• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1f33bff484b3479caa1975ee41da9e04' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>  </p>\n<p align=\"left\">\n                                                 <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" alt=\"Innocent\" title=\"Innocent\" /> ดาวฤกษ์สว่างมาก ๆ และกลุ่มดาวเด่น ๆ\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u7323/dowleirk2.jpg\" height=\"450\" style=\"width: 302px; height: 233px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มาของรูปภาพ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0006/web%20dalasoag/venus_s.jpg\">http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0006/web%20dalasoag/venus_s.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\nนอกจากดวงอาทิตย์แล้ว ดาวฤกษ์ดวงอื่น ๆ ล้วนอยู่ไกลทั้งสิ้น แสงจากดาวเหล่านี้เดินทางเป็นเวลาหลายปีจึงมาถึงโลก เช่น แสงจากดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะที่สุดใช้เวลาเดินทางประมาณ 4.3 ปีแสง จึงมาถึงโลก ดาวดวงนี้คือดาวแอลฟา-เซนเทารี และเราอาจจะพูดว่าดาวแอลฟา-เซนเทารี อยู่ห่างโลก 4.3 ปีแสง<br />\nดาวแอลฟา-เซนเทารี เป็นดาวฤกษ์สว่างที่สุดในกลุ่มดาวม้าครึ่งคน ขวามือห่างจากดาวแอลฟา-เซนเทารีประมาณ 10 องศา เป็นดาวสว่างมากดวงหนึ่งรองลงไปชื่อเบตา-เซนเทารี และขวามือห่างจากเบตาเซนเทารี 20 องศา คือกลุ่ม ดาวอะครักซ์ หรือกลุ่ม ดาวกางเขนใต้ ซึ่งประกอบด้วยดาวฤกษ์ 5 ดวง 4 ดวงแรก สว่างกว่า ดวงที่ 5 โดยเรียงกันอยู่<br />\nกลุ่มดาวกางเขนใต้เป็นกลุ่มดาวที่ใช้หาทิศใต้ได้ดีพอ ๆ กับการใช้ดาวเหนือหาทิศเหนือ<br />\nดาวฤกษ์สว่างที่สุดในเวลากลางคืนคือ ดาวซีรีอุส (Sirius) ซึ่งเป็นดาวฤกษ์สีน้ำเงิน อยู่ห่างโลก 8 ปีแสง ในกลุ่มดาวสุนัขใหญ่ ความสว่างสุกใสของดาวซีรีอุสทำให้กลุ่มดาวสุนัขใหญ่โดดเด่นขึ้นมาด้วย กลุ่มดาวสุนัขใหญ่ประกอบด้วยดาวฤกษ์อย่างน้อย 5 ดวงเรียงเป็นรูปสุนัขใหญ่ อยู่ทางซีกฟ้าด้านใต้ ขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางใต้ ประมาณ 25 องศา เวลาขึ้นไปสูงสุดจะอยู่ทางทิศใต้ โดยอยู่สูงเป็นมุมเงย 50 องศา และตกลับขอบฟ้าทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางใต้ประมาณ 25 องศา<br />\nกลุ่มดาวสำคัญกลุ่มหนึ่งที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตรฟ้าคือ กลุ่มดาวเต่า-ดาวไถ ซึ่งสากลเรียกว่ากลุ่มดาวนายพราน ประกอบด้วยดาวฤกษ์อย่างน้อย 7 ดวงเรียงเป็นรูปเต่า โดย 4 ดวงรอบนอกเป็นตำแหน่งขาเต่าทั้ง 4 ขา 3 ดวงตรงกลางหลังเต่าเรียกว่าดาวไถ ดาวสว่างสีแดงตรงขาหน้าซ้ายของเต่าชื่อดาวปีเทลจุส เป็นดาวฤกษ์สว่างมากเป็นที่ 2 ในกลุ่มดาวฤกษ์ดวงสว่างที่สุดในกลุ่มชื่อ ไรเจล อยู่ ณ ตำแหน่งขาหลังขวาของเต่า ถ้าดูให้เป็นรูปนายพรานต้องให้บริเวณขาเต่าด้านหน้าเป็นไหล่นายพราน ส่วนขาหลังของเต่าเป็นหัวเข่าของนายพราน กลางกลุ่มดาวนายพรานขึ้นตรงจุดทิศตะวันออกพอดี และตกตรงจุดทิศตะวันตกพอดี เมื่ออยู่สูงสุดจะอยู่ทางทิศใต้ของจุดเหนือศีรษะเล็กน้อย<br />\nกลุ่มดาวเด่นด้านซ้ายมือของกลุ่มดาวนายพรานที่มีดาวสว่างมากดวงหนึ่งคือกลุ่มดาวสุนัขเล็กดาวสว่างมากในกลุ่มนี้ชื่อดาวโปรซิออน ขึ้นใกล้จุดทิศตะวันออก<br />\nดาวฤกษ์สว่างมาก 3 ดวงคือ ซีรีอุส โปรซิออน และปีเทลจุส เรียงกันเป็นรูป  เรียกว่า  หน้าหนาว เพราะเห็นตลอดคืนหน้าหนาว และมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  แห่งการนำทาง เพราะเป็นดาวเด่นที่นักบินอวกาศและยานอวกาศใช้เป็นดาวอ้างอิงในการเคลื่อนที่ในอวกาศ<br />\nกลุ่มดาวเด่นมากกลุ่มหนึ่งที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายทั่วโลกคือ กลุ่มดาวจระเข้ ซึ่งสากลเรียกว่า กลุ่มดาวหมีใหญ่ เป็นกลุ่มดาวที่อยู่ใกล้ขั้วฟ้าเหนือโดยอยู่ห่างจากขั้วฟ้าเหนือประมาณ 30 องศา ประกอบด้วยดาว 7 ดวงเรียงเป็นรูปคล้ายกระบวยตักน้ำ จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ดาวกระบวยใหญ่ ดาว 4 ดวงแรกเรียงเป็นตัวกระบวยและ 3 ดวงสุดท้ายเป็นด้ามกระบวย ตำแหน่งขึ้นอยู่ทางตะวันออกเฉียงไปทางเหนือเกือบ 60 องศา ดาวดวงที่ 1 และ 2 เรียกว่าดาวชี้ เพราะถ้าเล็งจากดวงที่ 2 