• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0f449031f2403e8044ae1dffc7f90653' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong> ประวัติปิงปอง</strong>\n</p>\n<p>\nเท่าที่มีหลักฐานบันทึกพอให้ค้นคว้า  ทำให้เราได้ทราบว่ากีฬาเทเบิลเทนนิสได้เริ่มขึ้นในประเทศอังกฤษ  ในปี ค.ศ. 1890  ในครั้งนั้นอุปกรณ์ที่ใช้เล่นประกอบด้วยไม้หนังสัตว์ลักษณะคล้ายกับไม้เทนนิสในปัจจุบัน แทนที่จะขึงด้วยเส้นเอ็นก็ใช้แผ่นหนังสัตว์หุ้มแทน  ลูกที่ใช้ตีเป็นลูกเซลลูลอยด์   เวลาตีกระทบถูกพื้นโต๊ะและไม้ก็จะเกิดเสียง “ปิก – ป๊อก”  ดังนั้น กีฬานี้จึงถูกเรียกตามเสียงที่ได้ยินว่า “ปิงปอง” (pingpong)  ต่อมาได้มีวิวัฒนาการขึ้นโดยไม้หนังสัตว์ได้ถูกเปลี่ยนเป็นแผ่นไม้ซึ่งได้เริ่มเล่นแพร่หลายในกลุ่มประเทศยุโรปก่อนวิธีการเล่นในสมัยยุโรปตอนต้นนี้เป็นการเล่นแบบยัน (Blocking) และแบบดันกัน (Pushing)  ซึ่งต่อมได้พัฒนามาเป็นการเล่นแบบ BLOCKING  และ  CHOP การเล่นลูกตัด  ซึ่งวิธีนี้เองเป็นวิธีการเล่นที่ส่วนใหญ่นิยมกันมากในยุโรป  และแพร่หลายมากในประเทศต่าง ๆ ทั่วยุโรป  การจับไม้ก็มีการจับอยู่ 2 ลักษณะเช่นเดียวกัน  คือ จับไม้แบบการจับมือ (SHACK  HAND) ซึ่งเรียกกันว่า “จับไม้แบบยุโรป”  นั่นเอง<br />\nในปี ค.ศ. 1900  (พ.ศ. 2443)  เริ่มปรากฏว่ามีไม้ปิงปองที่ติดยางเม็ดเข้ามาใช้เล่น  ดังนั้น วิธีการเล่นแบบรุกหรือบุกโจมตี (ATTACK  หรือ OFFENSIVE)  เริ่มมีบทบาทมากขึ้นและยุคนี้จึงเป็นยุคของ นายวิคเตอร์  บาร์น่า  (VICTOR  BARNA)   ซึ่งเป็นชาวฮังการีได้ตำแหน่งแชมเปี้ยนโลกประเภททีมรวม  7 ครั้ง  และประเภทชายเดี่ยว  5 ครั้ง ในปี ค.ศ. 1929 – 1931 ยกเว้นปี  1931 ที่ได้ตำแหน่งรองเท่านั้น   ในยุคนี้อุปกรณ์การเล่น  โดยเฉพาะไม้มีลักษณะคล้าย ๆ กันกับไม้ในปัจจุบัน วิธีการเล่นก็เช่นเดียวกัน  คือมีทั้งการเล่นรุก  (ATTACK)  และการเล่นรับ (DEFENSIVE)  ทั้งด้านหน้ามือ  (FOREHAND)  และด้านหลังมือ (BACKHAND)  การจับไม้ก็ใช้การจับแบบ SHAKE HAND  เป็นหลัก  ดังนั้นเมื่อส่วนใหญ่จับไม้แบบยุโรปแนวโน้มการจับไม้แบบ PENHOLDER  ซึ่งเปลี่ยนแปลงไป  โดยมีน้อยมากในยุโรปถือว่าเป็นศูนย์รวมของกีฬาปิงปองของโลกอย่างแท้จริง<br />\nในปี ค.ศ. 1922  ได้มีบริษัทค้าเครื่องกีฬา ไปจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าว่า “PINGPONG” เป็น “TABLE-TENNIS”  เพราะไม่สามารถใช้ชื่อที่เขาจดทะเบียนไว้ประการหนึ่ง และเพื่อไม่ใช่เป็นการช่วยเหลือในด้านการโฆษณาสินค้าอีกประการหนึ่ง  แล้วในปี ค.