• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5f1f5072ae39e587a45ab7a271c713c3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n <strong>ประวัติรถจักรไอน้ำ &quot;การัตต์&quot;</strong>\n</p>\n<p>\nเมื่อปี พ.ศ. 2432 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำในเมืองไทย แต่การรถไฟมีความจำเป็นต้องหารถจักรไอน้ำที่เหมาะสมสำหรับลากจูงขบวนรถสินค้าที่มีน้ำหนักมาก ในทางสายตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในทางตอนลาดชันมากระยะทาง 55 กิโลเมตร ช่วงระหว่างแก่งคอยกับปากช่อง รถจักรไอน้ำที่เหมาะสมที่สุดในขณะนั้นคือแบบ &quot;การ์แรตต์&quot; ซึ่งเป็นรถจักรไอน้ำแฝดสองหัวมีเครื่องจักรทั้งหัวและท้าย เดินหน้าและถอยหลังได้ มีกำลังและความเร็วเท่ากัน แต่รถแบบนี้มีราคาสูงมาก จึงเกิดปัญหาที่จะซื้อมาในสภาพเศรษฐกิจเช่นนั้น <br />\nการตัดสินใจซื้อรถจักรไอน้ำแบบ &quot;การ์แรตต์ 2-8-2+2-8-2&quot; มาใช้ 6 คัน ในปี 2478 เป็นการตัดสินใจอย่างกล้าหาญของการรถไฟ เพราะในขณะนั้นเป็นรถจักรที่ใหญ่และทรงพลังที่สุดสำหรับใช้ในราง 1 เมตร แต่ก็มีราคาแพงที่สุดด้วย การตัดสินใจคิดถึงประโยชน์ส่วนตัวหรือผิดพลาด ย่อมเป็นผลร้ายอย่างยิ่ง เพราะหลังจากนั้นไม่กี่ปีก็เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว รัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย ยังให้การรถไฟสั่งซื้อรถจักรแบบการ์แรตต์แบบใหม่ที่ใหญ่และมีราคาแพงขึ้นมาเพิ่มอีก 2 คัน <br />\nรถจักรไอน้ำทั้ง 8 คันได้ใช้งานในการลากจูงรถสินค้าอย่างได้ผลดีอยู่หลายสิบปี จนกระทั่งถูกปลดระวางเมื่อรถไฟเข้าสู่ยุคใหม่ที่ใช้รถจักรดีเซลเมื่อเกือบ 30 ปี ก่อน รถจักรไอน้ำการ์แรตต์ที่เหลือคันสุดท้าย หมายเลข 457 ถูกลากไปซุกไว้ในพงไม้ย่านช่างกลบางซื่อ จนกระทั่งการรถไฟฯ ใช้นโยบายใหม่ &quot;จากอดีตที่ยิ่งใหญ่ สู่ยุครถไฟพัฒนา&quot; เกียรติภูมิของรถจักรไอน้ำสำคัญดันนี้จึงได้เป็นที่เปิดเผยตอนต้นปี 2533\n</p>\n<p>\n<img width=\"986\" src=\"http://www.trainsforthais.com/image/webboard/2609%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%95004.jpg\" height=\"674\" style=\"width: 310px; height: 263px\" />\n</p>\n<p>\nการรถไฟในยุคพัฒนาได้ลากรถจักรไอน้ำการ์แรตต์หมายเลข 457 ออกจากที่ซุกซ่อนมาทำความสะอาดที่ย่านรถไฟบางซื่อค้างเคียงรถจักรฮาโนแม็กรุ่นราวคราวเดียวกัน <br />\nชมรม &quot;เรารักรถไฟ&quot; ได้พบหลักฐานว่า การ์แรตต์แบบ 2-8-2+2-8-2 เป็นรถจักรไอน้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลก สำหรับราง 1 เมตรที่ใช้อยู่ในสมัย 60 ปีก่อน เป็นคันเดียวที่ยังเหลือในไทยและอาจเป็นในโลกด้วย <br />\nหลังจากที่นำไปตกแต่งซ่อมบำรุงภายนอกเพื่อให้เรียบร้อยสง่างามสมศักดิ์ศรีแล้ว การรถไฟฯ ให้นำรถจักรการ์แรตต์หมายเลข 457 ไปตั้งแสดงไว้ที่ &quot;อุทยานไอน้ำ&quot; ซึ่งจัดทำขึ้นในบริเวณสถานีรถไฟกาญจนบุรี <br />\nการรถไฟฯ ร่วมกับชมรม &quot;เรารักรถไฟ&quot; กำลังดำเนินการเพื่อให้อุทยานไอน้ำกาญจนบุรี เป็นจุดสนใจสำหรับนักท่องเที่ยว เพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดกาญจนบุรี โดยประสานงานอย่างใกล้ชิดกับทางราชการจังหวัด\n</p>\n<p>\nอ้างอิงจาก <a href=\"http://www.geocities.com/railsthai/karatt.htm\">http://www.geocities.com/railsthai/karatt.htm</a>\n</p>\n', created = 1726829486, expire = 1726915886, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5f1f5072ae39e587a45ab7a271c713c3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติรถจักรไอน้ำ "การัตต์"