ไปทางดวงที่ 1 แล้วต่อเลยออกไปจะผ่านเฉียดดาวเหนือ เมื่อดาวทั้ง 2 ดวงขึ้นไปสูงสุด เส้นที่ผ่านดาวดวงที่ 2 ไปทางดาวดวงที่ 1 จะเล็งไปที่จุดขอบฟ้าทิศเหนือ ประเทศในซีกโลกใต้ที่มองเห็นกลุ่มดาวหมีใหญ่ จึงใช้กลุ่มดาวหมีใหญ่หาทิศได้โดยไม่ต้องพึ่งดาวเหนือ<br />\nดาวฤกษ์สว่างมาก ๆ นอกจากดาวที่กล่าวมาแล้ว ยังมีดาว ดวงแก้ว หรือ อาร์ดตุรุส ในกลุ่มดาวคนเลี้ยงสัตว์ ดาวรวงข้าวหรือสไปก้าในกลุ่มดาวหญิงสาว ดาวคะโนปุส ในกลุ่มดาวกระดูกงูเรือ ซึ่งสว่างเป็นที่ 2 รองจากดาวซีรีอุส ดาวคาเพลลา เป็นดาวสว่างมากดวงหนึ่งในกลุ่มดาวสารถีซึ่งอยู่ทางเหนือ ในขณะที่ดาวเต่าอยู่สูงมากบนฟ้า ให้เราต่อเส้นจากดาวคาโนปัสผ่านดาวซีรีอุส ผ่านดาวบีเทลจุส แล้วเลยไปดาวคาเพลลา เส้นจะผ่านดาวเหนือ นับว่าเป็นวิธีการหาดาวเหนือวิธีหนึ่งโดยอาศัยดาวฤกษ์สว่างมาก ๆ 4 ดวง<br />\nในกลุ่มดาวจักรราศีมีดาวฤกษ์สว่างมากหลายดวง นอกจากดาวรวงข้าวเป็นดาวสว่างมากในกลุ่มดาวหญิงสาวแล้ว ยังมีดาว หัวใจสิงโต ในกลุ่มดาวสิงโต ดาวโรหิณีหรืออัลติบะแรน หรือผู้ติดตามในกลุ่มดาววัว ดาวคาสเตอร์และดาวพอลลักซ์ในกลุ่มดาวคนคู่ ดาวปาริชาตสีแดงในกลุ่มดาวแมงป่อง<br />\nยังมีดาวสว่างมากอีก 3 ดวงเรียงเป็นรูป  หน้าร้อน ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับ  หน้าหนาว ดาว 3 ดวง ได้แก่ ดาววีก้า ในกลุ่มดาวพิณ ดาวตานกอินทรีย์ ในกลุ่มดาวนกอินทรี และดาวหางหงส์ ในกลุ่มดาวหงส์  หน้าร้อนเป็น  แห่งการนำทางอีกแห่งหนึ่ง\n</p>\n<p align=\"left\">\nขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูลจาก\n</p>\n<p align=\"left\">\n<a href=\"http://other04.exteen.com/20071112/entry-1\">http://other04.exteen.com/20071112/entry-1</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" title=\"Cool\" />ดาราจักร เนบิวลา กระจุกดาวฤกษ์\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"414\" src=\"/files/u7323/news.jpg\" height=\"474\" style=\"width: 296px; height: 232px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มาของรูปภาพ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.marinerthai.com/sara/pics/Star010.jpg\">http://www.marinerthai.com/sara/pics/Star010.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n           ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ทั้งหลายบนฟ้ารวมกันอยู่ในระบบที่ใหญ่ขึ้นคล้ายเป็นเมืองของดาวฤกษ์เรียกว่า ดาราจักร หรือ กาแลกซี และได้ชื่อว่าเป็นกาแลกซีของเรา หรือกาแลกซีทางช้างเผือก เพราะดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ในดาราจักรของเราอยู่ในแนวทางช้างเผือก นักดาราศาสตร์คาดคะเนได้ว่ามีดาวฤกษ์ประมาณแสนล้านดวงอยู่ในดาราจักรของเรา แต่ดาวฤกษ์ที่เรามองเห็นบนฟ้ามีจำนวนเป็นพันดวงเท่านั้น ดาราจักรจึงมีองค์ประกอบสำคัญเป็นดาวฤกษ์ซึ่งมีขนาด อุณหภูมิและอายุต่าง ๆ กัน ที่ว่างระหว่างดาวฤกษ์ไม่ว่างเปล่า บางบริเวณมีก๊าซและฝุ่นรวมตัวกันปรากฏฝ้า ๆ มัว ๆ ซึ่งภาษาละตินเรียกว่า เนบิวลา ก๊าซและฝุ่นเหล่านี้คือต้นกำเนิดของดาวฤกษ์ เพราะแรงโน้มถ่วงจะช่วยให้ฝุ่นและก๊าซยึดเหนี่ยวกันรวมกันมากขึ้นจนทำให้ใจกลางมีอุณหภูมิสูงมากพอที่จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ ไฮโดรเจนหลอมรวมกันเป็นฮีเลียม คล้ายใจกลางดวงอาทิตย์ และนั่นคือการเกิดดาวฤกษ์ดวงใหม่<br />\nดาวฤกษ์บางดวงมีขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์มาก ดาวฤกษ์ขนาดใหญ่เหล่านี้จะใช้เชื้อเพลิงอย่างรวดเร็วทำให้ดาวมีวิวัฒนาการเร็วกว่าดาวขนาดเล็ก ดาวที่มีขนาดใหญ่ทั้งหลายจะขยายตัวจนแรงโน้มถ่วงไม่อาจเอาชนะแรงดันจากภายในได้ ผลก็คือดาวระเบิดกลายเป็นโนวาหรือซูเปอร์โนวา นั่นคือ ดาวระเบิดจะสาดกระจายก๊าซรอบนอกออกสู่อวกาศ ในขณะที่แกนกลางของดาวจะยุบตัวกลายเป็นดาวนิวตรอน หรือหลุมดำ ส่วนที่แผ่กระจายออกสู่อวกาศกลายเป็นเนบิวลารุ่นใหม่ ดาวฤกษ์จึงทำหน้าที่เป็นผู้ผลิตธาตุต่าง ๆ ซึ่งจะแผ่กระจายออกไปในรูปของเนบิวลา และเนบิวลาก็เป็นผู้ก่อกำเนิดของดาวฤกษ์รุ่นหลัง ๆ<br />\nเนบิวลาที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าอยู่ในกลุ่มดาวนายพราน เนบิวลาขนาดใหญ่จะก่อเกิดเป็นดาวฤกษ์ได้จำนวนมาก