ศ.  1926  (พ.ศ. 2469) จึงได้มีการประชุมและก่อตั้งสหพันธ์เทเบิลเทนนิสนานาชาติ (INTERNATIONAL TABLE-TENNIS  FEDERATIONITTF)  ขึ้นที่กรุงลอนดอน ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1926 ภายหลังจากที่ได้มีการปรึกษาหารือในขั้นต้น โดย DR. GEORE LEHMEN  ดร.เกิธ  เลชมัน)  แห่งประเทศเยอรมัน ในกรุงเบอร์ลินในเดือนมกราคม  ค.ศ. 1926  ในปี้นี้เองการแข่งขันเทเบิลเทนนิสแห่งโลกครั้งที่ 1 ก็ได้เริ่มขึ้นพร้อมกับการก่อตั้งสหพันธฯ  โดยมีนายอีวอร์  มองตากู (MR. IVOR   MONTAGO) เป็นประธานของสหพันธ์เทเบิลเทนนิสนานาชาติคนแรก  ในปีช่วงปี ค.ศ. 1940 ยังมีวิธีการเล่นและการจับไม้พอจำแนกออกได้เป็น  3  ลักษณะเด่น คือ<br />\n1.การจับไม้  เป็นการจับไม้แบบจับมือ (SHAKE HAND GRIP)<br />\n2.ไม้จะต้องติดยางเม็ด<br />\n3.วิธีการเล่นเป็นวิธีการเล่นขั้นพื้นฐาน  คือ  การรับเป็นส่วนใหญ่  (OEFENSIVE-PLAY) ยุคนี้ยังจัดได้ว่าเป็น “ยุคของยุโรป” อีกเช่นเคย<br />\nในปี  ค.ศ. 1950 จึงเป็นยุคของญี่ปุ่นซึ่งมีลักษณะพิเศษดังนี้  คือ<br />\n1.การตบลูกทางด้าน FOREHAND  แม่นยำและหนักหน่วง<br />\n2.การใช้จังหวะเต้นของปลายเท้า (FOOT  WORK)<br />\nในปี ค.ศ. 1952 ญี่ปุ่นได้เข้ามาร่วมการแข่งขันเทเบิลเทนนิสโลกเป็นครั้งแรก  ที่กรุง     บอมเบย์ประเทศอินเดีย  และในปีต่อมาคือ ค.ศ.  1953 สาธารณรัฐประชาชนจีน  จึงได้เข้าร่วมแข่งขันครั้งแรกที่กรุงบูคาเรสท์   ประเทศโรมาเนีย จึงนับได้ว่ากีฬาปิงปองเริ่มเป็นกีฬาระดับโลกที่แท้จริงในปีนี้นั่นเอง\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Arial\"><span style=\"font-size: x-small\"><b><span lang=\"TH\"><img width=\"218\" src=\"http://image.konmun.com/images/5463flor1.jpg\" alt=\"ประวัติปิงปอง\" height=\"199\" style=\"width: 246px; height: 226px\" /></span></b></span></span>\n</p>\n<p>\nในยุคนี้ญี่ปุ่นใช้การจับไม้แบบปากกา  ใช้วิธีการเล่นแบบรุกโจมตีอย่างหนักหน่วงและรุนแรงโดยอาศัยอุปกรณ์เข้าช่วย  เป็นยางที่สอดไส้ด้วยฟองน้ำ  เพิ่มเติมจากยางชนิดเม็ดเติมที่ใช้กันทั่วโลก<br />\nการเล่นรุกของยุโรปใช้ความแม่นยำและใช้การตีวงสวิงที่สั้น ๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้บ่า  ข้อศอก และข้อมือ  ซึ่งเมื่อเทียบกับญี่ปุ่น  ซึ่งใช้ปลายเท้าเป็นศูนย์กลางในการตีลูกแบบรุก เป็นการเล่นแบบ  “รุกอย่างต่อเนื่อง”  ซึ่งวิธีนี้สามารถเอาชนะวิธีการเล่นแบบยุโรปได้การเล่นลูกโจมตีเช่นนี้เป็นที่เกรงกลัวของยุโรปมาก    