• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:386fb61a8bb4a437cee6ece32bbd9bad' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" align=\"middle\" width=\"240\" src=\"/files/u7481/image2.gif\" height=\"432\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพจาก <a href=\"http://blog.spu.ac.th/home/blog_data/891/4891/images/image2.gif\">http://blog.spu.ac.th/home/blog_data/891/4891/images/image2.gif</a>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<strong><u>ผู้แต่ง</u></strong>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" vspace=\"10\" align=\"left\" width=\"150\" src=\"/files/u7481/Tt003.jpg\" hspace=\"10\" height=\"230\" /><strong>พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์</strong>\n</p>\n<p>\n(ทรงพระนามเดิมว่า : พระองค์เจ้า“รัชนีแจ่มจรัส” นามแฝง น.ม.ส.)\n</p>\n<p>\nทรงพระนิพนธ์ขึ้น เมื่อ ปีพุทธศักราช ๒๔๖๑  ซึ่งจัดได้ว่าเป็นวรรณคดีเรื่องสำคัญเรื่องหนึ่ง ของไทยโดยที่คุณค่าของนิทานเวตาลนั้นมิได้จำกัดเพียงประโยชน์ด้าน &quot;วรรณคดีศึกษา&quot; หากยังเป็นความรู้ด้าน &quot;คติชนวิทยาตะวันออก&quot; อีกด้วย\n</p>\n<p>\nพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ เป็นพระราชโอรสกรมหมื่นราวีวังบวรฯ บวรวิไชยชาญ ซึ่งเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นพระราชอนุชาธิราชแห่งสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว\n</p>\n<p>\nกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ ประสูติกาลในพระบวรราชวัง ณ เมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๔๑๙ พระนามเดิมพระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส (ทรงเป็นต้นสกุลรัชนี) จอมมารดาคือคุณจอมมารดาเลี่ยมเล็ก อันมีสกุลสืบตรงมาจากขุนนางผู้ใหญ่ครั้นกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีโดยสกุล “ชูโต” ของฝ่ายบิดาและ สโรบลฝ่ายมารดา\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\nภาพจาก <a href=\"http://elibrary.eduzones.com/images/9/93/Tt003.jpg\"><span style=\"color: #0000ff\">http://elibrary.eduzones.com/images/9/93/Tt003.jpg</span></a>\n</p>\n<p>\nเมื่อเยาว์วัยเรียนหนังสือกับมารดาที่ตำหนัก เมื่อชันษา ๕ ขวบ ก็ทรงอ่านหนังสือได้คล่อง เช่นหนังสือสามก๊ก อิเหนา ฯลฯ มีเรื่องเล่าว่าขณะยังเยาว์ วันหนึ่งฉวยคัมภีร์ใบลานไปทรงอ่านกับเจ้าพี่ที่พระแกล มีผู้พบเห็นและได้พาข่าวลือไปถวายกรมพระราชวังบวรฯ ว่า ช่างน่าเอ็นดูพระองค์เจ้ารัชนีกับเจ้าพี่เสียจริง ๆ อ่านหนังสือกันออกจ้อไป กรมพระราชวังบวรฯ ไม่ทรงเชื่อ พูดเกินความจริง เด็กอายุเพียงแค่นั้นจะอ่านหนังสือขอมออก หนังสือภาษาไทยก็ไม่แทบกระดิกหู