัยมีความคิดที่จะโคลนนิ่งสัตว์เศรษฐกิจ แต่ปัญหาและอุปสรรคของเราคือ<br />\nนักวิชาการและ นักวิจัยซึ่งมีประสบการณ์ทางด้านนี้มีน้อยกว่าต่างประเทศมาก<br />\nทำให้การวิจัยและพัฒนาทำได้ช้า <br />\nแต่อย่างไรก็ตามประเทศไทยก็<br />\nสามารถทำโคลนนิ่งได้สำเร็จโดย ศาสตราจารย์มณีวรรณ กมลพัฒนะ ผู้อำนวยการโครงการ<br />\nใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมกิจการผสมเทียม โคนม และกระบือปลัก<br />\nคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย<br />\nได้เป็นคนแรกที่นำการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์มาผสมเทียมในกระบือและพัฒนาต่อเนื่องมากว่า<br />\n20ปีจนประสบความสำเร็จในการ โคลนนิ่งลูกโคตัวแรกของประเทศไทย ชื่อว่า “อิง”<br />\nซึ่งถือเป็นลูกโคโคลนนิ่งตัวแรกของประเทศไทยและเอเชียอาคเนย์ รายที่ 3 ของเอเชีย<br />\nและรายที่ 6 ของโลก โดยทำโคลนนิ่งต่อจาก ญี่ปุ่น อเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมัน<br />\nและเกาหลี <br />\nศาสตราจารย์มณีวรรณ กมลพัฒนะ ได้นำเซลล์ใบหูของ<br />\nโคแบรงกัสเพศเมียมาเป็นเซลล์ต้นแบบโคลนนิ่งและนำตัวอ่อน<br />\nฝากไว้กับแม่โคออยในฟาร์มของ จ่าสิบโทสมศักดิ์ วิชัยกุล ที่จังหวัดราชบุรี ได้<br />\n“อิง” ลูกโคสีดำ ซึ่งเป็นลูกโคโคลนนิ่งตัวแรก ของประเทศไทย เกิดเมื่อวันที่ 6<br />\nมีนาคม พ.ศ. 2543\n</p>\n<p>\nโทษของการ โคลนนิ่ง\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New; color: #cc00ff\"><span>จริยธรรมอันดีงามของมนุษย์ <br />\nโคลนนิ่งอาจถูกนำไปใช้ในการสร้างสัมคมที่มีกลุ่ม1. <br />\n<span>ขัดต่อวัฒนธรรมและ</span>คนปัญญาดี  กลุ่มคนปัญญาปานกลาง  กลุ่มแรงงาน <br />\nสังคมเช่นนี้อาจเป็นระเบียบแต่จะขาดความเท่าเทียมกัน</span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 15pt; font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #cc00ff\">                                </span><span style=\"color: #cc3366\">2. <br />\n<span>จะไม่มีความหลากหลายของเผ่าพันธุ์   <br />\nซึ่งเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ของชนิดของสิ่งมีชีวิตได้ง่าย</span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 15pt; font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #cc3366\">                (2)  <span>โรควัวบ้า <br />\nข่าวที่สร้างความตื่นตระหนักไปทั่วโลกในขณะนี้คือ <br />\nข่าวที่สหภาพยุโรปสั่งห้ามเข้าเนื้อวัวและผลิตภัณฑ์จากวัวแทบทุกประเภทจากประเทศอังกฤษ <br />\nซึ่งคาดว่าจะกระทบอุตสาหกรรมปศุสัตว์มูลค่าปีละ  </span>2 <br />\n<span>พันล้านปอนด์ของอังกฤษ  โรควัวบ้า  หรือ  </span>Bovine<br />\nspongiformencephalopa  (<span>ฺ</span>BSE) <br />\n<span>เป็นกลุ่มโรคระบาดชนิดหนึ่งที่รู้จักในชื่อ  </span>TSEs : transmissible<br />\nspongiformencephalopathies  <span>เชื้อ  </span>TSE <br />\n<span>นี้อาจมีความเชื่อมโยงกับเชื้อชนิดที่ส่งผลต่อมนุษย์คือเชื้อ  </span>Creutz<br />\n- feldt - Jakob  <span>ที่ทำให้เกิดโรคสมองฝ่อ <br />\nโรคชนิดนี้ร้ายแรงและยังไม่พบวิธีที่จะเยี่ยวยา <br />\nสามารถติดต่อไปยังสัตว์ชนิดอื่นได้  มีระยะฟักตัวนาน  โดยฝังอยู่ในอวัยวะส่วนต่าง<br />\nๆ  ของสัตว์  จนกว่าแสดงอาการออกมาทำลายเซลล์ประสาทสมองแทบทั้งหมด <br />\nโดยก่อนให้เกิดโพรงขนาดเล็กทั่วไป  ทำให้สมองปรุพรุนคล้ายฟองน้ำ <br />\nสัตว์ที่ได้รับเชื้อละแสดงอาการออกมาจะเป็นบ้าพิการ <br />\nและถึงแก่ชีวิตได้ในระยะเวลาไม่เกิน  </span>13<span> <br />\nเดือน</span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 15pt; font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #cc00ff\">              </span><span style=\"color: #669966\"> <br />\n<span>นักวิทยาศาสตร์ค้นพบ  </span>BSE  <span>เมื่อปี  </span>1986<span> <br />\nโดยเชื่อว่าเชื้อนี้อาจเกิดจากเนื้อสัตว์ชนิดอื่นได้แพร่กระจายเข้าสู่วัว <br />\nผ่านการเลี้ยงด้วยผลิตภัณฑ์จากโรงงานอาหารสัตว์ที่ใช้ซากสัตว์ <br />\nซึ่งรวมถึงซากวัวด้วยนำมาป่นเป็นวัตถุดิบผลิตอาการสัตว์  ซึ่งเรียกกันว่า หัวอาหาร<br />\nอาหารเสริม หรืออาหารบำรุงกระดูก  พูดง่าย ๆ <br />\nก็คือมนุษย์กำลังเลี้ยงวัวโดยใช้ซากวัว  กล่าวอีกนัยหนึ่ง <br />\nบังคับให้วัวกินวัวด้วยกันเอง <br />\nเมื่อวัวกินวัวที่มีเชื้อโรควัวบ้าเข้าไปก็ยิ่งทำให้การแพร่กระจายของโรคชนิดนี้เร่งเร็วขึ้นมาก</span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 15pt; font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #cc00ff\">               </span><span style=\"color: #0033ff\"><br />\n<span>การที่สัตว์กินกันเองนี้  ก่อนให้เกิดโรคภัยร้ายแรงหลายประการ <br />\nเนื่องจากสามารถส่งผ่านเชื้อโรคเข้าสู่โดยตรง  ในช่วงครึ่งแรกของศตวรรษนี้ <br />\nมีโรคชนิดเดียวกับโรควัวบ้าที่เกิดขึ้นกับมนุษย์คือโรค  กูรู  </span>(Kuru) <br />\n<span>ซึ่งเกิดกับชนเผ่า  ฟอร์  </span>(Fore) <br />\n<span>ซึ่งยังอยู่ในอารยธรรมยุคหิน    โดยชนเผ่านี้นิยมกินเนื้อคน <br />\nและในที่สุดก็ล้มตายแทบสิ้นเผ่าพันธุ์ด้วยโรคระบาด</span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 15pt; font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #cc00ff\">               </span><span style=\"color: #339966\"><br />\n<span>โรควัวบ้าและมาตราการป้องกันเบื้องต้นเหล่านี้ <br />\nดำเนินไปโดยปิดบังข้อมูลที่แท้จริงทั้งหมดต่อสาธารณชน <br />\nยังไม่มีการศึกษาวิจัยเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาโรควัวบ้าอย่างจริงจัง <br />\nหรือยังไม่เปิดเผยทั้งหมด  เนื่องจากเกรงผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อเกษตรกรชาวอังกฤษ <br />\nจนกระทั่ง  วิกฤตโรควัวบ้าระบาดหนักขึ้นมีคนตายด้วยโรคติดเชื้อถึงกว่า  </span>10 <br />\n<span>ราย  และคาดกันว่ามีวัวที่ได้รับเชื้อ  </span>BSE  <span>ถึงร้อยละ <br />\n</span>20  <span>แล้ว  จากจำนวนวัวของอังกฤษ  จำนวน  </span>11<span>  ล้านตัว <br />\nที่น่าตระหนกก็คือมนุษย์ได้บริโภคเนื้อวัวที่ได้รับเชื้อบ้า <br />\nแต่อาการของโรคยังไม่ปรากฏไปเป็นจำนวนเท่าไรแล้ว <br />\nและไม่ปรากฏชัดว่าโรควัวบ้าจะจำกัดพื้นที่เฉพาะในเกาะอังกฤษ <br />\nหรือได้แพร่กระจายไปทั่วแล้ว <br />\nหากยังไม่แสดงอาการออกมาเท่านั้น</span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\nประโยชน์ ของการโคลนนิ่ง\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 15pt; font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff3399\">1.  <span>เป็นการสร้างความก้าวหน้าทางการเกษตรและการแพทย์ <br />\nการเลี้ยงสัตว์ที่ได้จากโคลนนิ่งจะได้ผลผลิตที่เติบโตพร้อมเพรียงกัน <br />\nมีน้ำหนักและขนาดเท่ากันสามารถควบคุมคุณภาพได้อย่างสม่ำเสมอ <br />\nประหยัดค่าใช้จ่ายและขายได้ราคา <br />\nเพื่อประโยชน์ต่อเศรษฐกิจการเลี้ยงสัตว์ได้</span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 15pt; font-family: Angsana New\">                               <br />\n<span style=\"color: #009966\">2.  <span>การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ที่หายากหรือใกล้จะสูญพันธุ์ <br />\nโคลนนิ่งจะช่วยการขยายพันธุ์เพิ่มจำนวนสัตว์ป่า  นก  และสัตว์น้ำ <br />\nบางประเภท</span></span></span>\n</p>\n<div class=\"field-label-inline-first\">\nสร้างโดย: \n</div>\n<p>\nปาณิสรา วงศ์มา ชั้น ม.3/5 เลขที่38.knw32291\n</p>\n<div class=\"field-label-inline-first\">\nแหล่งอ้างอิง: \n</div>\n<p><a href=\"http://cumic.md.chula.ac.th\" title=\"http://cumic.md.chula.ac.th\">http://cumic.md.chula.ac.th</a></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1729510155, expire = 1729596555, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:33d48b81c0d9dea2fc4507fdf2b9416e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d8404da1e2919ae202f7ada25b26f181' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nดีมากเลยค่ะ น่าจะมีภาพประกอบบ้างนะค่ะ ส่วนอย่างอื่นก็ดีมากเลย\n</p>\n', created = 1729510155, expire = 1729596555, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d8404da1e2919ae202f7ada25b26f181' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a994e9ade6d930b22d74c80ed1526da2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nน่าสนใจ เนื้อหาน้อย แต่ใจความดี\n</p>\n', created = 1729510155, expire = 1729596555, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a994e9ade6d930b22d74c80ed1526da2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Cloning การ โคลนนิ่ง