เปรียบเสมือนการโจมตีแบบ “KAMIKAZE” คามิคาเซ่  (การบินโจมตีของฝูงบินหน่วยกล้าตายญี่ปุ่น)  ซึ่งเป็นที่กล่าวขวัญกันว่า  การเล่นแบบนี้เป็นการเล่นที่เสี่ยงและกล้าเกินไป  จนดูแล้วรู้สึกขาดความรอบคอบอยู่มาก  แต่ผู้เล่นญี่ปุ่นก็สามารถเล่นวิธีนี้ได้ดี  โดยอาศัยความสุขุมและ  FOOT WORK  ที่คล่องแคล่วจนสามารถครองตำแหน่งชนะเลิศได้  7 ครั้ง โดยมี  5 ครั้งติดต่อกัน  ตั้งแต่ปี  1953-1959 <br />\nในปี ค.ศ. 1960 เริ่มเป็นยุคของจีน  ซึ่งสามารถเอาชนะญี่ปุ่นได้   โดยการวิธีการเล่นโจมตีอย่างรวดเร็วผสมผสานกับการป้องกัน  ในปี ค.ศ. 1961  ได้จัดการแข่งขันเทเบิลเทนนิสชิงชนะเลิศครั้งที่ 26  ขึ้นที่ กรุงปักกิ่ง  ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน  ครั้งนี้จึงชนะญี่ปุ่นทั้งนี้  เพราะญี่ปุ่นยังใช้นักกีฬาที่มีอายุมาก  ส่วนจีนได้ใช้นักกีฬารุ่นหนุ่ม ซึ่งสามารถเล่นได้อย่างรวดเร็วปานสายฟ้าแลบทั้งรุกและรับ  (ATTACK  &amp; BLOCK) การจับไม้ก็เป็นการจับแบบปากกา<br />\nยุโรปเริ่มฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งโดยนำวิธีการเล่นของชาวเอเชียมาปรับปรุง  นำโดยนักกีฬาชาวสวีเดนและประเทศอื่น ๆ  ซึ่งมีหัวหน้าที่ไม่มัวมาแต่คิดจะรักษาหน้าของตัวเองว่าต้องไปเลียนแบบชาติอื่น ๆ  ดังนั้น  ชาวยุโรปจึงเริ่มชนะเลิศชายคู่ในปี 1967 และ 1969  ซึ่งเป็นนักกีฬาจากสวีเดน   ในช่วงนั้นการเล่นแบบรุกยังไม่เป็นที่แพร่หลายทั้งนี้เพราะวิธีการเล่นแบบรับ  (DEFENSIVE)   ได้ฝังรากลงไปในยุโรปจนมีการพูดกันว่าการที่นักกีฬายุโรปเลียนแบบการเล่นลูกยาวแบบญี่ปุ่นนั้น  คงจะไม่มีทางสำเร็จ แต่การที่นักกีฬาของสวีเดนได้เปลี่ยนวิธีการเล่นตามแบบญี่ปุ่นนั้น  มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเยาวชนรุ่นหลังของยุโรปเป็นอย่างมาก  และในปี ค.ศ. 1970 จึงเป็นปีแห่งการประจันหน้ากันระหว่างผู้เล่นชาวยุโรปและผู้เล่นชาวเอเชีย<br />\nระยะเวลาได้ไปประมาณ  10 ปี  ตั้งแต่ปี  1960-1970  นักกีฬาของญี่ปุ่นเริ่มแก่ตัวลงในขณะที่นักกีฬาใหม่ของยุโรปเริ่มเก่งกล้าขึ้น  และสามารถคว้าตำแหน่งชนะเลิศชายเดี่ยวของโลกไปครองครอบได้สำเร็จ  ในการแข่งขันเทเบิลเทนนิสเพื่อความชนะเลิศแห่งโลก  ครั้งที่ 31 ณ กรุงนาโกน่า  ประเทศญี่ปุ่น  ในปี ค.ศ. 1971  โดยนักเทเบิลเทนนิสชาวสวีเดนชื่อสเตลัง  เบงค์สัน  อายุ 17 ปี  เป็นผู้เปิดศักราชให้กับชาวยุโรป  ภายหลังจากที่นักกีฬาเทเบิลเทนนิสชาวยุโรปตกอันดับไปเป็นเวลาถึง 18 ปี  ในปี ค.