แต่ก็ทรงสนพระทัย วันหนึ่งทรงรับสั่งให้ทั้งสองพระองค์เข้าเฝ้า ทดลองส่งคัมภีร์ใบลานให้ผูกหนึ่งแล้วทรงให้อ่าน เจ้าพี่ทรงอ่านแล้วรับสั่งให้เจ้าน้องอ่าน เจ้าน้องก็อ่าน ทรงทอดพระเนตรใกล้ว่าทรงอ่านถูกต้องตรงตามหรือไม่ ทรงอุทานออกมาว่า “อ่านออกจริงๆ แหละ” อันเป็นเครื่องแสดงถึงพระปรีชาของกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์เป็นอย่างมาก\n</p>\n<p>\nเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๙ พระองค์เจ้ารัชนี ฯ ได้เสด็จเข้าโรงเรียนประจำที่โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ซึ่งตั้งอยู่ทางด้านใต้ของพระบรมราชวัง สำเร็จชั้นประโยค ๑ ได้เมื่ออายุ ๑๓ ปี และสอบไล่ประโยค ๒ ได้เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๔ ทรงได้ที่ ๑ ในพวกที่สอบสำเร็จในปีนั้นและได้ทรงพระราชทานรางวัล ในระหว่างเรียนทรงผนวชเณร โดยมีสมเด็จพระสังฆราช (สา) ปุสสะเทวะ เป็นพระอุปัชฌาย์ ประทับจำพรรษาอยู่ที่วัดราชประดิษฐ์จนทรงลาผนวช เรียนภาษาอังกฤษกับมิสเตอร์กรีน ซึ่งเป็นบัณฑิตจากออกซ์ฟอร์ด ต่อมาย้ายโรงเรียนไปเรียนที่อื่น จบโรงเรียนสุดท้าย ออกรับราชการเป็นข้าราชการในกระทรวงธรรมการ ในตำแหน่งนายเวรกระทรวงธรรมการ มีหน้าที่ไปที่โรงเรียนสวนกุหลาบในหน้าที่ “ข้าหลวง”\n</p>\n<p>\nในขณะที่รับราชการอยู่ในกระทรวงธรรมการ ๒ ปี พระองค์เจ้ารัชนีทรงฝักใฝ่หาความรู้เพิ่มเติมโดยการศึกษาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมอยู่โดยมิขาด โดยการคบหากับชาวต่างประเทศจนทรงคุ้นเคยกับขนบธรรมเนียมและตรัสภาษาอังกฤษได้คล่อง\n</p>\n<p>\nพ.ศ. ๒๔๓๙ ทรงย้ายมารับราชการที่กระทรวงพระคลังในตำแหน่งผู้ช่วยที่ปรึกษากระทรวงพระคลังมหาสมบัติ<br />\nพ.ศ. ๒๔๔๐ ได้ดำรงตำแน่งเป็นล่ามที่กระทรวงพระคลัง<br />\nพ.ศ. ๒๔๔๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตามเสด็จประพาสทวีปยุโรป และพระราชทานพระบรมราชาอนุญาตให้เสด็จอยู่เล่าเรียนในอังกฤษ ในกระทรงศึกษาธิการอยู่ในอังกฤษพระองค์ทรงได้เปรียบนักเรียนในขณะนั้นหลายคน ที่ทรงทราบเรื่องประเพณีภาษาอังกฤษมาก\n</p>\n<p>\nเมื่อเข้ามหาวิทยาลัยเคมบริจด์ได้แล้วทรงมุ่งมั่นหาความรู้ใส่พระองค์และโปรดการกีฬาอย่างเต็มที่ การศึกษาของพระองค์ก็สำเร็จกลับมาประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๒\n</p>\n<p>\nพ.ศ. ๒๔๔๔ ทรงเป็นปลัดกรมและผู้แทนกรมธนบัตร ทรงมีส่วนในการตราพระราชบัญญัติเงินตราในสมัยนั้น โดยการจัดพิมพ์ธนบัตรขึ้นใช้<br />\nพ.ศ. ๒๔๔๗ ทรงเป็นอธิบดีกรมกระษาปณ์สิทธิการ<br />\nพ.ศ. ๒๔๕๐ ทรงเป็นอธิบดีกรมตรวจและกรมสารบาญชี<br />\nพ.ศ. ๒๔๕๔ ทรงเป็นองคมนตรี<br />\nพ.ศ. ๒๔๕๖ ได้รับการสถาปนาพระยศเป็นเจ้านายต่างกรม<br />\nพ.ศ. ๒๔๕๙ ทรงเป็นอธิบดีกรมพาณิชย์และสถิตพยากรณ์<br />\nพ.