รูปภาพของ 32291knw

ประวัติการโคลนนิ่ง
โคลนนิ่ง (cloning) เป็นกระบวนการสืบพันธุ์โดยไม่อาศัย
เพศชนิดหนึ่ง มนุษย์รู้จักโคลนนิ่งมาแต่สมัยโบราณแล้ว แต่เป็นการ
รู้จักโคลนนิ่งที่เกิดกับพืช นั่นคือ การขยายพันธุ์พืชโดยไม่อาศัย
กระบวนการที่เกี่ยวกับเพศของพืชเลย โคลนนิ่งที่เป็นการขยาย
พันธุ์พืชหรือสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศที่เป็นที่รู้จักและเรียกกัน
ในภาษาไทยของเราว่า “การเพาะชำพืช” สำหรับเรื่องการโคลนนิ่ง
ของสัตว์และมนุษย์ก็เป็นกระบวนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เช่นกัน คำว่าโคลน
(clone) มาจากคำภาษากรีกว่า “Klone” แปลว่า แขนง กิ่ง ก้าน
ซึ่งใช้อธิบายการแบ่งตัวแบบไม่มีเพศ (asexual) ในพืชและสัตว์ การโคลนนิ่ง
คือการผลิตสัตว์ให้มีลักษณะทาง กายภาพ (phenotype) และทางพันธุกรรม (genotype)
เหมือนกัน (identical twin) โดยไม่ใช้เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียมาผสม กัน
ในภาษาอังกฤษเรียกว่า “genetic duplication” ดังนั้น
การโคลนนิ่งจึงเป็นการทำสิ่งมีชีวิตให้เป็นแฝดเหมือนกัน คือ มีเพศเหมือนกัน
สีผิวเหมือนกัน หมู่เลือดเหมือนกัน ตำหนิเหมือนกัน เป็นต้น ซึ่งในทางธรรมชาติ
โดยเฉพาะในสัตว์เกิดปรากฏการณ์การเกิดแฝด ขึ้นได้น้อยมาก บางรายงานกล่าวว่าแฝด
คู่สอง (twin) มีโอกาสเกิดน้อยกว่า ร้อยละ 1-5 และแฝดคู่สาม คู่สี่ หรือมากกว่า
มีรายงานน้อยมาก
การพัฒนาวิทยาการทางด้านโคลนนิ่งเซลล์สัตว์นั้นได้เริ่มมาตั้งแต่
พ.ศ. 2423 หรือ 120 ปีที่ผ่านมา การทดลองค้นคว้าวิจัยได้ เกิดขึ้นมาเป็นลำดับ
อาจจะมีทิ้งช่วงบ้างไปตามกาลเวลา แต่ความพยายามคิดค้นก็มิได้หยุดนิ่ง
จุดเริ่มต้นการทำโคลนนิ่ง สัตว์เกิดขึ้นเมื่อต้นทศวรรษที่ 50
โดยนักชีววิทยาอเมริกันสองคน คือ โรเบิร์ต บริกกส์ (Robert W. Briggs) และ โทมัส
คิง (Thomas J. King) แห่งสถาบันการวิจัยมะเร็งในฟิลาเดเฟีย
ทั้งสองได้ร่วมทำการทดลองโคลนนิ่งสัตว์ โดยเริ่มต้นกับกบ3 และได้ริเริ่มการทำ
โคลนนิ่งด้วยวิธีการถ่ายโอนนิวเคลียส (nuclear transfer) โดยอาศัย
เทคนิคที่พัฒนาโดย Sperman ซึ่งกลายเป็นวิธีการทำโคลนนิ่งที่ ใช้กันทั่วไป
เมื่อเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 การโคลนนิ่งสัตว์ครั้งแรกๆ ได้ประสบความสำเร็จคือ
การโคลนนิ่งแกะ Dolly ซึ่งเป็นสัตว์ใหญ่ โคลนนิ่งตัวแรกของโลก
ความสำเร็จนี้ได้จุดประกายในการที่จะค้นพบเรื่องการเพาะเซลล์4-6
รวมถึงความฝันที่ต้องการสร้างมนุษย์ ขึ้นมาจากการโคลนนิ่งเซลล์ (ตารางที่ 1)
7
หลักการเบื้องต้นของการโคลนนิ่ง8-11
วิธีโคลนนิ่งทางวิทยาศาสตร์สามารถทำได้
2 วิธี คือ
1. การแยกเซลล์หรือตัดแบ่งตัวอ่อนในระยะก่อนการฝังตัว (blastomere
separation or embryo bisection )
1.1 การแยกเซลล์ (blastomere separation)
หลังปฏิสนธิตัวอ่อนระยะ 1 เซลล์จะมีการแบ่งตัวเป็นทวีคูณ จากหนึ่งเป็นสอง
สองเป็นสี่ สี่เป็นแปด เรื่อยๆไป หากต้องการทำแฝดเราสามารถทำโดยการแยกเซลล์เดี่ยวๆ
ออกมา เช่น หากเป็น 2 เซลล์ ก็นำมาแยกเป็น 1:1 หรือหากเป็น 4 ก็แยกเป็น 4 ส่วน
1:1:1:1 เป็นต้น
อย่างไรก็ตามพบว่าการเจริญเป็นตัวอ่อนปกติหรือตัวเต็มวัยตัวอ่อนหลังแบ่งต้อง
ประกอบด้วยเซลล์จำนวนหนึ่งที่เพียงพอ