ศ.  1973  ทีมของสวีเดนก็คว้าตำแหน่งแชมเปี้ยนโลกได้  จึงทำให้ยุโรปต่างมีความมั่นใจในวิธีการเล่นที่ตัวเองได้เลียนแบบและปรับปรุง ดังนั้นนักกีฬายุโรปและนักกีฬาของเอเชียจึงเป็นคู่แข่งขันที่สำคัญในขณะที่นักกีฬาของกลุ่มชาติอาหรับและลาตินอเมริกา ก็เริ่มก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็ว   เริ่มมีการให้ความร่วมมือช่วยเหลือทางด้านเทคนิคซึ่งกันและกันการเล่นแบบตั้งรับซึ่งหมดความนิยมไปแล้วตั้งแต่ปี 1960  ก็เริ่มมีบทบาทมากขึ้น  โดยการใช้ความชำนาญในการเปลี่ยนหน้าไม้ในขณะเล่นลูก  หน้าไม้ซึ่งติดด้วยยางปิงปอง  มีความยาวของเม็ดยางยาวกว่าปกติ  การใช้ยาง ANTI-SPIN  เพื่อพยายามเปลี่ยนวิถีการหมุนและทิศทางของลูกเข้าช่วย  ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้นี้มีส่วนช่วยเป็นอย่างมากในขณะนี้ผู้เล่นเยาวชนต่าง ๆ  เหล่านี้จะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนากีฬาเทนนิสต่อไปในอนาคตได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด  และขณะนี้กีฬาเทนนิสก็ได้เป็นที่ยอมรับของคณะกรรมการโอลิมปิก  โดยเริ่มจัดให้มีการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกปี 1988  ที่กรุงโซล  ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี  เป็นครั้งแรก\n</p>\n<p>\n<br />\nอ้างอิงจาก <a href=\"http://www.konmun.com/Article/id4777.aspx\">http://www.konmun.com/Article/id4777.aspx</a>\n</p>\n', created = 1726824928, expire = 1726911328, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0f449031f2403e8044ae1dffc7f90653' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติปิงปอง

รูปภาพของ dsp5996

 ประวัติปิงปอง

เท่าที่มีหลักฐานบันทึกพอให้ค้นคว้า  ทำให้เราได้ทราบว่ากีฬาเทเบิลเทนนิสได้เริ่มขึ้นในประเทศอังกฤษ  ในปี ค.ศ. 1890  ในครั้งนั้นอุปกรณ์ที่ใช้เล่นประกอบด้วยไม้หนังสัตว์ลักษณะคล้ายกับไม้เทนนิสในปัจจุบัน แทนที่จะขึงด้วยเส้นเอ็นก็ใช้แผ่นหนังสัตว์หุ้มแทน  ลูกที่ใช้ตีเป็นลูกเซลลูลอยด์   เวลาตีกระทบถูกพื้นโต๊ะและไม้ก็จะเกิดเสียง “ปิก – ป๊อก”  ดังนั้น กีฬานี้จึงถูกเรียกตามเสียงที่ได้ยินว่า “ปิงปอง” (pingpong)  ต่อมาได้มีวิวัฒนาการขึ้นโดยไม้หนังสัตว์ได้ถูกเปลี่ยนเป็นแผ่นไม้ซึ่งได้เริ่มเล่นแพร่หลายในกลุ่มประเทศยุโรปก่อนวิธีการเล่นในสมัยยุโรปตอนต้นนี้เป็นการเล่นแบบยัน (Blocking) และแบบดันกัน (Pushing)  ซึ่งต่อมได้พัฒนามาเป็นการเล่นแบบ BLOCKING  และ  CHOP การเล่นลูกตัด  ซึ่งวิธีนี้เองเป็นวิธีการเล่นที่ส่วนใหญ่นิยมกันมากในยุโรป  และแพร่หลายมากในประเทศต่าง ๆ ทั่วยุโรป  การจับไม้ก็มีการจับอยู่ 2 ลักษณะเช่นเดียวกัน  คือ จับไม้แบบการจับมือ (SHACK  HAND) ซึ่งเรียกกันว่า “จับไม้แบบยุโรป”  นั่นเอง