ศ. ๒๔๖๔ ทรงเป็นรองเสนาบดีกรมพาณิชย์\n</p>\n<p>\nในหน้าที่ราชการของราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ ทรงดำรงตำแหน่งสำคัญอีกหลายตำแหน่ง ทรงเป็นผู้เริ่มนำวิธีแบบใหม่มาใช้กับระบบราชการให้ก้าวหน้าและเป็นรากฐานของการบริหารประเทศมาจนทุกวันนี้\n</p>\n<p>\nด้านการศึกษาและวรรณคดี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๘ ทรงเป็นอุปนายกกรรมการหอสมุดสำหรับพระนคร ซึ่งต่อมาได้รวมเข้ากับกรมศิปลปากร ต่อมาได้เปลี่ยนจากหอสมุดสำหรับพระนครเป็น “ราชบัณฑิตยสภา” พระองค์ทรงรับตำแหน่งเป็นอุปนายกแผนกวรรณคดี พระราชนิพนธ์ต่าง ๆ ที่ทรงไว้ที่ต่าง ๆ คือ\n</p>\n<p>\nพ.ศ. ๒๔๔๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวราชกาลที่ ๖ ทรงดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระบรมโอสาธิราช ทรงออกหนังสือพิมพ์รายเดือนชื่อทวีปัญญาขึ้น จึงชักชวนให้ผู้อื่นเขียนเรื่องมาลงด้วย เหตุนี้จดหมายจางวางหร่ำ จึงมีขึ้นในทวีปัญญา ต่อมาได้รวบรวมพิมพ์ขึ้นเป็นเล่ม\n</p>\n<p>\nพ.ศ. ๒๔๕๓ ทรงจัดพิมพ์สืบราชสมบัติขึ้นเป็นเล่ม<br />\nพ.ศ. ๒๔๕๙ ทรงจัดพิมพ์ พระนลคำฉันท์ขึ้น แต่พิมพ์จำนวนไม่มากนัก เพื่อจะต้องการเก็บรักษาเป็นต้นฉบับต่อไป ในปีเดียวกันนี้ได้จัดพิมพ์ตลาดเงินตรา ซึ่งหนังสือเล่มนี้มีคนส่วนมากไม่ทราบที่มาว่าหนังสือเล่นนี้ใครเป็นผู้แต่ง<br />\nพ.ศ. ๒๔๖๑ ทรงแต่งนิทาลเวตาลเพื่อพิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมพัฒกรรัชนีซึ่งหนังสือเล่มนี้แพร่หลาย<br />\nพ.ศ. ๒๔๖๕ ทรงจัดพิมพ์ กนกนครขึ้น หนังสือเล่มนี้แต่งเป็นกลอน ๖ ทั้งเล่ม<br />\nพ.ศ. ๒๔๖๙ จัดพิมพ์หนังสือปารักกา เล่ม ๑ ขึ้นสำหรับแจกงานพระราช เพลิงศพคุณจอม มารดาซึ่งพระองค์ เป็นรัชนี แจ่มจรัส ตรัสในชุมนุมชน<br />\nพ.ศ. ๒๔๗๒ จัดพิมพ์หนังสือปาฐกฐถา เล่ม ๒<br />\nพ.ศ. ๒๔๗๓ จัดพิมพ์หนังสือประมวญนิทาน นมส. รวม ๒ เล่ม รวบรวมจากหนังสือ ลักวิทยาและทวีปัญญา<br />\nพ.ศ. ๒๔๗๔ ทรงแต่งเห่สือ ทูลเกล้าถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพิธีทรงเปิดสะพานพุทธ วันที่ ๖ มิ.ย. ๒๔๗๕<br />\nพ.ศ. ๒๔๗๕ ทรงแต่งฉันท์คฤดี ส่งเลยสมโภชน พระมาท ๑ สวดฉัตร<br />\nพ.ศ. ๒๔๗๖ ทรงแต่งและพิมพ์ ความนึกในฤดูหนาว<br />\nพ.ศ. ๒๔๗๓ “ กลอนและนักกลอน<br />\nพ.ศ. ๒๔๗๔ “ คำทำนาย<br />\nพ.ศ. ๒๔๗๗ “ เครื่องฝึกหัดเยเตลแมนในออกซ์ฟอร์ดและเคมบริดจ์<br />\nพ.ศ. ๒๔๘๐ “ เสภา สภา<br />\nพ.ศ. ๒๔๘๑ “ ปฤษาณาเหรันศิก\n</p>\n<p>\nนอกจากหนังสือดังกล่าวนี้ ยังมีพระนิพนธ์อีกเป็นจำนวนมากที่พระองค์ทรงเขียนประทานแก่หนังสือต่าง ๆ ซึ่งไม่สามารถจะรวบรวมและจดจำชื่อได้ และหนังสือเหล่านี้ได้สูญไปพร้อมกับโรงพิมพ์ประมวลเมื่อเกิดเพลิงไหม้\n</p>\n<p>\nนับว่าพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ ทรงเป็นปราชญ์ในด้านวรรณคดีไทยโดยแท้ จะเห็นได้จากผลงานของพระองค์เท่าที่ปรากฏอยู่\n</p>\n<p>\nพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๓ ก.