รูปภาพของ dsp6120

 ประวัติรถจักรไอน้ำ "การัตต์"

เมื่อปี พ.ศ. 2432 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำในเมืองไทย แต่การรถไฟมีความจำเป็นต้องหารถจักรไอน้ำที่เหมาะสมสำหรับลากจูงขบวนรถสินค้าที่มีน้ำหนักมาก ในทางสายตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในทางตอนลาดชันมากระยะทาง 55 กิโลเมตร ช่วงระหว่างแก่งคอยกับปากช่อง รถจักรไอน้ำที่เหมาะสมที่สุดในขณะนั้นคือแบบ "การ์แรตต์" ซึ่งเป็นรถจักรไอน้ำแฝดสองหัวมีเครื่องจักรทั้งหัวและท้าย เดินหน้าและถอยหลังได้ มีกำลังและความเร็วเท่ากัน แต่รถแบบนี้มีราคาสูงมาก จึงเกิดปัญหาที่จะซื้อมาในสภาพเศรษฐกิจเช่นนั้น
การตัดสินใจซื้อรถจักรไอน้ำแบบ "การ์แรตต์ 2-8-2+2-8-2" มาใช้ 6 คัน ในปี 2478 เป็นการตัดสินใจอย่างกล้าหาญของการรถไฟ เพราะในขณะนั้นเป็นรถจักรที่ใหญ่และทรงพลังที่สุดสำหรับใช้ในราง 1 เมตร แต่ก็มีราคาแพงที่สุดด้วย การตัดสินใจคิดถึงประโยชน์ส่วนตัวหรือผิดพลาด ย่อมเป็นผลร้ายอย่างยิ่ง เพราะหลังจากนั้นไม่กี่ปีก็เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว รัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย ยังให้การรถไฟสั่งซื้อรถจักรแบบการ์แรตต์แบบใหม่ที่ใหญ่และมีราคาแพงขึ้นมาเพิ่มอีก 2 คัน
รถจักรไอน้ำทั้ง 8 คันได้ใช้งานในการลากจูงรถสินค้าอย่างได้ผลดีอยู่หลายสิบปี จนกระทั่งถูกปลดระวางเมื่อรถไฟเข้าสู่ยุคใหม่ที่ใช้รถจักรดีเซลเมื่อเกือบ 30 ปี ก่อน รถจักรไอน้ำการ์แรตต์ที่เหลือคันสุดท้าย หมายเลข 457 ถูกลากไปซุกไว้ในพงไม้ย่านช่างกลบางซื่อ จนกระทั่งการรถไฟฯ ใช้นโยบายใหม่ "จากอดีตที่ยิ่งใหญ่ สู่ยุครถไฟพัฒนา" เกียรติภูมิของรถจักรไอน้ำสำคัญดันนี้จึงได้เป็นที่เปิดเผยตอนต้นปี 2533

การรถไฟในยุคพัฒนาได้ลากรถจักรไอน้ำการ์แรตต์หมายเลข 457 ออกจากที่ซุกซ่อนมาทำความสะอาดที่ย่านรถไฟบางซื่อค้างเคียงรถจักรฮาโนแม็กรุ่นราวคราวเดียวกัน
ชมรม "เรารักรถไฟ" ได้พบหลักฐานว่า การ์แรตต์แบบ 2-8-2+2-8-2 เป็นรถจักรไอน้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลก สำหรับราง 1 เมตรที่ใช้อยู่ในสมัย 60 ปีก่อน เป็นคันเดียวที่ยังเหลือในไทยและอาจเป็นในโลกด้วย
หลังจากที่นำไปตกแต่งซ่อมบำรุงภายนอกเพื่อให้เรียบร้อยสง่างามสมศักดิ์ศรีแล้ว การรถไฟฯ ให้นำรถจักรการ์แรตต์หมายเลข 457 ไปตั้งแสดงไว้ที่ "อุทยานไอน้ำ" ซึ่งจัดทำขึ้นในบริเวณสถานีรถไฟกาญจนบุรี
การรถไฟฯ ร่วมกับชมรม "เรารักรถไฟ" กำลังดำเนินการเพื่อให้อุทยานไอน้ำกาญจนบุรี เป็นจุดสนใจสำหรับนักท่องเที่ยว เพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดกาญจนบุรี โดยประสานงานอย่างใกล้ชิดกับทางราชการจังหวัด

อ้างอิงจาก http://www.geocities.com/railsthai/karatt.htm

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 506 คน กำลังออนไลน์