ในปี ค.ศ. 1900  (พ.ศ. 2443)  เริ่มปรากฏว่ามีไม้ปิงปองที่ติดยางเม็ดเข้ามาใช้เล่น  ดังนั้น วิธีการเล่นแบบรุกหรือบุกโจมตี (ATTACK  หรือ OFFENSIVE)  เริ่มมีบทบาทมากขึ้นและยุคนี้จึงเป็นยุคของ นายวิคเตอร์  บาร์น่า  (VICTOR  BARNA)   ซึ่งเป็นชาวฮังการีได้ตำแหน่งแชมเปี้ยนโลกประเภททีมรวม  7 ครั้ง  และประเภทชายเดี่ยว  5 ครั้ง ในปี ค.ศ. 1929 – 1931 ยกเว้นปี  1931 ที่ได้ตำแหน่งรองเท่านั้น   ในยุคนี้อุปกรณ์การเล่น  โดยเฉพาะไม้มีลักษณะคล้าย ๆ กันกับไม้ในปัจจุบัน วิธีการเล่นก็เช่นเดียวกัน  คือมีทั้งการเล่นรุก  (ATTACK)  และการเล่นรับ (DEFENSIVE)  ทั้งด้านหน้ามือ  (FOREHAND)  และด้านหลังมือ (BACKHAND)  การจับไม้ก็ใช้การจับแบบ SHAKE HAND  เป็นหลัก  ดังนั้นเมื่อส่วนใหญ่จับไม้แบบยุโรปแนวโน้มการจับไม้แบบ PENHOLDER  ซึ่งเปลี่ยนแปลงไป  โดยมีน้อยมากในยุโรปถือว่าเป็นศูนย์รวมของกีฬาปิงปองของโลกอย่างแท้จริง
ในปี ค.ศ. 1922  ได้มีบริษัทค้าเครื่องกีฬา ไปจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าว่า “PINGPONG” เป็น “TABLE-TENNIS”  เพราะไม่สามารถใช้ชื่อที่เขาจดทะเบียนไว้ประการหนึ่ง และเพื่อไม่ใช่เป็นการช่วยเหลือในด้านการโฆษณาสินค้าอีกประการหนึ่ง  แล้วในปี ค.ศ.  1926  (พ.ศ. 2469) จึงได้มีการประชุมและก่อตั้งสหพันธ์เทเบิลเทนนิสนานาชาติ (INTERNATIONAL TABLE-TENNIS  FEDERATIONITTF)  ขึ้นที่กรุงลอนดอน ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1926 ภายหลังจากที่ได้มีการปรึกษาหารือในขั้นต้น โดย DR. GEORE LEHMEN  ดร.เกิธ  เลชมัน)  แห่งประเทศเยอรมัน ในกรุงเบอร์ลินในเดือนมกราคม  ค.ศ. 1926  ในปี้นี้เองการแข่งขันเทเบิลเทนนิสแห่งโลกครั้งที่ 1 ก็ได้เริ่มขึ้นพร้อมกับการก่อตั้งสหพันธฯ  โดยมีนายอีวอร์  มองตากู (MR. IVOR   MONTAGO) เป็นประธานของสหพันธ์เทเบิลเทนนิสนานาชาติคนแรก  ในปีช่วงปี ค.ศ. 1940 ยังมีวิธีการเล่นและการจับไม้พอจำแนกออกได้เป็น  3  ลักษณะเด่น คือ
1.การจับไม้  เป็นการจับไม้แบบจับมือ (SHAKE HAND GRIP)
2.ไม้จะต้องติดยางเม็ด
3.วิธีการเล่นเป็นวิธีการเล่นขั้นพื้นฐาน  คือ  การรับเป็นส่วนใหญ่  (OEFENSIVE-PLAY) ยุคนี้ยังจัดได้ว่าเป็น “ยุคของยุโรป” อีกเช่นเคย