ค. ๒๔๘๘ ด้วยพระโรคหลอดโลหิตในสมองตัน สิริพระชนมายุ ๖๘ ปี ๖ เดือน ๑๓ วัน\n</p>\n<p>\n<strong>ความเป็นมา</strong>\n</p>\n<p>\n       ต้นเค้ามาจากวรรณคดีอินเดียชื่อ &quot;เวตาลปัญจวิงศติ&quot; ของ ศิวทาส\n</p>\n<p>\n<strong><u>แหล่งข้อมูล</u></strong>   <a href=\"http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=aragorn&amp;month=08-2005&amp;date=10&amp;group=2&amp;gblog=9\">http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=aragorn&amp;month=08-2005&amp;date=10&amp;group=2&amp;gblog=9</a></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<u><strong></strong></u>\n</p>\n<p>\n<u><strong>โครงเรื่อง</strong></u>\n</p>\n<p>\n       นิทานเวตาล เริ่มต้นที่เรื่องราวของพระเจ้าวิกรมาทิตย์ ในฐานะกษัตริย์แห่งสังคมอินเดียยุคโบราณองค์หนึ่ง  พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์นามระบือสามารถทั้งการศึกและการปกครองไพร่ฟ้า แต่ถูก &quot;โยคี&quot; ตนหนึ่ง ซึ่งปลอมตัวเป็นพ่อค้ามาทำอุบายแยบยลใกล้ชิด และลวงพระองค์ให้หลงกล ต้องสัญญาด้วยการบำเพ็ญความ &quot;ข่ม&quot; คือ อดกลั้นต่อความจ้วงจาบ เย้ยเยาะของ&quot;เวตาล&quot; ค้างคาวตัวใหญ่ทรวดทรงหน้าตาอัปลักษณ์ดังซากศพ  ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวเดินเรื่อง เล่านิทานซ้อนนิทาน เป็นช่วงๆ นำพาพระเจ้าวิกรมาทิตย์เดินทางมาถึงจุดหมายที่ &quot;โยคี&quot; กำลังกระทำพิธีสำคัญ ซึ่งก็คือพิธีลอบปลงพระชนม์พระองค์และพระราชโอรสนั่นเอง ความเพียรพยายามในการ&quot;ข่ม&quot; พระองค์เองให้ &quot;นิ่ง&quot; เป็น และ&quot;แกล้งโง่&quot; เป็น รวมทั้งการรู้จักระแวดระวังพระองค์ทุกระยะทุกฝีก้าวทุกขณะจิตเป็นผลให้เวตาลผู้ทำหน้าที่ตามคำบัญชาของ &quot;โยคี&quot; ผู้หมายปองร้ายพระราชาล่อลวง หยามหยันพระองค์ต่างๆ นานาไม่สำเร็จ และยังเกิดความสะเทือนใจ กลับเป็นฝ่ายช่วยเหลือแนะนำพระองค์ให้พ้นภัย\n</p>\n<p>\n        ในตอนท้ายเรื่อง น.ม.ส. ทรงไขปัญหาความเป็นมาของเรื่องราวผ่านคำพูดของเวตาลว่า &quot;ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นใหญ่ในหมู่นักรบ  พระองค์จะรำลึกถึงคำ ซึ่งอสูรปัดพิบาลได้ทูลไว้ว่า ผู้ใดมุ่งจะฆ่าชีวิตพระองค์ๆ อาจตัดหัวผู้นั้นเสียก่อนได้โดยครองธรรม แลในการข้างหน้าซึ่งจะเป็นไปตั้งแต่บัดนี้ พระองค์พึงปฏิบัติตามคำที่อสูรกล่าวนั้น...ข้าพเจ้าทูลให้รู้พระองค์และระวังพระองค์ให้จงหนัก&quot;\n</p>\n<p align=\"right\">\n(นิทานเวตาล, ศิลปบรรณาคาร, ๒๕๑๓ : ๓๘๒ - ๓๘๓)\n</p>\n<p>\n         โครงเรื่องนิทานเวตาล มาลงเอยที่\n</p>\n<p>\n         &quot;โยคีผู้ฉลาดขุดหลุมล่อพระราชา ได้ตกหลุมที่ตัวเองทำไว้&quot;\n</p>\n<p>\nพระเจ้าวิกรมาทิตย์ได้ถือโอกาสนั้น &quot;ชักพระแสงดาบออก ฟาดถูกศีรษะโยคีขาดกระเด็นไป&quot; ที่น่าสนใจยิ่งไปกว่านี้ก็คือ น.