• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:69b925ccf63bb54a2e51bae7b8821dd2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<strong><em><span style=\"color: #993300\">ราชกรีฑาสโมสร หรือสปอร์ตคลับ</span></em></strong>\n</p>\n<p>\n        <span style=\"color: #400f75\">  นับได้ว่าเป็นสโมสรแรกของประเทศไทยเป็นศูนย์รวมของชาวต่างประเทศในกรุงเทพฯ ซึ่งยังอยู่ในปัจจุบัน และศูนย์รวมสปอร์ตคลับเป็นศูนย์กลางของกีฬาหลายประเภท โดยเฉพาะกีฬาฟุตบอลได้มีผู้เล่นระดับชาติจากประเทศอังกฤษเข้าร่วมทีมอยู่หลยคน อาทิเช่น มร.เอ.พลี.โคลบี. อาจารย์โรงรียนราชวิทยาลัย นับว่าเป็นทีมที่ดีมีความพร้อมมากทั้งทางด้านผู้เล่นงบประมาฌ และสนามแข่งขันมาตรฐาน จึงต้องเป็นเจ้าภาพให้ทีมต่างๆของไทยเรามาเยือนอยู่เสมอทำให้วงการฟุตบอลไทยในยุคนั้นได้พัฒนายิ่งขึ้น และรัชกาลที่ 6 ทรงสนพระทัยโดยเสด็จมาเป็นองค์ประธานพระราชทานรางวัลเป็นพระราชกิจวัตร ทำให้ประชาชนเรียกการแข่งขันสมัยนั้นว่า &quot;ฟุตบอลหน้าพระที่นั่ง&quot; และระหว่างพักครึ่งเวลามีการแสดง &quot;พวกฟุตบอลตลกหลวง&quot; นับเป็นที่ชื่นชอบของปวงชนชาวไทยสมัยนั้นเป็นอย่างยิ่ง และการแข่งขันฟุตบอลสโมสรครั้งแรกนี้ มีทีมสมัครเข้าร่วมแข่งขัน 12 ทีม ใช้เวลาในการแข่งขัน 46 วัน (11 กันยายน-27 ตุลาคม 2458) จำนวน 29 แมตช์ ณ สนามเสือป่า ถนนหน้าพระลานสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร หรือสนามหน้ากองอำนวยการรักษาการปลอดภัยแห่งชาติปัจจุบัน พระองค์รัชกาลที่ 6 ได้ทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งขณะกรรมการดำเนินการแข่งขัน นับว่าฟุตบอลไทยมีระบบในการบริหารมานานถึง 77 ปีแล้ว <br />\nความเจริญก้าวหน้าของฟุตบอลภายในประเทศ ได้แผ่ขยายกว้างขว้างทั่วประเทศไปสู่สโมสรกีฬาต่างจังหวัด หรือชนบทอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นที่นิยมกันทั่วไปภายใต้การสนับสนุนของรัชกาลที่ 6 และพระองค์ท่านทรงเล็งเห็นการณ์ไกลว่าควรที่จะตั้งศูนย์กลางหรือสมาคมอย่างมีระบบแผนที่ดีโดยมีคณะกรรมการบริหารสมาคมและทรงมีพระบรมราชโองการก่อตั้ง &quot;สโมสรคณะฟุตบอลสยาม&quot; ขึ้นมาโดยพระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ทรงเล่นฟุตบอลเอง <br />\nรัชกาลที่ 6ได้ทรงมีวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งสยามดังนี้ คือ <br />\n1. เพื่อให้ผู้เล่นฟุตบอลมีพลานามัยที่สมบูรณ์ <br />\n2. เพื่อให้เกิดความสามัคคี <br />\n3. เพื่อให้เกิดไหวพริบ และเป็นนักกีฬาที่ประหยัดดี <br />\n4. เพื่อเป็นการศึกษากลยุทธในการรุกและรับเช่นเดียวกับกองทัพทหาร <br />\nจากวัตถุประสงค์ดังกล่าว นับเป็นสิ่งที่ผลักดันให้สมาคมฟุตบแลแห่งสยามดำเนินกิจการเจริญก้าวหน้ามาจนตราบถึงทุกวันนี้ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ <br />\nพ.ศ.2458 การแข่งขันระหว่างชาติครั้งแรกของประเทศไทย เมื่อวันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2458 ณ สนามราชกรีฑาสโมสร (สนามม้าปทุมวันปัจจุบัน) ระหว่าง &quot;ทีมชาติสยาม&quot; กับ &quot;ทีมราชกรีฑาสโมสร&quot; ต่อหน้าพระที่นั่ง และมี &quot;มร.ดักลาส โรเบิร์ตสัน&quot; เป็นผู้ตัดสินซึ่งการแข่งขันปรากฏว่า ทีมชาติสยาม ชนะทีมราชกรีฑาสโมสร 2:1ประตูและครั้งที่2 เมื่อวันเสาร์ที่18 ธันวาคม พ.ศ.2458เป็นการแข่งขันระหว่างชาตินัดที่2 แบบเหย้าเยือนต่อหน้าพระที่นั่ง ณ สนามเสือป่าดุสิต และผลปรากฏว่าทีมชาติสยามเสมอกับทีมราชกรีฑาสโมสรหรือทีมรวมต่างชาติ 1:1ประตู <br />\nสมาคนฟุตบอลแห่งประเทศไทย (The Football Association of Thailand) ได้วิวัฒนาการตามลำดับต่อไปนี้ <br />\nพ.