ดาวฤกษ์จำนวนมากที่มีอายุใกล้เคียงกันและอยู่ใกล้กันเรียกว่า กระจุกดาวฤกษ์ เช่นกระจุกดาวลูกไก่ในกลุ่มดาววัว เป็นต้น กระจุกดาวลูกไก่อยู่ใกล้แนวทางช้างเผือก จึงเรียกว่า กระจุกดาวกาแล็คติกและเป็นกระจุกดาวเปิด มีกระจุกดาวอีกประเภทหนึ่งที่อยู่ห่างจากแนวทางช้างเผือก และประกอบด้วยดาวฤกษ์จำนวนมากเรียกว่า กระจุกดาวทรงกลม เช่นกระจุกดาวทรงกลมเอ็ม 13 ในกลุ่มดาวเฮอร์คิวลิส ดาวฤกษ์ เนบิวลา กระจุกดาวฤกษ์ประกอบกันขึ้นเป็นดาราจักรหรือกาแลกซีหลาย ๆ กาแลกซีรวมกันเรียกว่า เอกภพ\n</p>\n<p>\nขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูลจาก\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://blog.eduzones.com/offy/3857\">http://blog.eduzones.com/offy/3857</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" />บิ๊กแบง\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u7323/bigbaig.jpg\" height=\"500\" style=\"width: 292px; height: 274px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มาของรูปภาพ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://farm1.static.flickr.com/40/82389486_c91c210ed8_o.gif\">http://farm1.static.flickr.com/40/82389486_c91c210ed8_o.gif</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n               บิ๊กแบง หรือการระเบิดใหญ่คือจุดเริ่มต้นของเวลาและเอกภพ ณ จุดเริ่มต้นของเวลา สสารอยู่ในรูปของพลังงาน เพราะฉะนั้นอุณหภูมิใกล้จุดเริ่มต้นจึงสูงมาก <br />\n1 วินาทีหลังบิ๊กแบง อุณหภูมิจะลดลงเป็นประมาณหนึ่งหมื่นล้านองศาหรือประมาณหนึ่งพันเท่าของอุณหภูมิใจกลางดวงอาทิตย์ สถานที่ซึ่งมีอุณหภูมิสูงขนาดนี้ คือใจกลางของระเบิดไฮโดรเจน<br />\nวินาทีหลังการระเบิดใหญ่เอกภพมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโฟตอน อิเล็กตรอน และนิวตริโน (อนุภาคที่เบามากที่มีผลกระทบเฉพาะแรงอ่อนและแรงโน้มถ่วง) รวมทั้งปฏิอนุภาคทั้งสามและโปรตอนกับนิวตรอนอีกจำนวนหนึ่ง<br />\nขณะที่เอกภพขยายตัวต่อไป อุณหภูมิลดต่ำลง อัตราการผลิตคู่ของอิเล็คตรอน-แอนตี้อิเล็กตรอนจากการชนกันจะลดต่ำกว่าอัตราการทำลายโดยการรวมตัว ดังนั้นอิเล็กตรอนและแอนตี้อิเล็กตรอนส่วนมากจะรวมตัวได้โฟตอนออกมามากขึ้นเหลืออิเล็กตรอนไว้จำนวนน้อยเท่านั้น แต่นิวตริโนและแอนตี้นิวตริโนจะไม่รวมกัน เพราะอนุภาคทั้งสองมีปฏิกิริยาต่อกัน และมีปฏิกิริยากับอนุภาคอื่น ๆ อย่างอ่อน ๆ มาก ดังนั้นจึงยังคงเหลืออยู่จนทุกวันนี้ ถ้าเราตรวจพบนิวตริโน-แอนตี้นิวตริโนได้ ก็จะเป็นการพิสูจน์เอกภพยุคต้น ๆ ที่ดีมาก บางทีนิวตริโนอาจจะเป็น “วัตถุมืด” ซึ่งมีแรงโน้มถ่วงเพียงพอที่จะทำให้เอกภพหยุดขยายตัวแล้วหดตัวลงอีกครั้งหนึ่ง <br />\nประมาณ 100 วินาที หลังบิ๊กแบง อุณหภูมิจะลดลงเป็นหนึ่งพันล้านองศา หรือเท่ากับอุณหภูมิภายในดาวฤกษ์ร้อนที่สุด ณ อุณหภูมินี้โปรตอนและนิวตรอนจะไม่มีพลังงานมากพอที่จะหลุดพ้นจากแรงดึงดูดแบบนิวเคลียร์ที่รุนแรงได้ จึงเริ่มยึดกันกลายเป็นนิวเคลียสดิวทีเรียมซึ่งประกอบด้วยโปรตอน 1 ตัว และนิวตรอน 1 ตัว นิวเคลียสของดิวทีเรียมอาจรวมกับโปรตอนและนิวตรอนตัวอื่น ๆ ต่อไป กลายเป็นนิวเคลียสของฮีเลียม ซึ่งประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนอย่างละ 2 ตัว นอกจากนี้ยังเกิดธาตุหนักขึ้นอีก 2 ธาตุคือ ลิเทียม และ เบอริลเลียม เราสามารถคำนวณตามโมเดลบิ๊กแบงได้ว่า ประมาณหนึ่งในสี่ของโปรตอนและนิวตรอน จะกลายเป็นฮีเลียมและไฮโดรเจนหนัก (ดิวทีเรียม) กับธาตุอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง (น้อยมาก) นิวตรอนที่เหลือจะสลายตัวกลายเป็นโปรตรอน ซึ่งก็คือนิวเคลียสของอะตอมไฮโดรเจน นั่นเอง<br />\nภายในเพียง 2-3 ชั่วโมง หลังการระเบิดใหญ่ การผลิตฮีเลียมและธาตุอื่น ๆ จะหยุดลง หลังจากนั้นเอกภพจะขยายตัวโดยไม่มีอะไรเกิดขึ้นมาก เป็นเวลาล้านปี เมื่ออุณหภูมิลดลงเป็น 2-3 พันองศา และอิเล็กตรอนกับนิวเคลียสทั้งหลายมีพลังงานไม่มากพอที่จะหลุดพ้นจากแรงดึงดูดแม่เหล็กไฟฟ้าจึงยึดเหนี่ยวกันกลายเป็นอะตอม ของธาตุต่าง ๆ เอกภพจะขยายตัวต่อไปอีก และเย็นตัวลงด้วย แต่สำหรับบริเวณที่มีความหนาแน่นมากกว่าส่วนเฉลี่ย การขยายตัวจะช้าลงโดยแรงโน้มถ่วงจากภายนอกจะทำให้ส่วนที่กำลังยุบตัวหมุนเล็กน้อย