ม.ส.ได้ทรงพระนิพนธ์บทลงท้าย นิทานเวตาลว่า\n</p>\n<p>\n          ในทันใดนั้นมีเสียงกล่าวในอากาศว่า &quot;บุรุษพึงฆ่าคนซึ่งตั้งใจจะฆ่าตนได้โดยครองธรรม&quot; มีเสียงดนตรีและคำอวยชัยมาจากฟ้า ทั้งดอกไม้ทิพย์ก็ตกหล่นกล่นเกลื่อนไป อีกทั้งยังทรงรจนาช่วงสุดท้ายของเรื่องว่า พระอินทร์แวดล้อมด้วยเทพบริวารได้เสด็จมาเฉพาะพระพักตร์พระวิกรมาทิตย์และทรงประทานพรให้ตามที่ขอดังนี้ &quot;เราให้พรแก่ท่านดังขอแลตราบใดพระอาทิตย์และพระจันทร์ยังส่องอยู่ท้องฟ้าแลฟ้ายังครอบดินตราบนั้นเรื่องนี้ปรากฎไปในโลก&quot;\n</p>\n<p align=\"right\">\n(นิทานเวตาล, ศิลปบรรณาคาร, ๒๕๑๓ : ๓๘๗-๓๘๘)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" align=\"middle\" width=\"347\" src=\"/files/u7481/004.jpg\" height=\"480\" />  \n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพจาก <a href=\"http://sukumal.brinkster.net/meaploy/vetal/image/004.jpg\">http://sukumal.brinkster.net/meaploy/vetal/image/004.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<strong><u>แหล่งที่มา</u></strong>    <a href=\"http://www.kroobannok.com/view.php?article_id=3271&amp;page=10\">http://www.kroobannok.com/view.php?article_id=3271&amp;page=10</a></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<strong><u>นิทานเวตาลเวตาลเรื่องที่ 10</u></strong>\n</p>\n<p>\n          เมื่อพระเจ้าวิกรมาทิตย์ทรงปลดเวตาลลงมาจากต้นอโศก แล้วรับสั่งให้เวตาลเล่านิทานต่อไป เวตาลทูลขึ้นว่า \n</p>\n<p>\n          &quot;วันนี้หม่อมฉันรู้สึกเขม่นตาซ้าย หัวใจก็เต้นแรง สายตาก็ไม่ดีมองอะไรดูมืดมัวไปหมด ไม่แจ่มใสเหมือนทุกๆครั้ง นับเป็นลางที่ไม่ดีเสียแล้วพะยะค่ะ แต่หม่อมฉันจะเล่านิทานถวายฝ่าบาทอีกสักเรื่องหนึ่ง&quot;\n</p>\n<p>\n          ในครั้งโบราณกาลนั้น ยังมีเมืองใหญ่เมืองหนึ่งชื่อว่า &quot;เมืองธรรมปุระ&quot; เจ้าครองเมืองทรงพระนามว่า &quot;ท้าวมหาพล&quot; พระองค์ทรงมี<br />\nพระมเหสีที่ยังคงความสาวและความงดงาม แม้พระธิดาจะทรงจำเริญวัยเป็นผู้ใหญ่แล้ว พระมเหสีก็ยังคงคล้ายกับสาวรุ่น และถ้าจะเปรียบ <br />\nเทียบกับพระธิดาแล้ว ไม่ต่างอะไรกับพี่สาวและน้องสาวเลย ซึ่งความสาวของพระมเหสีนั้นเป็นเรื่องที่คนทั้งหลายต่างพากันแปลกใจเป็น <br />\nอย่างยิ่ง       \n</p>\n<p>\n          อยู่ต่อมาไม่นานเมืองธรรมปุระได้ถูกข้าศึกมาล้อมไว้ ข้าศึกมีกำลังและความชำนาญในการทำสงครามเป็นอย่างยิ่ง จึงตีเมืองจน <br />\nแตก ฝ่ายท้าวมหาพลทรงได้ลอบพาพระมเหสีและพระธิดา เสด็จหนีออกจากรพระนครไปได้ในเวลากลางคืน