หากแบ่งแล้วไม่พอเพียงก็ไม่สามารถเจริญเป็นตัวอ่อนที่ปกติหรือตัวเต็มวัยได้จึงเป็น
ข้อจำกัดที่สำคัญอย่างหนึ่ง
1.2 การตัดแบ่งตัวอ่อน ( embryo bisection )
ตัวอ่อน ระยะมอรูล่า หรือ ระยะบลาสโตซีสสามารถแบ่งเป็น 2 ส่วนเท่าๆ กัน
โดยใช้ใบมีดขนาดเล็ก (microblade) ติดกับเครื่องมือพิเศษที่เรียกว่า
“micromanipulator” ข้อแตกต่างของการตัดแบ่งระยะ มอรูล่าและระยะบลาสโตซีส คือ
แนวการแบ่ง หากเป็นตัวอ่อนระยะมอรูล่าสามารถแบ่งในแนวใดก็ได้ให้สมดุลย์ (symmetry)
แต่หาก เป็นตัวอ่อนระยะบลาสโตซีสต้องตัดแบ่งในแนวที่ผ่านเซลล์ภายในที่เรียกว่า
อินเนอร์เซลล์แมส (inner cell mass, ICM) ทั้งนี้เพราะ
ตัวอ่อนระยะนี้เซลล์ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปแล้ว (differentiation)
แม้ว่าการโคลนสัตว์แบบการแยกเซลล์หรือการตัดแบ่งตัวอ่อน
นี้มีข้อดีคือสามารถทำได้เร็ว ไม่ต้องมีขั้นตอนมากมาย
แต่ก็มีข้อจำกัดคือไม่สามารถแบ่งตัวอ่อนได้มากตามจำนวนเซลล์
2.
การย้ายฝากนิวเคลียส (nuclear transfer or nuclear
transplantation)9-10
การย้ายฝากนิวเคลียสเป็นวิธีการที่ค่อนข้างจะซับซ้อน
โดยมีรายละเอียดขั้นตอนโดยย่อคือ ก. เตรียมโอโอไซต์ตัวรับ (oocyte recipient
preparation) ข. เตรียมนิวเคลียสจากตัวอ่อน ต้นแบบ (nuclear donor preparation) ค.
ดูดเอานิวเคลียสตัวอ่อนให้ใส่ไปยัง ไซโตพลาสซึ่มของโอโอไซต์ (nuclear transfer) ง.
เชื่อม นิวเคลียสให้ติดกับไซโตพลาสซึ่มของโอโอไซต์ (oocyte-nuclear fusion) จ.
การเลี้ยงนำตัวอ่อน (embryo culture) และ ฉ. การย้ายฝากตัวอ่อน (embryo
transfer
ประโยชน์และโทษของการโคลนนิ่ง12-13
การโคลนนิ่งนี้เป็นประโยชน์ต่อการเลี้ยงสัตว์เป็นอย่างมาก
ในแง่การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การใช้วิธีโคลนนิ่งจะช่วยให้ปรับปรุงพันธุ์ได้เร็วขึ้น
ในแง่การทดลองทางวิทยาศาสตร์ สามารถช่วยลดจำนวนสัตว์ที่ใช้ในการทดลองให้น้อยลง
เนื่องจากสัตว์มีลักษณะทางพันธุกรรม เหมือนกัน
ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการทดลองในทางการแพทย์มีความพยายามที่จะผลิตเนื้อเยื่อมนุษย์
เพื่อใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ มีความพยายามที่จะโคลนนิ่งมนุษย์ทั้งคน
แต่อย่างไรก็ตามการกระทำดังกล่าวยังไม่เป็นที่ยอมรับ
จัดว่าเป็นปัญหาทางด้านจริยธรรม ในทางการแพทย์13
แม้มีข้อกล่าวอ้างถึงประโยชน์จากการปลูกถ่ายทดแทนอวัยวะของมนุษย์
แต่ยังมีวิธีการอื่นที่ไม่ใช่การโคลน เช่น stem cell research และ transgene
technique14
ที่อาจพัฒนามาใช้ในจุดประสงค์ดังกล่าวได้นอกจากความผิดทางจริยธรรมทางการ แพทย์แล้ว
การโคลนนิ่งยังไม่เป็นที่ยอมรับจากทางศาสนจักรโรมันคาธอลิก
และยังไม่เป็นที่ยอมรับของนักสังคมศาสตร์ในแง่มุมของ
การเสียไปของการพิสูจน์บุคคลหากยอมให้มีการโคลนเกิดขึ้น การโคลนนิ่งมนุษย์จึงยัง
เป็นสิ่งที่ไม่อาจจะกระทำได้ในปัจจุบัน15-16 แต่อย่างไรก็ตาม
ยังมีนักวิทยาศาสตร์หลายๆกลุ่มที่ยังพยายามโต้แย้งในประเด็น
ดังกล่าวเนื่องด้วยข้อจำกัดทางจริยธรรม ทางการแพทย์ดังกล่าว
ข้อมูลเกี่ยวกับรายงานการโคลนมนุษย์ในปัจจุบันจึงยังมีอยู่
อย่างจำกัด
ประวัติการโคลนนิ่งในประเทศไทย 11