เมื่อบริเวณที่ยุบตัวลงมีขนาดเล็กลง การหมุนจะเร็วขึ้นเหมือนกับนักเล่นสเกตน้ำแข็งจะหมุนตัวเร็วขึ้นถ้าหดแขนเข้าหาตัว ในที่สุดก็จะหมุนเร็วจนทำให้เกิดความสมดุลกับแรงโน้มถ่วง นี่คือกำเนิดของดาราจักร ที่มีรูปร่างเหมือนจานที่กำลังหมุน บริเวณอื่นซึ่งไม่หมุนจะกลายเป็นดาราจักรแบบรูปไข่<br />\nเมื่อเวลาผ่านไป ก๊าซไฮโดรเจนและฮีเลียม ภายในดาราจักรจะแยกกันเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มจะหดตัว เพราะ แรงโน้มถ่วง ขณะหดตัวลงอะตอมของก๊าซจะชนกันทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นจนสูงมากพอที่จะทำให้เกิด ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ ซึ่งเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ความร้อนที่เกิดขึ้นทำให้มีความดันสูง จนต้านแรงโน้มถ่วงไว้ได้ วัตถุก็จะอยู่ในภาวะสมดุลเช่นนี้เป็นเวลานานเรียกว่า ดาวฤกษ์ อย่างเช่น ดวงอาทิตย์ของเรา ซึ่งเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม และแผ่รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ ความร้อนและแสงสว่าง เป็นต้น<br />\nวิวัฒนาการของดาวฤกษ์เป็นไปตามขนาด ดาวฤกษ์ที่โตมากมวลสารมาก จำเป็นต้องมีอุณหภูมิภายในสูงกว่า เพื่อทำให้เกิดความดันที่สามารถต้านแรงโน้มถ่วงที่สูงกว่าได้ ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์จะดำเนินไป อย่างรวดเร็ว จนทำให้ใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนหมดในเวลาอันสั้นเพียงร้อยล้านปี หลังจากนั้นดาวจะหดตัวลงเล็กน้อย และขณะที่อุณหภูมิสูงขึ้นต่อไปอีก ก็จะเป็นจังหวะที่ฮีเลียมหลอมรวมกัน เป็นธาตุที่หนักขึ้น เช่น คาร์บอน หรือออกซิเจน<br />\nดาวขนาดใหญ่มาก ๆ จะมีใจกลางที่ยุบตัวลง เข้าสู่สภาวะความหนาแน่นสูงมาก เช่น ดาวนิวตรอน หรือหลุมดำ ในขณะที่ส่วนภายนอกของดาวระเบิดอย่างรุนแรง เรียกว่า ซูเปอร์โนวา ซึ่งสว่างกว่าดาวทั้งหลายใน ดาราจักรนั้น ๆ ธาตุหนักบางธาตุที่เกิดขึ้นในช่วงท้ายของชีวิตดาวฤกษ์จะถูกสาดกระจายออกสู่อวกาศ ในดาราจักร กลายเป็นแหล่งกำเนิดดาวฤกษ์รุ่นใหม่ต่อไป ดวงอาทิตย์ของเรามีธาตุหนักที่เกิดในลักษณะนี้ 2% ทั้งนี้เพราะดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์รุ่นที่ 2 หรือรุ่นที่ 3 เกิดเมื่อ 5 พันล้านปีมาแล้ว จากเนบิวลาที่หมุนวนอันเป็นซากของซูเปอร์โนวา ก๊าซส่วนใหญ่หลอมตัวกันกลายเป็นดาวเคราะห์<br />\nระยะเริ่มแรกโลกร้อนมากและไม่มีบรรยากาศ เมื่อนานเข้าจึงเย็นตัวลง และเกิดบรรยากาศที่มาจากก๊าซในก้อนหิน บรรยากาศดั้งเดิมของโลกไม่เหมือนในปัจจุบัน ไม่มีออกซิเจน มีแต่พวกที่เป็นพิษต่อชีวิตของมนุษย์ เช่น ไฮโดรเจนซัลไฟด์ อย่างไรก็ตามยังมีรูปแบบของสิ่งมีชีวิตโบราณ ซึ่งอยู่ภายใต้สภาวะที่เต็มไปด้วยก๊าซพิษ เป็นที่เชื่อกันว่าชีวิตแรกเกิดในทะเล อาจเกิดจากการรวมตัวของ อะตอมเล็ก ๆ เป็นโครงสร้างใหญ่ เรียกว่า โมเลกุลยักษ์ ซึ่งสามารถดึงเอาอะตอมอื่น ๆ ในทะเลให้รวมกันเป็นโมเลกุลยักษ์มากขึ้น เพราะฉะนั้นจึงมีโมเลกุลชีวิตเช่นนี้เกิดขึ้นทวีคูณอย่างรวดเร็ว ชีวิตแรก ๆ บริโภคสารต่าง ๆ รวมทั้งซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แล้วคายออกซิเจนออกมา สิ่งนี้เปลี่ยนบรรยากาศทีละน้อย จนเป็นอย่างที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งช่วยให้เกิดสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างซับซ้อนขึ้น เช่น ปลา สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และเผ่าพันธุ์ต่าง ๆ ของมนุษย์<br />\nดังนั้น มนุษย์จึงมีองค์ประกอบที่เป็นธาตุต่าง ๆ ในร่างกาย ล้วนมีต้นกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น เราจึงมาจากดวงดาว โดยเฉพาะดาวฤกษ์รุ่นหลัง ๆ ที่มีธาตุหนักเพิ่มขึ้นแล้ว\n</p>\n<p align=\"left\">\nขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูลจาก\n</p>\n<p align=\"left\">\n<a href=\"http://www.ipst.ac.th/science/astro/Astro11.pdf\">http://www.ipst.ac.th/science/astro/Astro11.pdf</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n</p>', created = 1719400072, expire = 1719486472, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1f33bff484b3479caa1975ee41da9e04' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดวงดาว

รูปภาพของ sss27390

 

                                                 Innocent ดาวฤกษ์สว่างมาก ๆ และกลุ่มดาวเด่น ๆ

 

ที่มาของรูปภาพ

http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0006/web%20dalasoag/venus_s.jpg


นอกจากดวงอาทิตย์แล้ว ดาวฤกษ์ดวงอื่น ๆ ล้วนอยู่ไกลทั้งสิ้น แสงจากดาวเหล่านี้เดินทางเป็นเวลาหลายปีจึงมาถึงโลก เช่น แสงจากดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะที่สุดใช้เวลาเดินทางประมาณ 4.3 ปีแสง จึงมาถึงโลก ดาวดวงนี้คือดาวแอลฟา-เซนเทารี และเราอาจจะพูดว่าดาวแอลฟา-เซนเทารี อยู่ห่างโลก 4.3 ปีแสง
ดาวแอลฟา-เซนเทารี เป็นดาวฤกษ์สว่างที่สุดในกลุ่มดาวม้าครึ่งคน ขวามือห่างจากดาวแอลฟา-เซนเทารีประมาณ 10 องศา เป็นดาวสว่างมากดวงหนึ่งรองลงไปชื่อเบตา-เซนเทารี และขวามือห่างจากเบตาเซนเทารี 20 องศา คือกลุ่ม ดาวอะครักซ์ หรือกลุ่ม ดาวกางเขนใต้ ซึ่งประกอบด้วยดาวฤกษ์ 5 ดวง 4 ดวงแรก สว่างกว่า ดวงที่ 5 โดยเรียงกันอยู่
กลุ่มดาวกางเขนใต้เป็นกลุ่มดาวที่ใช้หาทิศใต้ได้ดีพอ ๆ กับการใช้ดาวเหนือหาทิศเหนือ
ดาวฤกษ์สว่างที่สุดในเวลากลางคืนคือ ดาวซีรีอุส (Sirius) ซึ่งเป็นดาวฤกษ์สีน้ำเงิน อยู่ห่างโลก 8 ปีแสง ในกลุ่มดาวสุนัขใหญ่ ความสว่างสุกใสของดาวซีรีอุสทำให้กลุ่มดาวสุนัขใหญ่โดดเด่นขึ้นมาด้วย กลุ่มดาวสุนัขใหญ่ประกอบด้วยดาวฤกษ์อย่างน้อย 5 ดวงเรียงเป็นรูปสุนัขใหญ่ อยู่ทางซีกฟ้าด้านใต้ ขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางใต้ ประมาณ 25 องศา เวลาขึ้นไปสูงสุดจะอยู่ทางทิศใต้ โดยอยู่สูงเป็นมุมเงย 50 องศา และตกลับขอบฟ้าทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางใต้ประมาณ 25 องศา
กลุ่มดาวสำคัญกลุ่มหนึ่งที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตรฟ้าคือ กลุ่มดาวเต่า-ดาวไถ ซึ่งสากลเรียกว่ากลุ่มดาวนายพราน ประกอบด้วยดาวฤกษ์อย่างน้อย 7 ดวงเรียงเป็นรูปเต่า โดย 4 ดวงรอบนอกเป็นตำแหน่งขาเต่าทั้ง 4 ขา 3 ดวงตรงกลางหลังเต่าเรียกว่าดาวไถ ดาวสว่างสีแดงตรงขาหน้าซ้ายของเต่าชื่อดาวปีเทลจุส เป็นดาวฤกษ์สว่างมากเป็นที่ 2 ในกลุ่มดาวฤกษ์ดวงสว่างที่สุดในกลุ่มชื่อ ไรเจล อยู่ ณ ตำแหน่งขาหลังขวาของเต่า ถ้าดูให้เป็นรูปนายพรานต้องให้บริเวณขาเต่าด้านหน้าเป็นไหล่นายพราน ส่วนขาหลังของเต่าเป็นหัวเข่าของนายพราน กลางกลุ่มดาวนายพรานขึ้นตรงจุดทิศตะวันออกพอดี และตกตรงจุดทิศตะวันตกพอดี เมื่ออยู่สูงสุดจะอยู่ทางทิศใต้ของจุดเหนือศีรษะเล็กน้อย
กลุ่มดาวเด่นด้านซ้ายมือของกลุ่มดาวนายพรานที่มีดาวสว่างมากดวงหนึ่งคือกลุ่มดาวสุนัขเล็กดาวสว่างมากในกลุ่มนี้ชื่อดาวโปรซิออน ขึ้นใกล้จุดทิศตะวันออก
ดาวฤกษ์สว่างมาก 3 ดวงคือ ซีรีอุส โปรซิออน และปีเทลจุส เรียงกันเป็นรูป  เรียกว่า  หน้าหนาว เพราะเห็นตลอดคืนหน้าหนาว และมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  แห่งการนำทาง เพราะเป็นดาวเด่นที่นักบินอวกาศและยานอวกาศใช้เป็นดาวอ้างอิงในการเคลื่อนที่ในอวกาศ
กลุ่มดาวเด่นมากกลุ่มหนึ่งที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายทั่วโลกคือ กลุ่มดาวจระเข้ ซึ่งสากลเรียกว่า กลุ่มดาวหมีใหญ่ เป็นกลุ่มดาวที่อยู่ใกล้ขั้วฟ้าเหนือโดยอยู่ห่างจากขั้วฟ้าเหนือประมาณ 30 องศา ประกอบด้วยดาว 7 ดวงเรียงเป็นรูปคล้ายกระบวยตักน้ำ จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ดาวกระบวยใหญ่ ดาว 4 ดวงแรกเรียงเป็นตัวกระบวยและ 3 ดวงสุดท้ายเป็นด้ามกระบวย ตำแหน่งขึ้นอยู่ทางตะวันออกเฉียงไปทางเหนือเกือบ 60 องศา ดาวดวงที่ 1 และ 2 เรียกว่าดาวชี้ เพราะถ้าเล็งจากดวงที่ 2 ไปทางดวงที่ 1 แล้วต่อเลยออกไปจะผ่านเฉียดดาวเหนือ เมื่อดาวทั้ง 2 ดวงขึ้นไปสูงสุด เส้นที่ผ่านดาวดวงที่ 2 ไปทางดาวดวงที่ 1 จะเล็งไปที่จุดขอบฟ้าทิศเหนือ ประเทศในซีกโลกใต้ที่มองเห็นกลุ่มดาวหมีใหญ่ จึงใช้กลุ่มดาวหมีใหญ่หาทิศได้โดยไม่ต้องพึ่งดาวเหนือ
ดาวฤกษ์สว่างมาก ๆ นอกจากดาวที่กล่าวมาแล้ว ยังมีดาว ดวงแก้ว หรือ อาร์ดตุรุส ในกลุ่มดาวคนเลี้ยงสัตว์ ดาวรวงข้าวหรือสไปก้าในกลุ่มดาวหญิงสาว ดาวคะโนปุส ในกลุ่มดาวกระดูกงูเรือ ซึ่งสว่างเป็นที่ 2 รองจากดาวซีรีอุส ดาวคาเพลลา เป็นดาวสว่างมากดวงหนึ่งในกลุ่มดาวสารถีซึ่งอยู่ทางเหนือ ในขณะที่ดาวเต่าอยู่สูงมากบนฟ้า ให้เราต่อเส้นจากดาวคาโนปัสผ่านดาวซีรีอุส ผ่านดาวบีเทลจุส แล้วเลยไปดาวคาเพลลา เส้นจะผ่านดาวเหนือ นับว่าเป็นวิธีการหาดาวเหนือวิธีหนึ่งโดยอาศัยดาวฤกษ์สว่างมาก ๆ 4 ดวง
ในกลุ่มดาวจักรราศีมีดาวฤกษ์สว่างมากหลายดวง นอกจากดาวรวงข้าวเป็นดาวสว่างมากในกลุ่มดาวหญิงสาวแล้ว ยังมีดาว หัวใจสิงโต ในกลุ่มดาวสิงโต ดาวโรหิณีหรืออัลติบะแรน หรือผู้ติดตามในกลุ่มดาววัว ดาวคาสเตอร์และดาวพอลลักซ์ในกลุ่มดาวคนคู่ ดาวปาริชาตสีแดงในกลุ่มดาวแมงป่อง
ยังมีดาวสว่างมากอีก 3 ดวงเรียงเป็นรูป  หน้าร้อน ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับ  หน้าหนาว ดาว 3 ดวง ได้แก่ ดาววีก้า ในกลุ่มดาวพิณ ดาวตานกอินทรีย์ ในกลุ่มดาวนกอินทรี และดาวหางหงส์ ในกลุ่มดาวหงส์  หน้าร้อนเป็น  แห่งการนำทางอีกแห่งหนึ่ง

ขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูลจาก

http://other04.exteen.com/20071112/entry-1

 

 

Coolดาราจักร เนบิวลา กระจุกดาวฤกษ์

 

ที่มาของรูปภาพ

http://www.marinerthai.com/sara/pics/Star010.jpg


           ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ทั้งหลายบนฟ้ารวมกันอยู่ในระบบที่ใหญ่ขึ้นคล้ายเป็นเมืองของดาวฤกษ์เรียกว่า ดาราจักร หรือ กาแลกซี และได้ชื่อว่าเป็นกาแลกซีของเรา หรือกาแลกซีทางช้างเผือก เพราะดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ในดาราจักรของเราอยู่ในแนวทางช้างเผือก นักดาราศาสตร์คาดคะเนได้ว่ามีดาวฤกษ์ประมาณแสนล้านดวงอยู่ในดาราจักรของเรา แต่ดาวฤกษ์ที่เรามองเห็นบนฟ้ามีจำนวนเป็นพันดวงเท่านั้น ดาราจักรจึงมีองค์ประกอบสำคัญเป็นดาวฤกษ์ซึ่งมีขนาด อุณหภูมิและอายุต่าง ๆ กัน ที่ว่างระหว่างดาวฤกษ์ไม่ว่างเปล่า บางบริเวณมีก๊าซและฝุ่นรวมตัวกันปรากฏฝ้า ๆ มัว ๆ ซึ่งภาษาละตินเรียกว่า เนบิวลา ก๊าซและฝุ่นเหล่านี้คือต้นกำเนิดของดาวฤกษ์ เพราะแรงโน้มถ่วงจะช่วยให้ฝุ่นและก๊าซยึดเหนี่ยวกันรวมกันมากขึ้นจนทำให้ใจกลางมีอุณหภูมิสูงมากพอที่จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ ไฮโดรเจนหลอมรวมกันเป็นฮีเลียม คล้ายใจกลางดวงอาทิตย์ และนั่นคือการเกิดดาวฤกษ์ดวงใหม่
ดาวฤกษ์บางดวงมีขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์มาก ดาวฤกษ์ขนาดใหญ่เหล่านี้จะใช้เชื้อเพลิงอย่างรวดเร็วทำให้ดาวมีวิวัฒนาการเร็วกว่าดาวขนาดเล็ก ดาวที่มีขนาดใหญ่ทั้งหลายจะขยายตัวจนแรงโน้มถ่วงไม่อาจเอาชนะแรงดันจากภายในได้ ผลก็คือดาวระเบิดกลายเป็นโนวาหรือซูเปอร์โนวา นั่นคือ ดาวระเบิดจะสาดกระจายก๊าซรอบนอกออกสู่อวกาศ ในขณะที่แกนกลางของดาวจะยุบตัวกลายเป็นดาวนิวตรอน หรือหลุมดำ ส่วนที่แผ่กระจายออกสู่อวกาศกลายเป็นเนบิวลารุ่นใหม่ ดาวฤกษ์จึงทำหน้าที่เป็นผู้ผลิตธาตุต่าง ๆ ซึ่งจะแผ่กระจายออกไปในรูปของเนบิวลา และเนบิวลาก็เป็นผู้ก่อกำเนิดของดาวฤกษ์รุ่นหลัง ๆ
เนบิวลาที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าอยู่ในกลุ่มดาวนายพราน เนบิวลาขนาดใหญ่จะก่อเกิดเป็นดาวฤกษ์ได้จำนวนมาก ดาวฤกษ์จำนวนมากที่มีอายุใกล้เคียงกันและอยู่ใกล้กันเรียกว่า กระจุกดาวฤกษ์ เช่นกระจุกดาวลูกไก่ในกลุ่มดาววัว เป็นต้น กระจุกดาวลูกไก่อยู่ใกล้แนวทางช้างเผือก จึงเรียกว่า กระจุกดาวกาแล็คติกและเป็นกระจุกดาวเปิด มีกระจุกดาวอีกประเภทหนึ่งที่อยู่ห่างจากแนวทางช้างเผือก และประกอบด้วยดาวฤกษ์จำนวนมากเรียกว่า กระจุกดาวทรงกลม เช่นกระจุกดาวทรงกลมเอ็ม 13 ในกลุ่มดาวเฮอร์คิวลิส ดาวฤกษ์ เนบิวลา กระจุกดาวฤกษ์ประกอบกันขึ้นเป็นดาราจักรหรือกาแลกซีหลาย ๆ กาแลกซีรวมกันเรียกว่า เอกภพ

ขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูลจาก

http://blog.eduzones.com/offy/3857

 

Kissบิ๊กแบง

ที่มาของรูปภาพ

http://farm1.static.flickr.com/40/82389486_c91c210ed8_o.gif


               บิ๊กแบง หรือการระเบิดใหญ่คือจุดเริ่มต้นของเวลาและเอกภพ ณ จุดเริ่มต้นของเวลา สสารอยู่ในรูปของพลังงาน เพราะฉะนั้นอุณหภูมิใกล้จุดเริ่มต้นจึงสูงมาก
1 วินาทีหลังบิ๊กแบง อุณหภูมิจะลดลงเป็นประมาณหนึ่งหมื่นล้านองศาหรือประมาณหนึ่งพันเท่าของอุณหภูมิใจกลางดวงอาทิตย์ สถานที่ซึ่งมีอุณหภูมิสูงขนาดนี้ คือใจกลางของระเบิดไฮโดรเจน
วินาทีหลังการระเบิดใหญ่เอกภพมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโฟตอน อิเล็กตรอน และนิวตริโน (อนุภาคที่เบามากที่มีผลกระทบเฉพาะแรงอ่อนและแรงโน้มถ่วง) รวมทั้งปฏิอนุภาคทั้งสามและโปรตอนกับนิวตรอนอีกจำนวนหนึ่ง
ขณะที่เอกภพขยายตัวต่อไป อุณหภูมิลดต่ำลง อัตราการผลิตคู่ของอิเล็คตรอน-แอนตี้อิเล็กตรอนจากการชนกันจะลดต่ำกว่าอัตราการทำลายโดยการรวมตัว ดังนั้นอิเล็กตรอนและแอนตี้อิเล็กตรอนส่วนมากจะรวมตัวได้โฟตอนออกมามากขึ้นเหลืออิเล็กตรอนไว้จำนวนน้อยเท่านั้น แต่นิวตริโนและแอนตี้นิวตริโนจะไม่รวมกัน เพราะอนุภาคทั้งสองมีปฏิกิริยาต่อกัน และมีปฏิกิริยากับอนุภาคอื่น ๆ อย่างอ่อน ๆ มาก ดังนั้นจึงยังคงเหลืออยู่จนทุกวันนี้ ถ้าเราตรวจพบนิวตริโน-แอนตี้นิวตริโนได้ ก็จะเป็นการพิสูจน์เอกภพยุคต้น ๆ ที่ดีมาก บางทีนิวตริโนอาจจะเป็น “วัตถุมืด” ซึ่งมีแรงโน้มถ่วงเพียงพอที่จะทำให้เอกภพหยุดขยายตัวแล้วหดตัวลงอีกครั้งหนึ่ง
ประมาณ 100 วินาที หลังบิ๊กแบง อุณหภูมิจะลดลงเป็นหนึ่งพันล้านองศา หรือเท่ากับอุณหภูมิภายในดาวฤกษ์ร้อนที่สุด ณ อุณหภูมินี้โปรตอนและนิวตรอนจะไม่มีพลังงานมากพอที่จะหลุดพ้นจากแรงดึงดูดแบบนิวเคลียร์ที่รุนแรงได้ จึงเริ่มยึดกันกลายเป็นนิวเคลียสดิวทีเรียมซึ่งประกอบด้วยโปรตอน 1 ตัว และนิวตรอน 1 ตัว นิวเคลียสของดิวทีเรียมอาจรวมกับโปรตอนและนิวตรอนตัวอื่น ๆ ต่อไป กลายเป็นนิวเคลียสของฮีเลียม ซึ่งประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนอย่างละ 2 ตัว นอกจากนี้ยังเกิดธาตุหนักขึ้นอีก 2 ธาตุคือ ลิเทียม และ เบอริลเลียม เราสามารถคำนวณตามโมเดลบิ๊กแบงได้ว่า ประมาณหนึ่งในสี่ของโปรตอนและนิวตรอน จะกลายเป็นฮีเลียมและไฮโดรเจนหนัก (ดิวทีเรียม) กับธาตุอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง (น้อยมาก) นิวตรอนที่เหลือจะสลายตัวกลายเป็นโปรตรอน ซึ่งก็คือนิวเคลียสของอะตอมไฮโดรเจน นั่นเอง
ภายในเพียง 2-3 ชั่วโมง หลังการระเบิดใหญ่ การผลิตฮีเลียมและธาตุอื่น ๆ จะหยุดลง หลังจากนั้นเอกภพจะขยายตัวโดยไม่มีอะไรเกิดขึ้นมาก เป็นเวลาล้านปี เมื่ออุณหภูมิลดลงเป็น 2-3 พันองศา และอิเล็กตรอนกับนิวเคลียสทั้งหลายมีพลังงานไม่มากพอที่จะหลุดพ้นจากแรงดึงดูดแม่เหล็กไฟฟ้าจึงยึดเหนี่ยวกันกลายเป็นอะตอม ของธาตุต่าง ๆ เอกภพจะขยายตัวต่อไปอีก และเย็นตัวลงด้วย แต่สำหรับบริเวณที่มีความหนาแน่นมากกว่าส่วนเฉลี่ย การขยายตัวจะช้าลงโดยแรงโน้มถ่วงจากภายนอกจะทำให้ส่วนที่กำลังยุบตัวหมุนเล็กน้อย เมื่อบริเวณที่ยุบตัวลงมีขนาดเล็กลง การหมุนจะเร็วขึ้นเหมือนกับนักเล่นสเกตน้ำแข็งจะหมุนตัวเร็วขึ้นถ้าหดแขนเข้าหาตัว ในที่สุดก็จะหมุนเร็วจนทำให้เกิดความสมดุลกับแรงโน้มถ่วง นี่คือกำเนิดของดาราจักร ที่มีรูปร่างเหมือนจานที่กำลังหมุน บริเวณอื่นซึ่งไม่หมุนจะกลายเป็นดาราจักรแบบรูปไข่