ในปี  ค.ศ. 1950 จึงเป็นยุคของญี่ปุ่นซึ่งมีลักษณะพิเศษดังนี้  คือ
1.การตบลูกทางด้าน FOREHAND  แม่นยำและหนักหน่วง
2.การใช้จังหวะเต้นของปลายเท้า (FOOT  WORK)
ในปี ค.ศ. 1952 ญี่ปุ่นได้เข้ามาร่วมการแข่งขันเทเบิลเทนนิสโลกเป็นครั้งแรก  ที่กรุง     บอมเบย์ประเทศอินเดีย  และในปีต่อมาคือ ค.ศ.  1953 สาธารณรัฐประชาชนจีน  จึงได้เข้าร่วมแข่งขันครั้งแรกที่กรุงบูคาเรสท์   ประเทศโรมาเนีย จึงนับได้ว่ากีฬาปิงปองเริ่มเป็นกีฬาระดับโลกที่แท้จริงในปีนี้นั่นเอง

ประวัติปิงปอง

ในยุคนี้ญี่ปุ่นใช้การจับไม้แบบปากกา  ใช้วิธีการเล่นแบบรุกโจมตีอย่างหนักหน่วงและรุนแรงโดยอาศัยอุปกรณ์เข้าช่วย  เป็นยางที่สอดไส้ด้วยฟองน้ำ  เพิ่มเติมจากยางชนิดเม็ดเติมที่ใช้กันทั่วโลก
การเล่นรุกของยุโรปใช้ความแม่นยำและใช้การตีวงสวิงที่สั้น ๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้บ่า  ข้อศอก และข้อมือ  ซึ่งเมื่อเทียบกับญี่ปุ่น  ซึ่งใช้ปลายเท้าเป็นศูนย์กลางในการตีลูกแบบรุก เป็นการเล่นแบบ  “รุกอย่างต่อเนื่อง”  ซึ่งวิธีนี้สามารถเอาชนะวิธีการเล่นแบบยุโรปได้การเล่นลูกโจมตีเช่นนี้เป็นที่เกรงกลัวของยุโรปมาก    เปรียบเสมือนการโจมตีแบบ “KAMIKAZE” คามิคาเซ่  (การบินโจมตีของฝูงบินหน่วยกล้าตายญี่ปุ่น)  ซึ่งเป็นที่กล่าวขวัญกันว่า  การเล่นแบบนี้เป็นการเล่นที่เสี่ยงและกล้าเกินไป  จนดูแล้วรู้สึกขาดความรอบคอบอยู่มาก  แต่ผู้เล่นญี่ปุ่นก็สามารถเล่นวิธีนี้ได้ดี  โดยอาศัยความสุขุมและ  FOOT WORK  ที่คล่องแคล่วจนสามารถครองตำแหน่งชนะเลิศได้  7 ครั้ง โดยมี  5 ครั้งติดต่อกัน  ตั้งแต่ปี  1953-1959
ในปี ค.ศ. 1960 เริ่มเป็นยุคของจีน  ซึ่งสามารถเอาชนะญี่ปุ่นได้   โดยการวิธีการเล่นโจมตีอย่างรวดเร็วผสมผสานกับการป้องกัน  ในปี ค.ศ. 1961  ได้จัดการแข่งขันเทเบิลเทนนิสชิงชนะเลิศครั้งที่ 26  ขึ้นที่ กรุงปักกิ่ง  ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน  ครั้งนี้จึงชนะญี่ปุ่นทั้งนี้  เพราะญี่ปุ่นยังใช้นักกีฬาที่มีอายุมาก  ส่วนจีนได้ใช้นักกีฬารุ่นหนุ่ม ซึ่งสามารถเล่นได้อย่างรวดเร็วปานสายฟ้าแลบทั้งรุกและรับ  (ATTACK  & BLOCK) การจับไม้ก็เป็นการจับแบบปากกา
ยุโรปเริ่มฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งโดยนำวิธีการเล่นของชาวเอเชียมาปรับปรุง  นำโดยนักกีฬาชาวสวีเดนและประเทศอื่น ๆ  ซึ่งมีหัวหน้าที่ไม่มัวมาแต่คิดจะรักษาหน้าของตัวเองว่าต้องไปเลียนแบบชาติอื่น ๆ  ดังนั้น  ชาวยุโรปจึงเริ่มชนะเลิศชายคู่ในปี 1967 และ 1969  ซึ่งเป็นนักกีฬาจากสวีเดน   