ในประเทศไทยการพัฒนาของพันธุ์สัตว์เรื่องการผสมเทียม การย้ายฝากตัวอ่อน
การผลิตตัวอ่อนในหลอดแก้วสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นพื้นฐานของการโคลนนิ่ง
โครงการวิจัยมีความคิดที่จะโคลนนิ่งสัตว์เศรษฐกิจ แต่ปัญหาและอุปสรรคของเราคือ
นักวิชาการและ นักวิจัยซึ่งมีประสบการณ์ทางด้านนี้มีน้อยกว่าต่างประเทศมาก
ทำให้การวิจัยและพัฒนาทำได้ช้า
แต่อย่างไรก็ตามประเทศไทยก็
สามารถทำโคลนนิ่งได้สำเร็จโดย ศาสตราจารย์มณีวรรณ กมลพัฒนะ ผู้อำนวยการโครงการ
ใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมกิจการผสมเทียม โคนม และกระบือปลัก
คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
ได้เป็นคนแรกที่นำการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์มาผสมเทียมในกระบือและพัฒนาต่อเนื่องมากว่า
20ปีจนประสบความสำเร็จในการ โคลนนิ่งลูกโคตัวแรกของประเทศไทย ชื่อว่า “อิง”
ซึ่งถือเป็นลูกโคโคลนนิ่งตัวแรกของประเทศไทยและเอเชียอาคเนย์ รายที่ 3 ของเอเชีย
และรายที่ 6 ของโลก โดยทำโคลนนิ่งต่อจาก ญี่ปุ่น อเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมัน
และเกาหลี
ศาสตราจารย์มณีวรรณ กมลพัฒนะ ได้นำเซลล์ใบหูของ
โคแบรงกัสเพศเมียมาเป็นเซลล์ต้นแบบโคลนนิ่งและนำตัวอ่อน
ฝากไว้กับแม่โคออยในฟาร์มของ จ่าสิบโทสมศักดิ์ วิชัยกุล ที่จังหวัดราชบุรี ได้
“อิง” ลูกโคสีดำ ซึ่งเป็นลูกโคโคลนนิ่งตัวแรก ของประเทศไทย เกิดเมื่อวันที่ 6
มีนาคม พ.ศ. 2543