ทั้งสามพระองค์เสด็จเล็ดลอดพ้นแนวข้าศึกแล้ว ก็ตั้งพระทัยหันพระพักตร์มุ่งไปยังเมืองเดิมของพระมเหสี        \n</p>\n<p>\n          วันรุ่งขึ้น ท้าวมหาพลทรงนำพระมเหสีและพระธิดา เสด็จพระดำเนินถึงท้องทุ่งแห่งหนึ่ง ได้ทอดพระเหตุเห็นหมู่บ้านแต่ไกล หา <br />\nทรงทราบไม่ว่าเป็นหมู่บ้านโจร แต่พระองค์ก็มิได้ทรงวางพระทัย จึงตรัสกับพระมเหสีว่า        \n</p>\n<p>\n          &quot;น้องกับลูกหญิงรออยู่ที่นี่อย่าเพิ่งเข้าไป หาที่กำบังตัวไว้ เดี๋ยวพี่จะเข้าตรวจตราเสียก่อน&quot;         \n</p>\n<p>\n          &quot;เพคะ เสด็จพี่ทรงกลับมาเร็วๆ นะคะ หม่อมฉันและลูกเป็นห่วง&quot;\n</p>\n<p>\n          พระมเหสีทรงรับสั่ง ท้าวมหาพลทรงพยักหน้ารับ แล้วทรงถืออาวุธเดินเข้าไปในหมู่บ้าน เพื่อจะหาอาหารมาให้พระมเหสี พระธิดา <br />\nฝ่ายพวกชาวบ้าน ปกติก็ประพฤติตนเป็นโจร ครั้นเห็นชายแต่งตัวดี มีของมีค่าติดตัวมาเช่นนี้ ก็พากันออกมาทำการชิงทรัพย์ ท้าว <br />\nมหาพลจึงทรงธนูยิงพวกโจรล้มตายไปไม่น้อย\n</p>\n<p>\n          เมื่อหัวหน้าโจรรู้ว่า ท้าวมหาพลได้ฆ่าพวกของตนล้มตายไปเช่นนั้น ก็เป่าสัญญาณเรียกพวกโจรออกมาอีกเป็นจำนวนมาก <br />\nพระองค์ถูกล้อมทำร้ายจนสิ้นพระชนม์ลง ณ ที่นั้น\n</p>\n<p>\n          ฝ่ายพระมเหสีและพระธิดา เห็นเหตุการณ์เช่นนั้น ก็ตกพระทัยจนพระองค์สั่น พากันค่อยๆ หลบหนีออกให้ห่างจากหมู่บ้านโจร ซึ่ง <br />\nทางที่จะไปจะเป็นทางไหนก็หาทราบไม่ ความมุ่งหมายมีอยู่แต่ว่าจะต้องหนีให้พ้น\n</p>\n<p>\n          ทั้งพระมเหสีและพระธิดาทรงมีพระกำลังน้อย แต่ด้วยอำนาจแห่งความกลัว ทั้งสองพระองค์ก็เสด็จหนีไปได้ไกลพอสมควร จึงหยุด<br />\nพักประทับอยู่ใต้ร่มไม้ริมทาง \n</p>\n<p>\n          เผอิญขณะนั้น มีพระราชาองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า &quot;ท้าวจันทรเสน&quot; เสด็จออกล่ายิงสัตว์ป่ากับองค์ราชบุตร กษัตริย์พ่อ-ลูกทั้ง <br />\nสองทรงม้าไปตามแนวป่า ทอดพระเนตรเห็นรอยเท้าหญิงสองคน ก็ทรงชักม้าหยุดดู <br />\n<img border=\"0\" vspace=\"10\" align=\"left\" width=\"322\" src=\"/files/u7481/031.jpg\" hspace=\"10\" height=\"500\" style=\"width: 272px; height: 441px\" />\n</p>\n<p>\nท้าวจันทรเสนทรงตรัสกับพระราชบุตรว่า <br />\n&quot;แปลกจริง รอยเท้าคนทำไมถึงมาอยู่ในป่าแถบนี้&quot;\n</p>\n<p>\nพระราชบุตรทูลตอบว่า <br />\n&quot;รอยเท้าเหล่านี้จะต้องเป็นรอยเท้าของผู้หญิงเป็นแน่ พระเจ้าค่ะ เสด็จพ่อ ถ้าเป็นรอยเท้าผู้ชายคงจะโตกว่านี้&quot;\n</p>\n<p>\nท้าวจันทรเสน จึงทรงตรัสว่า <br />\n&quot;ถ้าจะจริง แต่เอ...ทำไมจึงมีผู้หญิงกล้ามาเดินอยู่ในป่าได้ แต่ถ้าเราจะพูดไปตามตำราแล้วนะลูก หญิงที่พบในป่ามักจะงดงามกว่าหญิงที่หาได้ ในกรุง มาเถิดลูก...