เมื่อเวลาผ่านไป ก๊าซไฮโดรเจนและฮีเลียม ภายในดาราจักรจะแยกกันเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มจะหดตัว เพราะ แรงโน้มถ่วง ขณะหดตัวลงอะตอมของก๊าซจะชนกันทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นจนสูงมากพอที่จะทำให้เกิด ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ ซึ่งเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ความร้อนที่เกิดขึ้นทำให้มีความดันสูง จนต้านแรงโน้มถ่วงไว้ได้ วัตถุก็จะอยู่ในภาวะสมดุลเช่นนี้เป็นเวลานานเรียกว่า ดาวฤกษ์ อย่างเช่น ดวงอาทิตย์ของเรา ซึ่งเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม และแผ่รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ ความร้อนและแสงสว่าง เป็นต้น
วิวัฒนาการของดาวฤกษ์เป็นไปตามขนาด ดาวฤกษ์ที่โตมากมวลสารมาก จำเป็นต้องมีอุณหภูมิภายในสูงกว่า เพื่อทำให้เกิดความดันที่สามารถต้านแรงโน้มถ่วงที่สูงกว่าได้ ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์จะดำเนินไป อย่างรวดเร็ว จนทำให้ใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนหมดในเวลาอันสั้นเพียงร้อยล้านปี หลังจากนั้นดาวจะหดตัวลงเล็กน้อย และขณะที่อุณหภูมิสูงขึ้นต่อไปอีก ก็จะเป็นจังหวะที่ฮีเลียมหลอมรวมกัน เป็นธาตุที่หนักขึ้น เช่น คาร์บอน หรือออกซิเจน
ดาวขนาดใหญ่มาก ๆ จะมีใจกลางที่ยุบตัวลง เข้าสู่สภาวะความหนาแน่นสูงมาก เช่น ดาวนิวตรอน หรือหลุมดำ ในขณะที่ส่วนภายนอกของดาวระเบิดอย่างรุนแรง เรียกว่า ซูเปอร์โนวา ซึ่งสว่างกว่าดาวทั้งหลายใน ดาราจักรนั้น ๆ ธาตุหนักบางธาตุที่เกิดขึ้นในช่วงท้ายของชีวิตดาวฤกษ์จะถูกสาดกระจายออกสู่อวกาศ ในดาราจักร กลายเป็นแหล่งกำเนิดดาวฤกษ์รุ่นใหม่ต่อไป ดวงอาทิตย์ของเรามีธาตุหนักที่เกิดในลักษณะนี้ 2% ทั้งนี้เพราะดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์รุ่นที่ 2 หรือรุ่นที่ 3 เกิดเมื่อ 5 พันล้านปีมาแล้ว จากเนบิวลาที่หมุนวนอันเป็นซากของซูเปอร์โนวา ก๊าซส่วนใหญ่หลอมตัวกันกลายเป็นดาวเคราะห์
ระยะเริ่มแรกโลกร้อนมากและไม่มีบรรยากาศ เมื่อนานเข้าจึงเย็นตัวลง และเกิดบรรยากาศที่มาจากก๊าซในก้อนหิน บรรยากาศดั้งเดิมของโลกไม่เหมือนในปัจจุบัน ไม่มีออกซิเจน มีแต่พวกที่เป็นพิษต่อชีวิตของมนุษย์ เช่น ไฮโดรเจนซัลไฟด์ อย่างไรก็ตามยังมีรูปแบบของสิ่งมีชีวิตโบราณ ซึ่งอยู่ภายใต้สภาวะที่เต็มไปด้วยก๊าซพิษ เป็นที่เชื่อกันว่าชีวิตแรกเกิดในทะเล อาจเกิดจากการรวมตัวของ อะตอมเล็ก ๆ เป็นโครงสร้างใหญ่ เรียกว่า โมเลกุลยักษ์ ซึ่งสามารถดึงเอาอะตอมอื่น ๆ ในทะเลให้รวมกันเป็นโมเลกุลยักษ์มากขึ้น เพราะฉะนั้นจึงมีโมเลกุลชีวิตเช่นนี้เกิดขึ้นทวีคูณอย่างรวดเร็ว ชีวิตแรก ๆ บริโภคสารต่าง ๆ รวมทั้งซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แล้วคายออกซิเจนออกมา สิ่งนี้เปลี่ยนบรรยากาศทีละน้อย จนเป็นอย่างที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งช่วยให้เกิดสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างซับซ้อนขึ้น เช่น ปลา สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และเผ่าพันธุ์ต่าง ๆ ของมนุษย์
ดังนั้น มนุษย์จึงมีองค์ประกอบที่เป็นธาตุต่าง ๆ ในร่างกาย ล้วนมีต้นกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น เราจึงมาจากดวงดาว โดยเฉพาะดาวฤกษ์รุ่นหลัง ๆ ที่มีธาตุหนักเพิ่มขึ้นแล้ว

ขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูลจาก

http://www.ipst.ac.th/science/astro/Astro11.pdf

รูปภาพของ ssspoonsak

ดีทีเดียว อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 484 คน กำลังออนไลน์