โทษของการ โคลนนิ่ง

จริยธรรมอันดีงามของมนุษย์ 
โคลนนิ่งอาจถูกนำไปใช้ในการสร้างสัมคมที่มีกลุ่ม1. 
ขัดต่อวัฒนธรรมและคนปัญญาดี  กลุ่มคนปัญญาปานกลาง  กลุ่มแรงงาน 
สังคมเช่นนี้อาจเป็นระเบียบแต่จะขาดความเท่าเทียมกัน

                                2. 
จะไม่มีความหลากหลายของเผ่าพันธุ์   
ซึ่งเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ของชนิดของสิ่งมีชีวิตได้ง่าย

                (2)  โรควัวบ้า 
ข่าวที่สร้างความตื่นตระหนักไปทั่วโลกในขณะนี้คือ 
ข่าวที่สหภาพยุโรปสั่งห้ามเข้าเนื้อวัวและผลิตภัณฑ์จากวัวแทบทุกประเภทจากประเทศอังกฤษ 
ซึ่งคาดว่าจะกระทบอุตสาหกรรมปศุสัตว์มูลค่าปีละ 

พันล้านปอนด์ของอังกฤษ  โรควัวบ้า  หรือ  Bovine
spongiformencephalopa  (BSE) 
เป็นกลุ่มโรคระบาดชนิดหนึ่งที่รู้จักในชื่อ  TSEs : transmissible
spongiformencephalopathies  เชื้อ  TSE 
นี้อาจมีความเชื่อมโยงกับเชื้อชนิดที่ส่งผลต่อมนุษย์คือเชื้อ  Creutz
- feldt - Jakob  ที่ทำให้เกิดโรคสมองฝ่อ 
โรคชนิดนี้ร้ายแรงและยังไม่พบวิธีที่จะเยี่ยวยา 
สามารถติดต่อไปยังสัตว์ชนิดอื่นได้  มีระยะฟักตัวนาน  โดยฝังอยู่ในอวัยวะส่วนต่าง
ๆ  ของสัตว์  จนกว่าแสดงอาการออกมาทำลายเซลล์ประสาทสมองแทบทั้งหมด 
โดยก่อนให้เกิดโพรงขนาดเล็กทั่วไป  ทำให้สมองปรุพรุนคล้ายฟองน้ำ 
สัตว์ที่ได้รับเชื้อละแสดงอาการออกมาจะเป็นบ้าพิการ 
และถึงแก่ชีวิตได้ในระยะเวลาไม่เกิน 
13 
เดือน

               
นักวิทยาศาสตร์ค้นพบ  BSE  เมื่อปี  1986 
โดยเชื่อว่าเชื้อนี้อาจเกิดจากเนื้อสัตว์ชนิดอื่นได้แพร่กระจายเข้าสู่วัว 
ผ่านการเลี้ยงด้วยผลิตภัณฑ์จากโรงงานอาหารสัตว์ที่ใช้ซากสัตว์ 
ซึ่งรวมถึงซากวัวด้วยนำมาป่นเป็นวัตถุดิบผลิตอาการสัตว์  ซึ่งเรียกกันว่า หัวอาหาร
อาหารเสริม หรืออาหารบำรุงกระดูก  พูดง่าย ๆ 
ก็คือมนุษย์กำลังเลี้ยงวัวโดยใช้ซากวัว  กล่าวอีกนัยหนึ่ง 
บังคับให้วัวกินวัวด้วยกันเอง 
เมื่อวัวกินวัวที่มีเชื้อโรควัวบ้าเข้าไปก็ยิ่งทำให้การแพร่กระจายของโรคชนิดนี้เร่งเร็วขึ้นมาก