ในช่วงนั้นการเล่นแบบรุกยังไม่เป็นที่แพร่หลายทั้งนี้เพราะวิธีการเล่นแบบรับ  (DEFENSIVE)   ได้ฝังรากลงไปในยุโรปจนมีการพูดกันว่าการที่นักกีฬายุโรปเลียนแบบการเล่นลูกยาวแบบญี่ปุ่นนั้น  คงจะไม่มีทางสำเร็จ แต่การที่นักกีฬาของสวีเดนได้เปลี่ยนวิธีการเล่นตามแบบญี่ปุ่นนั้น  มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเยาวชนรุ่นหลังของยุโรปเป็นอย่างมาก  และในปี ค.ศ. 1970 จึงเป็นปีแห่งการประจันหน้ากันระหว่างผู้เล่นชาวยุโรปและผู้เล่นชาวเอเชีย
ระยะเวลาได้ไปประมาณ  10 ปี  ตั้งแต่ปี  1960-1970  นักกีฬาของญี่ปุ่นเริ่มแก่ตัวลงในขณะที่นักกีฬาใหม่ของยุโรปเริ่มเก่งกล้าขึ้น  และสามารถคว้าตำแหน่งชนะเลิศชายเดี่ยวของโลกไปครองครอบได้สำเร็จ  ในการแข่งขันเทเบิลเทนนิสเพื่อความชนะเลิศแห่งโลก  ครั้งที่ 31 ณ กรุงนาโกน่า  ประเทศญี่ปุ่น  ในปี ค.ศ. 1971  โดยนักเทเบิลเทนนิสชาวสวีเดนชื่อสเตลัง  เบงค์สัน  อายุ 17 ปี  เป็นผู้เปิดศักราชให้กับชาวยุโรป  ภายหลังจากที่นักกีฬาเทเบิลเทนนิสชาวยุโรปตกอันดับไปเป็นเวลาถึง 18 ปี  ในปี ค.ศ.  1973  ทีมของสวีเดนก็คว้าตำแหน่งแชมเปี้ยนโลกได้  จึงทำให้ยุโรปต่างมีความมั่นใจในวิธีการเล่นที่ตัวเองได้เลียนแบบและปรับปรุง ดังนั้นนักกีฬายุโรปและนักกีฬาของเอเชียจึงเป็นคู่แข่งขันที่สำคัญในขณะที่นักกีฬาของกลุ่มชาติอาหรับและลาตินอเมริกา ก็เริ่มก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็ว   เริ่มมีการให้ความร่วมมือช่วยเหลือทางด้านเทคนิคซึ่งกันและกันการเล่นแบบตั้งรับซึ่งหมดความนิยมไปแล้วตั้งแต่ปี 1960  ก็เริ่มมีบทบาทมากขึ้น  โดยการใช้ความชำนาญในการเปลี่ยนหน้าไม้ในขณะเล่นลูก  หน้าไม้ซึ่งติดด้วยยางปิงปอง  มีความยาวของเม็ดยางยาวกว่าปกติ  การใช้ยาง ANTI-SPIN  เพื่อพยายามเปลี่ยนวิถีการหมุนและทิศทางของลูกเข้าช่วย  ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้นี้มีส่วนช่วยเป็นอย่างมากในขณะนี้ผู้เล่นเยาวชนต่าง ๆ  เหล่านี้จะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนากีฬาเทนนิสต่อไปในอนาคตได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด  และขณะนี้กีฬาเทนนิสก็ได้เป็นที่ยอมรับของคณะกรรมการโอลิมปิก  โดยเริ่มจัดให้มีการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกปี 1988  ที่กรุงโซล  ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี  เป็นครั้งแรก


อ้างอิงจาก http://www.konmun.com/Article/id4777.aspx

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 562 คน กำลังออนไลน์