ศ.2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งสยามขึ้นเมื่อ วันที่ 25 เมษายน พ.ศ.2459 และตราข้อบังคับขึ้นใช้ในสมาคมฟุตบอลแห่งสยามด้วยซึ่งมีชื่อว่า ส.ฟ.ท. และเขีนยเป็นภาษาอังกฤษว่า &quot;The Football Association of Thailand Under The Pratonage of His The King&quot; ใช้อักษรย่อว่า F.A.T. และสมาคมฯจัดการแข่งขันถ้วยใหญ่และถ้วยน้อยเป็นครั้งแรกในปีด้วย <br />\nพ.ศ.2468 เป็นภาคีสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลระหว่างชาติ เมื่อ วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.2468 ซึ่งมีชื่อย่อว่า ฟีฟ่า และเขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า &quot;Faderation Internation De Football Association&quot; ใช้อักษรย่อว่า F.I.F.A. <br />\nพ.ศ.2471 การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับครั้งที่ 1 <br />\nพ.ศ.2475-2490 งดการแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน เพราะเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 <br />\nพ.ศ.2477 เริ่มการแข่งขันฟุตบอลประเพณี จุลาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ <br />\nพ.ศ.2493 การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับครั้งที่ 2 <br />\nพ.ศ.2495 สมาคมฟุตบอลฯได้จัดการแข่งขันฟุตบอลถ้วยน้อยและถ้วยใหญ่ <br />\nพ.ศ.2499 การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับครั้งที่ 3 และเรียกว่าข้อบังคับลักษณะปกครอง <br />\nพ.ศ.2499 สมาคมฟุตบอลฯได้สิทธิ์ส่งทีมฟุตบอลชาติไทยเข้าร่วมการแข่งขัน &quot;กีฬาโอลิมปิก&quot; ครั้งที่ 16 นับเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยมีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขัน เมื่อ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2499 ณ นครเมลเบอร์น ประเทศออสเตรเลีย <br />\nพ.ศ.2500 เป็นภาคีสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย ซึ่งมีชื่อย่อว่า เอ เอฟ ซี และเขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า &quot;Asian Football Confederation&quot; ใช้อักษรย่อว่า A.F.C. <br />\nพ.ศ.2501 การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับลักษณะปกครองครั้งที่ 4 <br />\nพ.ศ.2503 การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับลักษณะปกครองครั้งที่ 5 <br />\nพ.ศ.2504-ปัจจุบัน สมาคมฟุตบอลได้จัดแข่งขันฟุตบอลถ้วยน้อยและถ้วยใหญ่ ซึ่งภายหลังได้จัดการแข่งขันแบบเดียวกับสมาคมฟุตบอลอังกฤษ คือ จัดเป็นประเภทถ้วยพระราชทาน ก ข ค และ ง และยังจัดการแข่งขันประเภทอื่นๆอีก เช่น ฟุตบอลนักเรียน ฟุตบอลเตรียมอุดม ฟุตบอลอาชีวะ ฟุตบอลเยาวชนและอนุชน ฟุตบอลอุดมศึกษา ฟุตบอลเอฟ.เอ.คัพ และฟุตบอลควีนส์คัพ ฟุตบอลคงส์คัพ เป็นต้น ฯลฯ นอกจากนี้ ยังได้จัดการแข่งขันและส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันกับทีมนานาชาติมากมายจนถึงปัจจุบัน </span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มา :www.geocities.com/poomin40/pavatballthai.html\n</p>\n<p></p>', created = 1719173323, expire = 1719259723, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:69b925ccf63bb54a2e51bae7b8821dd2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติและกติกากีฬาฟุตบอล

รูปภาพของ sss29201

ราชกรีฑาสโมสร หรือสปอร์ตคลับ

          นับได้ว่าเป็นสโมสรแรกของประเทศไทยเป็นศูนย์รวมของชาวต่างประเทศในกรุงเทพฯ ซึ่งยังอยู่ในปัจจุบัน และศูนย์รวมสปอร์ตคลับเป็นศูนย์กลางของกีฬาหลายประเภท โดยเฉพาะกีฬาฟุตบอลได้มีผู้เล่นระดับชาติจากประเทศอังกฤษเข้าร่วมทีมอยู่หลยคน อาทิเช่น มร.เอ.พลี.โคลบี. อาจารย์โรงรียนราชวิทยาลัย นับว่าเป็นทีมที่ดีมีความพร้อมมากทั้งทางด้านผู้เล่นงบประมาฌ และสนามแข่งขันมาตรฐาน จึงต้องเป็นเจ้าภาพให้ทีมต่างๆของไทยเรามาเยือนอยู่เสมอทำให้วงการฟุตบอลไทยในยุคนั้นได้พัฒนายิ่งขึ้น และรัชกาลที่ 6 ทรงสนพระทัยโดยเสด็จมาเป็นองค์ประธานพระราชทานรางวัลเป็นพระราชกิจวัตร ทำให้ประชาชนเรียกการแข่งขันสมัยนั้นว่า "ฟุตบอลหน้าพระที่นั่ง" และระหว่างพักครึ่งเวลามีการแสดง "พวกฟุตบอลตลกหลวง" นับเป็นที่ชื่นชอบของปวงชนชาวไทยสมัยนั้นเป็นอย่างยิ่ง และการแข่งขันฟุตบอลสโมสรครั้งแรกนี้ มีทีมสมัครเข้าร่วมแข่งขัน 12 ทีม ใช้เวลาในการแข่งขัน 46 วัน (11 กันยายน-27 ตุลาคม 2458) จำนวน 29 แมตช์ ณ สนามเสือป่า ถนนหน้าพระลานสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร หรือสนามหน้ากองอำนวยการรักษาการปลอดภัยแห่งชาติปัจจุบัน พระองค์รัชกาลที่ 6 ได้ทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งขณะกรรมการดำเนินการแข่งขัน นับว่าฟุตบอลไทยมีระบบในการบริหารมานานถึง 77 ปีแล้ว
ความเจริญก้าวหน้าของฟุตบอลภายในประเทศ ได้แผ่ขยายกว้างขว้างทั่วประเทศไปสู่สโมสรกีฬาต่างจังหวัด หรือชนบทอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นที่นิยมกันทั่วไปภายใต้การสนับสนุนของรัชกาลที่ 6 และพระองค์ท่านทรงเล็งเห็นการณ์ไกลว่าควรที่จะตั้งศูนย์กลางหรือสมาคมอย่างมีระบบแผนที่ดีโดยมีคณะกรรมการบริหารสมาคมและทรงมีพระบรมราชโองการก่อตั้ง "สโมสรคณะฟุตบอลสยาม" ขึ้นมาโดยพระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ทรงเล่นฟุตบอลเอง
รัชกาลที่ 6ได้ทรงมีวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งสยามดังนี้ คือ
1. เพื่อให้ผู้เล่นฟุตบอลมีพลานามัยที่สมบูรณ์
2. เพื่อให้เกิดความสามัคคี
3. เพื่อให้เกิดไหวพริบ และเป็นนักกีฬาที่ประหยัดดี
4. เพื่อเป็นการศึกษากลยุทธในการรุกและรับเช่นเดียวกับกองทัพทหาร
จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว นับเป็นสิ่งที่ผลักดันให้สมาคมฟุตบแลแห่งสยามดำเนินกิจการเจริญก้าวหน้ามาจนตราบถึงทุกวันนี้ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
พ.ศ.2458 การแข่งขันระหว่างชาติครั้งแรกของประเทศไทย เมื่อวันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2458 ณ สนามราชกรีฑาสโมสร (สนามม้าปทุมวันปัจจุบัน) ระหว่าง "ทีมชาติสยาม" กับ "ทีมราชกรีฑาสโมสร" ต่อหน้าพระที่นั่ง และมี "มร.ดักลาส โรเบิร์ตสัน" เป็นผู้ตัดสินซึ่งการแข่งขันปรากฏว่า ทีมชาติสยาม ชนะทีมราชกรีฑาสโมสร 2:1ประตูและครั้งที่2 เมื่อวันเสาร์ที่18 ธันวาคม พ.ศ.2458เป็นการแข่งขันระหว่างชาตินัดที่2 แบบเหย้าเยือนต่อหน้าพระที่นั่ง ณ สนามเสือป่าดุสิต และผลปรากฏว่าทีมชาติสยามเสมอกับทีมราชกรีฑาสโมสรหรือทีมรวมต่างชาติ 1:1ประตู
สมาคนฟุตบอลแห่งประเทศไทย (The Football Association of Thailand) ได้วิวัฒนาการตามลำดับต่อไปนี้