               
การที่สัตว์กินกันเองนี้  ก่อนให้เกิดโรคภัยร้ายแรงหลายประการ 
เนื่องจากสามารถส่งผ่านเชื้อโรคเข้าสู่โดยตรง  ในช่วงครึ่งแรกของศตวรรษนี้ 
มีโรคชนิดเดียวกับโรควัวบ้าที่เกิดขึ้นกับมนุษย์คือโรค  กูรู 
(Kuru) 
ซึ่งเกิดกับชนเผ่า  ฟอร์  (Fore) 
ซึ่งยังอยู่ในอารยธรรมยุคหิน    โดยชนเผ่านี้นิยมกินเนื้อคน 
และในที่สุดก็ล้มตายแทบสิ้นเผ่าพันธุ์ด้วยโรคระบาด

               
โรควัวบ้าและมาตราการป้องกันเบื้องต้นเหล่านี้ 
ดำเนินไปโดยปิดบังข้อมูลที่แท้จริงทั้งหมดต่อสาธารณชน 
ยังไม่มีการศึกษาวิจัยเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาโรควัวบ้าอย่างจริงจัง 
หรือยังไม่เปิดเผยทั้งหมด  เนื่องจากเกรงผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อเกษตรกรชาวอังกฤษ 
จนกระทั่ง  วิกฤตโรควัวบ้าระบาดหนักขึ้นมีคนตายด้วยโรคติดเชื้อถึงกว่า 
10 
ราย  และคาดกันว่ามีวัวที่ได้รับเชื้อ  BSE  ถึงร้อยละ 
20  แล้ว  จากจำนวนวัวของอังกฤษ  จำนวน  11  ล้านตัว 
ที่น่าตระหนกก็คือมนุษย์ได้บริโภคเนื้อวัวที่ได้รับเชื้อบ้า 
แต่อาการของโรคยังไม่ปรากฏไปเป็นจำนวนเท่าไรแล้ว 
และไม่ปรากฏชัดว่าโรควัวบ้าจะจำกัดพื้นที่เฉพาะในเกาะอังกฤษ 
หรือได้แพร่กระจายไปทั่วแล้ว 
หากยังไม่แสดงอาการออกมาเท่านั้น

ประโยชน์ ของการโคลนนิ่ง

 

1.  เป็นการสร้างความก้าวหน้าทางการเกษตรและการแพทย์ 
การเลี้ยงสัตว์ที่ได้จากโคลนนิ่งจะได้ผลผลิตที่เติบโตพร้อมเพรียงกัน 
มีน้ำหนักและขนาดเท่ากันสามารถควบคุมคุณภาพได้อย่างสม่ำเสมอ 
ประหยัดค่าใช้จ่ายและขายได้ราคา 
เพื่อประโยชน์ต่อเศรษฐกิจการเลี้ยงสัตว์ได้

                               
2.  การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ที่หายากหรือใกล้จะสูญพันธุ์ 
โคลนนิ่งจะช่วยการขยายพันธุ์เพิ่มจำนวนสัตว์ป่า  นก  และสัตว์น้ำ 
บางประเภท

สร้างโดย: 

ปาณิสรา วงศ์มา ชั้น ม.3/5 เลขที่38.knw32291

แหล่งอ้างอิง: 

http://cumic.md.chula.ac.th

 

 

 

 

รูปภาพของ knw32242

ดีมากเลยค่ะ น่าจะมีภาพประกอบบ้างนะค่ะ ส่วนอย่างอื่นก็ดีมากเลย

น่าสนใจ เนื้อหาน้อย แต่ใจความดี

รูปภาพของ knw32272

ดีแฮะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 415 คน กำลังออนไลน์