เราทั้งสองคนจะตามนางไป ถ้าพบนางงามจริงอย่างที่ว่าไว้ เจ้าจงเลือกเอาไปเป็นคู่คนหนึ่ง&quot;\n</p>\n<p>\nพระราชบุตรทูลตอบว่า <br />\n&quot;ขอเดชะ เสด็จพ่อ รอยเท้านั้นถ้าสังเกตดูดีๆ จะมีรอยเท้าหนึ่งที่ใหญ่กว่ากัน หม่อมฉันจะขอเลือกนางที่มีเท้าเล็กกว่ามาเป็นชายาของหม่อมฉัน เพราะนางคงจะเป็นสาวแรกรุ่นตามขนาดของเท้า ส่วนนางคนที่มีรอยเท้าค่อนข้างใหญ่กว่าก็คงจะเป็นสาวใหญ่ ขอให้เสด็จพ่อทรงรับไว้เป็น มเหสีเถิดพระเจ้าค่ะ&quot;\n</p>\n<p>\nท้าวจันทรเสน ทรงพระสรวลเบาๆ แล้วตรัสว่า<br />\n&quot;ทำไมเจ้าพูดเช่นนั้นล่ะลูก พระราชมารดาของเจ้าเพิ่งจะสิ้นพระชนม์ไปไม่นานนี้เอง&quot;\n</p>\n<p>\nพระราชบุตรจึงทรงตอบว่า <br />\n&quot;เสด็จพ่ออย่าทรงรับสั่งเช่นนั้นพระเจ้าค่ะ เพราะพระราชาที่ขาดพระมเหสีก็เปรียบเช่นบ้านที่ไม่มีคนดูแลนะพระเจ้าค่ะ&quot; \n</p>\n<p>\nท้าวจันทรเสน ทรงนิ่งตรึกตรองอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตอบพระราชบุตรว่า <br />\n&quot;ถ้านางคนที่มีเท้าโตกว่า มีลักษณะเป็นที่พอใจของพ่อ พ่อจะทำตามที่เจ้าว่ามาแล้วกัน&quot;\n</p>\n<p>\n ภาพจาก <a href=\"http://sukumal.brinkster.net/meaploy/vetal/image/031.jpg\">http://sukumal.brinkster.net/meaploy/vetal/image/031.jpg</a> \n</p>\n<p>\n<br />\n          ครั้นกษัตริย์ทั้งสองพระองค์ ทรงทำสัญญาแบ่งนางกันดังกล่าว แล้ว ก็ทรงชักม้าไปตามรอยเท้าในป่า สักครู่หนึ่งก็ทอดพระเนตร<br />\nเห็นนางทั้งสองนั่งพักอยู่ภายใต้ร่มไม้ ทั้งสองพระองค์จึงเดินเข้าไปหา แล้วทรงซักถาม พระมเหสีและพระธิดาก็ทรงเล่าเรื่องราวให้ทรงทราบโดยละเอียดทุกประการ\n</p>\n<p>\n          ท้าวจันทรเสนกับองค์ราชบุตร ก็เชิญเสด็จนางทั้งสองขึ้นหลังม้า โดยพระธิดามีพระบาทค่อนข้างโตกว่าให้เสด็จขึ้นทรงม้ากับ <br />\nท้าวจันทรเสน(พ่อ) ส่วนพระมเหสีนั้นทรงมีพระบาทเล็กกว่าพระธิดา ก็ขึ้นทรงม้ากับองค์ราชบุตร แล้วทั้งสี่พระองค์ก็เสด็จเข้าพระนคร      \n</p>\n<p>\n          ต่อมาท้าวจันทรเสน กับ พระราชบุตร ก็ได้อภิเษกกับทั้งสองพระองค์ แต่สลับคู่กันไป เพราะเหตุว่าขนาดเท้าผิด คือ พระราชบิดา <br />\nทรงอภิเษกกับพระธิดา และพระราชบุตรทรงอภิเษกกับพระมเหสี  \n</p>\n<p>\n          การกลับกลายเป็นว่า ลูกสาวกลายเป็นเมียพ่อ แม่กลายเป็นเมียลูก ลูกสาวเลยกลายเป็นแม่เลี้ยงของสามีแม่ตัวเอง และแม่กลับ <br />\nต้องกลายเป็นลูกสะใภ้ และต่อมาพระโอรสและพระธิดาก็เกิดจากนางทั้งสองต่อๆ ไป ...\n</p>\n<p>\n<br />\n          เวตาลเล่าถวายมาเพียงเท่านี้ก็หยุดอยู่ครู่หนึ่ง แล้วกล่าวต่อไปว่า <br />\n          &quot;ขอเดชะ พระองค์คิดว่าพวกเขาจะนับญาติกันอย่างไรเล่าเพคะ&quot;\n</p>\n<p>\n          พระเจ้าวิกรมาทิตย์ ได้ทรงฟังปัญหาของเวตาลแล้ว ก็ทรงคิดไม่ออก แม่กับลูก ลูกกับพ่อ พี่กับน้อง โอย...