• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b0e81665aaedbcf9325de7f36f890a76' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong>“ฝาแฝด (twins)”</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"470\" src=\"http://img.dailymail.co.uk/i/pix/2007/11_01/twinsDM0211_468x433.jpg\" height=\"437\" style=\"width: 210px; height: 191px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://img.dailymail.co.uk/i/pix/2007/11_01/twinsDM0211_468x433.jpg\">http://img.dailymail.co.uk/i/pix/2007/11_01/twinsDM0211_468x433.jpg</a>\n</p>\n<p>\n        เมื่อกล่าวถึงฝาแฝด เรามักจินตนาการถึงคนที่มีหน้าตาเหมือนๆกัน แต่ความจริงอาจไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป\n</p>\n<p>\n        สมัยก่อนเมื่อมีผู้ให้กำเนิดลูกแฝด บางชนเผ่าถือว่าเป็นเรื่องดีมากเชื่อว่าเด็กที่เกิดมาจะมีพลังเหนือธรรมชาติ (เพราะนานๆจะเกิดขึ้นครั้งหนึ่ง) จึงเชื่อว่าเด็กแฝดจะนำโชคลาภมาให้  หรือแม้แต่จะสามารถเปลี่ยนแปลงธรรมชาติเช่นลมฟ้าอากาศได้ แต่ในบางชนเผ่ากลับมีความเชื่อตรงกันข้าม เขาจะถือว่าเป็นเงามรณะ ถึงกับต้องฆ่าแฝดคนใดคนหนึ่งทิ้งไปแต่แรกเกิด...<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cry.gif\" alt=\"Cry\" title=\"Cry\" /> ...(นักเรียนบางคนอาจเคยอ่านนิยายเกี่ยวกับฝาแฝดที่ถูกพลัดพราก) \n</p>\n<p>\n        <strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\">ฝาแฝดจำแนกได้เป็น 2 ประเภท</span></span> </strong>(แม้จะมีชื่อเรียกหลายอย่าง)\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1.   <strong>แฝดร่วมไข่/แฝดแท้/แฝดเหมือน (identical twins)</strong></span> เกิดการปฏิสนธิจากเซลล์ไข่ใบเดียวที่ผสมกับเซลล์อสุจิเพียงหนึ่งตัว แต่ขณะไซโกต (zygote) อยู่ในขั้นแบ่งเซลล์เกิดแยกเป็น 2 กลุ่มเซลล์ที่เจริญเป็นตัวอ่อน (embryo) 2 ตัว แล้วตัวอ่อนเจริญเติบโตต่อไปจนคลอดเป็นทารกสองคน ที่เป็นเพศเดียวกันเสมอซึ่งมีความคล้ายคลึงกันมากในทางพันธุกรรม twin7\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" align=\"right\" width=\"321\" src=\"http://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/8BODY.files/image036.jpg\" height=\"466\" style=\"width: 211px; height: 374px\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.snr.ac.th/m5html/viparat/picture/%E0%B8%9D%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%9D%E0%B8%94%201.jpg\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.snr.ac.th/m5html/viparat/picture\">http://www.snr.ac.th/m5html/viparat/picture</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n      <a href=\"http://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/8BODY.files/image036.jpg\">                         </a>\n</p>\n<p align=\"right\">\n         <a href=\"http://school.obec.go.th/padad/scien32101\">http://school.obec.go.th/padad/scien32101</a> \n</p>\n<p align=\"right\">\n/BODY/8BODY.files/image036.jpg\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"159\" src=\"http://tbn2.google.com/images?q=tbn:ArY2qF2EwdSpTM:http://www.hp-lexicon.org/images/film/gf/twins-gf.jpg\" height=\"118\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://tbn2.google.com/images?q=tbn:ArY2qF2EwdSpTM:http://www.hp-lexicon.org/images/film/gf/twins-gf.jpg\">http://www.hp-lexicon.org/images/film/gf/twins-gf.jpg</a>\n</p>\n<p>\n      <span style=\"color: #ff0000\">การเกิดแฝดตัวติดกัน</span><span style=\"color: #333333\"><span style=\"color: #ff0000\">(conjoined twins)</span> เกิดทำนองเดียวกับกรณีแฝดร่วมไข่แต่พิเศษตรงที่ขณะอยู่ในขั้นตอนการแบ่งตัว