พ.ศ.2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งสยามขึ้นเมื่อ วันที่ 25 เมษายน พ.ศ.2459 และตราข้อบังคับขึ้นใช้ในสมาคมฟุตบอลแห่งสยามด้วยซึ่งมีชื่อว่า ส.ฟ.ท. และเขีนยเป็นภาษาอังกฤษว่า "The Football Association of Thailand Under The Pratonage of His The King" ใช้อักษรย่อว่า F.A.T. และสมาคมฯจัดการแข่งขันถ้วยใหญ่และถ้วยน้อยเป็นครั้งแรกในปีด้วย
พ.ศ.2468 เป็นภาคีสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลระหว่างชาติ เมื่อ วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.2468 ซึ่งมีชื่อย่อว่า ฟีฟ่า และเขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า "Faderation Internation De Football Association" ใช้อักษรย่อว่า F.I.F.A.
พ.ศ.2471 การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับครั้งที่ 1
พ.ศ.2475-2490 งดการแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน เพราะเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2
พ.ศ.2477 เริ่มการแข่งขันฟุตบอลประเพณี จุลาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ.2493 การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับครั้งที่ 2
พ.ศ.2495 สมาคมฟุตบอลฯได้จัดการแข่งขันฟุตบอลถ้วยน้อยและถ้วยใหญ่
พ.ศ.2499 การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับครั้งที่ 3 และเรียกว่าข้อบังคับลักษณะปกครอง
พ.ศ.2499 สมาคมฟุตบอลฯได้สิทธิ์ส่งทีมฟุตบอลชาติไทยเข้าร่วมการแข่งขัน "กีฬาโอลิมปิก" ครั้งที่ 16 นับเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยมีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขัน เมื่อ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2499 ณ นครเมลเบอร์น ประเทศออสเตรเลีย
พ.ศ.2500 เป็นภาคีสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย ซึ่งมีชื่อย่อว่า เอ เอฟ ซี และเขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า "Asian Football Confederation" ใช้อักษรย่อว่า A.F.C.
พ.ศ.2501 การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับลักษณะปกครองครั้งที่ 4
พ.ศ.2503 การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับลักษณะปกครองครั้งที่ 5
พ.ศ.2504-ปัจจุบัน สมาคมฟุตบอลได้จัดแข่งขันฟุตบอลถ้วยน้อยและถ้วยใหญ่ ซึ่งภายหลังได้จัดการแข่งขันแบบเดียวกับสมาคมฟุตบอลอังกฤษ คือ จัดเป็นประเภทถ้วยพระราชทาน ก ข ค และ ง และยังจัดการแข่งขันประเภทอื่นๆอีก เช่น ฟุตบอลนักเรียน ฟุตบอลเตรียมอุดม ฟุตบอลอาชีวะ ฟุตบอลเยาวชนและอนุชน ฟุตบอลอุดมศึกษา ฟุตบอลเอฟ.เอ.คัพ และฟุตบอลควีนส์คัพ ฟุตบอลคงส์คัพ เป็นต้น ฯลฯ นอกจากนี้ ยังได้จัดการแข่งขันและส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันกับทีมนานาชาติมากมายจนถึงปัจจุบัน

แหล่งที่มา :www.geocities.com/poomin40/pavatballthai.html

รูปภาพของ ssspoonsak

ข้อมูลก็เยอะ น่าจะหามาจากหลายเว็บนะ ไม่ใช่เอามาจากเว็บเดียว ภาพประกอบก็น่าจะหาไม่ยากที่จะเพิ่มเติม 

สีตัวอักษร สีอ่อนอ่านยากนะ

ขออีกนิด อย่าลืมอ้างแหล่งที่มาของภาพไว้ใต้ภาพ
และอ้างแหล่งที่มาของข้อมูลไว้ทุกหน้า
จะเป็นกำลังใจให้ แล้วจะมาดูอีกครั้ง

อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 328 คน กำลังออนไลน์