พัวพันกันยุ่งไปหมด มิ <br />\nหนำซ้ำ แม่เลี้ยงก็คือลูกสาว ลูกสะใภ้กลับกลายเป็นแม่ ก็ทำให้พระเจ้าวิกรมาทิตย์ทรงตีปัญหาไม่ออก จึงทรงนิ่ง เวตาลก็คอยทูลยั่วเย้า <br />\nให้ตอบปัญหาด้วยการกล่าวคำว่า &quot;โง่&quot; เพราะเวตาลทราบดีว่าพระเจ้าวิกรมาทิตย์มิทรงโปรดให้ใครมาดูถูกว่าพระองค์โง่          \n</p>\n<p>\n          เวลาผ่านไปชั่วครู่ เวตาลก็ทำกระแอม และกล่าวดูถูกพระเจ้าวิกรมาทิตย์ <br />\n          &quot;ฝ่าพระบาททรงจนปัญญาแล้วเป็นแน่ เรื่องเพียงเท่านี้พระองค์ก็มิสามารถชี้แจงได้ เป็นธรรมดาของคนเบาปัญญา แต่...บางที <br />\nพระราชบุตรอาจจะทรงเฉลียวฉลาดกว่า คงจะพอตอบคำถามหม่อมฉันแทนพระองค์ได้&quot;\n</p>\n<p>\n          พระเจ้าวิกรมาทิตย์ ตีคำถามนี้ไม่ได้จริงๆ พระองค์จึงทรงนิ่งมิได้ตรัสตอบอะไรไม่ช้าพระองค์จึงเกิดสติ คิดขึ้นมาได้ว่า <br />\n          &quot;ดีเลยที่เราคิดคำตอบไม่ออก เราจึงได้เงียบไม่เผลอตัวตอบปัญหาของมัน&quot;\n</p>\n<p>\n          พระเจ้าวิกรมาทิตย์ จึงทรงบีบพระหัตถ์ของพระราชบุตรไว้แน่นเป็นเชิงห้ามมิให้ตอบคำถามของเวตาล พระธรรมธวัชราชบุตรก็ <br />\nทรงนิ่งสนิท หาได้รับสั่งอะไรไม่ คราวนี้ เพราะความไม่รู้จริงๆ จึงทำให้พระเจ้าวิกรมาทิตย์ทรงเงียบไม่ตรัสตอบคำถาม เวตาลจึงเริ่มกระวนกระวายใจ\n</p>\n<p>\n<strong><u>แหล่งข้อมูล</u></strong>   <a href=\"http://gotoknow.org/blog/krusamart/111839\">http://gotoknow.org/blog/krusamart/111839</a> <br />\n \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003300\"><strong>เรียบเรียงโดย นาวสาวเลิศสกุล พูนสิริไพบูลย์ ม.6/4 เลขที่ 20 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย</strong></span>\n</p>\n', created = 1718481414, expire = 1718567814, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:386fb61a8bb4a437cee6ece32bbd9bad' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:42fd8fd55f8b8e0119102ed7739e1eb7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" align=\"middle\" width=\"240\" src=\"/files/u7481/image2.gif\" height=\"432\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพจาก <a href=\"http://blog.spu.ac.th/home/blog_data/891/4891/images/image2.gif\">http://blog.spu.ac.th/home/blog_data/891/4891/images/image2.gif</a>\n</p>\n', created = 1718481414, expire = 1718567814, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:42fd8fd55f8b8e0119102ed7739e1eb7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

นิทานเวตาลเรื่องที่ 10

รูปภาพของ sss27461

ภาพจาก http://blog.spu.ac.th/home/blog_data/891/4891/images/image2.gif

รูปภาพของ ssspoonsak

สุดยอด อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 696 คน กำลังออนไลน์