ไม่สามารถแบ่งตัวแยกออกจากกันได้อย่างสมบูรณ์ จึงทำให้เจริญเติบโตกลายเป็นทารกที่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายติดกันตั้งแต่เกิด มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า <span style=\"color: #ff0000\">แฝดสยาม (Siamese twins)</span> ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากชื่อเสียงอันโด่งดังของ</span><span style=\"color: #ff00ff\">ฝาแฝด “อิน-จัน” ของไทย</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>2.  แฝดต่างไข่/แฝดไม่แท้/แฝดคล้าย (fraternal twins)</strong></span> เกิดจากการตกไข่หลายใบ ไข่แต่ละเซลล์ได้รับการผสมเกิดการปฏิสนธิ (เหมือนการปฏิสนธิทั่วๆไป) และเจริญเป็นตัวอ่อนหลายตัวในมดลูกเดียวกัน เมื่อเจริญเติบโตจนคลอดออกมาในเวลาที่ใกล้เคียงกันก็เหมือนเป็นพี่น้องที่คลานตามกันมาแบบทั่วไป จึงอาจเป็นเพศเดียวกันหรือไม่ก็ได้ และลักษณะทางพันธุกรรมอาจแตกต่างกันมากก็ได้ ตามสถิติพบว่า ร้อยละ 80 ของฝาแฝดมักเป็นแฝดประเภทนี้\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/8BODY.files/image038.jpg\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/8BODY.files/image038.jpg\">http://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/8BODY.files/image038.jpg</a> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">        <strong><span style=\"color: #ff00ff\">ความผูกพันของฝาแฝด</span></strong></span><strong><span style=\"color: #ff00ff\"> </span></strong>\n</p>\n<p>\n        ความใกล้ชิดน่าจะหล่อหลอมให้แฝดทั้งคู่เกิดความผูกพันดังเป็นคนๆเดียวกันได้อย่างไม่ยาก ตัวอย่างเช่น คริส เมอร์ฟี ขณะกำลังพักผ่อนอยู่ที่ฮาวาย จู่ๆ ก็เกิดรู้สึกกระวนกระวายใจอย่างแรงอยากติดต่อกับคู่แฝดจนต้องโทรศัพท์ไปหาคู่แฝดของเธอคือ เคธี ฟลินเดอร์ ซึ่งกำลังตรวจร่างกายอยู่ที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในแคลิฟอร์เนีย แทบไม่น่าเชื่อว่าเสียงโทรศัพท์ถึงเคธี ดังขึ้นในนาทีเดียวกับที่หมอบอกข่าวร้ายกับเคธีว่าเธอเป็นมะเร็งรังไข่ นั่นแสดงว่าระยะจากฮาวายถึงแคลิฟอร์เนียนับพันไมล์ไม่ใช่ปัญหา เพราะสายใยแห่งความผูกพันสามารถเชื่อมโยงจิตใจของคู่แฝดถึงกันได้อย่างน่าอัศจรรย์\n</p>\n<p>\nตัวอย่างของแฝดเรนเนอร์ - อลิส และแคลริส ที่มีความผูกพันและไม่ยอมแยกจากกัน มีข้อมูลว่าตลอด 65 ปี แฝดเรนเนอร์ใส่เสื้อผ้าเหมือนกันทุกชุด ทุกวัน สไตล์การแต่งหน้าและทรงผมเหมือนกัน แถมยังจาม สะอึก และหาวนอนพร้อมๆ กัน น่าทึ่งมากที่แม้แต่ถ่านนาฬิกาข้อมือก็หมดในเวลาเดียวกัน ทั้งคู่ต่างมีความสุขกับการมีชีวิตอยู่ประดุจมีหัวใจดวงเดียวกันใน 2 ร่าง ยังไงยังงั้น<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-surprised.gif\" alt=\"Surprised\" title=\"Surprised\" />\n</p>\n<p>\nตัวอย่างของแฝดสยาม อิน-จัน เคยอ่านประวัติของคนทั้งสอง....แต่จำที่มาไม่ได้แล้ว....เขามีช่วงหน้าอกเชื่อมร่างกายติดกัน นึกว่าจะเหมือนกันและรักผูกพันกันมากเป็นพิเศษ แต่น่าประหลาดใจที่เขาทั้งสองกลับมีบุคลิกภาพและนิสัยใจคอแตกต่างกันชนิดตรงข้ามก็ว่าได้ อินเป็นคนใจเย็น ประนีประนอม ในขณะที่จันมีความเป็นผู้นำ อารมณ์ร้อน และไม่ยอมใครง่ายๆ  ยิ่งอายุเพิ่มมาขึ้นเท่าไรความขัดแย้งของทั้งคู่ก็ยิ่งชัดเจนขึ้นเท่านั้น ทั้งคู่เคยทะเลาะกันรุนแรงถึงขั้นชกต่อยกัน ...คงชุลมุนน่าดู นึกไม่ออกว่ากรรมการคนใดจะสามารถแยกการต่อสู้นี้ออกจากกันได้.......<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-frown.gif\" alt=\"Frown\" title=\"Frown\" /> \n</p>\n', created = 1726847260, expire = 1726933660, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b0e81665aaedbcf9325de7f36f890a76' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฝาแฝด

รูปภาพของ puangtip

“ฝาแฝด (twins)”

http://img.dailymail.co.uk/i/pix/2007/11_01/twinsDM0211_468x433.jpg

        เมื่อกล่าวถึงฝาแฝด เรามักจินตนาการถึงคนที่มีหน้าตาเหมือนๆกัน แต่ความจริงอาจไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป

        สมัยก่อนเมื่อมีผู้ให้กำเนิดลูกแฝด บางชนเผ่าถือว่าเป็นเรื่องดีมากเชื่อว่าเด็กที่เกิดมาจะมีพลังเหนือธรรมชาติ (เพราะนานๆจะเกิดขึ้นครั้งหนึ่ง) จึงเชื่อว่าเด็กแฝดจะนำโชคลาภมาให้  หรือแม้แต่จะสามารถเปลี่ยนแปลงธรรมชาติเช่นลมฟ้าอากาศได้ แต่ในบางชนเผ่ากลับมีความเชื่อตรงกันข้าม เขาจะถือว่าเป็นเงามรณะ ถึงกับต้องฆ่าแฝดคนใดคนหนึ่งทิ้งไปแต่แรกเกิด...Cry ...(นักเรียนบางคนอาจเคยอ่านนิยายเกี่ยวกับฝาแฝดที่ถูกพลัดพราก) 

        ฝาแฝดจำแนกได้เป็น 2 ประเภท (แม้จะมีชื่อเรียกหลายอย่าง)

1.   แฝดร่วมไข่/แฝดแท้/แฝดเหมือน (identical twins) เกิดการปฏิสนธิจากเซลล์ไข่ใบเดียวที่ผสมกับเซลล์อสุจิเพียงหนึ่งตัว แต่ขณะไซโกต (zygote) อยู่ในขั้นแบ่งเซลล์เกิดแยกเป็น 2 กลุ่มเซลล์ที่เจริญเป็นตัวอ่อน (embryo) 2 ตัว แล้วตัวอ่อนเจริญเติบโตต่อไปจนคลอดเป็นทารกสองคน ที่เป็นเพศเดียวกันเสมอซึ่งมีความคล้ายคลึงกันมากในทางพันธุกรรม twin7

 

 

http://www.snr.ac.th/m5html/viparat/picture

 

                              

         http://school.obec.go.th/padad/scien32101 

/BODY/8BODY.files/image036.jpg

http://www.hp-lexicon.org/images/film/gf/twins-gf.jpg

      การเกิดแฝดตัวติดกัน(conjoined twins) เกิดทำนองเดียวกับกรณีแฝดร่วมไข่แต่พิเศษตรงที่ขณะอยู่ในขั้นตอนการแบ่งตัว ไม่สามารถแบ่งตัวแยกออกจากกันได้อย่างสมบูรณ์ จึงทำให้เจริญเติบโตกลายเป็นทารกที่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายติดกันตั้งแต่เกิด มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แฝดสยาม (Siamese twins) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากชื่อเสียงอันโด่งดังของฝาแฝด “อิน-จัน” ของไทย

 

2.  แฝดต่างไข่/แฝดไม่แท้/แฝดคล้าย (fraternal twins) เกิดจากการตกไข่หลายใบ ไข่แต่ละเซลล์ได้รับการผสมเกิดการปฏิสนธิ (เหมือนการปฏิสนธิทั่วๆไป) และเจริญเป็นตัวอ่อนหลายตัวในมดลูกเดียวกัน เมื่อเจริญเติบโตจนคลอดออกมาในเวลาที่ใกล้เคียงกันก็เหมือนเป็นพี่น้องที่คลานตามกันมาแบบทั่วไป จึงอาจเป็นเพศเดียวกันหรือไม่ก็ได้ และลักษณะทางพันธุกรรมอาจแตกต่างกันมากก็ได้ ตามสถิติพบว่า ร้อยละ 80 ของฝาแฝดมักเป็นแฝดประเภทนี้

http://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/8BODY.files/image038.jpg 

        ความผูกพันของฝาแฝด

        ความใกล้ชิดน่าจะหล่อหลอมให้แฝดทั้งคู่เกิดความผูกพันดังเป็นคนๆเดียวกันได้อย่างไม่ยาก ตัวอย่างเช่น คริส เมอร์ฟี ขณะกำลังพักผ่อนอยู่ที่ฮาวาย จู่ๆ ก็เกิดรู้สึกกระวนกระวายใจอย่างแรงอยากติดต่อกับคู่แฝดจนต้องโทรศัพท์ไปหาคู่แฝดของเธอคือ เคธี ฟลินเดอร์ ซึ่งกำลังตรวจร่างกายอยู่ที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในแคลิฟอร์เนีย แทบไม่น่าเชื่อว่าเสียงโทรศัพท์ถึงเคธี ดังขึ้นในนาทีเดียวกับที่หมอบอกข่าวร้ายกับเคธีว่าเธอเป็นมะเร็งรังไข่ นั่นแสดงว่าระยะจากฮาวายถึงแคลิฟอร์เนียนับพันไมล์ไม่ใช่ปัญหา เพราะสายใยแห่งความผูกพันสามารถเชื่อมโยงจิตใจของคู่แฝดถึงกันได้อย่างน่าอัศจรรย์

ตัวอย่างของแฝดเรนเนอร์ - อลิส และแคลริส ที่มีความผูกพันและไม่ยอมแยกจากกัน มีข้อมูลว่าตลอด 65 ปี แฝดเรนเนอร์ใส่เสื้อผ้าเหมือนกันทุกชุด ทุกวัน สไตล์การแต่งหน้าและทรงผมเหมือนกัน แถมยังจาม สะอึก และหาวนอนพร้อมๆ กัน น่าทึ่งมากที่แม้แต่ถ่านนาฬิกาข้อมือก็หมดในเวลาเดียวกัน ทั้งคู่ต่างมีความสุขกับการมีชีวิตอยู่ประดุจมีหัวใจดวงเดียวกันใน 2 ร่าง ยังไงยังงั้นSurprised

ตัวอย่างของแฝดสยาม อิน-จัน เคยอ่านประวัติของคนทั้งสอง....แต่จำที่มาไม่ได้แล้ว....เขามีช่วงหน้าอกเชื่อมร่างกายติดกัน นึกว่าจะเหมือนกันและรักผูกพันกันมากเป็นพิเศษ แต่น่าประหลาดใจที่เขาทั้งสองกลับมีบุคลิกภาพและนิสัยใจคอแตกต่างกันชนิดตรงข้ามก็ว่าได้ อินเป็นคนใจเย็น ประนีประนอม ในขณะที่จันมีความเป็นผู้นำ อารมณ์ร้อน และไม่ยอมใครง่ายๆ  ยิ่งอายุเพิ่มมาขึ้นเท่าไรความขัดแย้งของทั้งคู่ก็ยิ่งชัดเจนขึ้นเท่านั้น ทั้งคู่เคยทะเลาะกันรุนแรงถึงขั้นชกต่อยกัน ...คงชุลมุนน่าดู นึกไม่ออกว่ากรรมการคนใดจะสามารถแยกการต่อสู้นี้ออกจากกันได้.......Frown 

สร้างโดย: 
ครู พวงทิพย์ วีระณรงค์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กทม.

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 445 คน กำลังออนไลน์