• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:084ab31188ffbe86cf86adbdcf30d9f7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n1.เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงวางรากฐานปฏิรูปการปกครอง                             <u>ตอบ</u>  ต้องประสบปัญหาเผชิญหน้ากับการขยายอิทธิพลของชาติมหาอำนาจจักรวรรดินิยมตะวันตก  ได้แก่ อังกฤษ และ ฝรั่งเศส\n</p>\n<p>\n2.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้ยกเลิกการปกครองแบบจตุสดมภ์แล้วได้จัดจัดการปกครองใหม่เป็นอย่างไร<br />\n<u>ตอบ</u>   2.1 พยายามใช้ระบบคุณธรรมเข้าแทนที่ระบบอุปถัมภ์ในระบบราชการ<br />\n2.2 ทรงกวดขันความประพฤติของข้าราชการทั้งในด้านการปกครองและความประพฤติส่วนตัว<br />\n2.3 ทรงพยายามทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมอำนาจทางการเมืองและสังคมไทย<br />\n2.4 มีพระราชประสงค์ให้มีลักษณะการปกครองแบบตะวันตกมากขึ้น\n</p>\n<p>\n3.ในสมัยรัชกาลที่5 มีการปฏิรูปการปกครองในส่วนภูมิภาคอย่างไร <br />\n<u>ตอบ</u>  ยกเลิกระบบเมืองเอก โท ตรี แต่ให้รวมหัวเมืองภาคเหนือ<br />\nภาคใต้และเมืองท่าตั้งเป็น “มณฑล”ขึ้นกับกระทรวงมหาดไทยมีสมุหเทศาภิบาล<br />\nหรือข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครองมณฑล แต่ละมณฑลประกอบด้วยเมือง   <br />\nมีผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้ปกครอง<br />\nแต่ละเมืองยังแบ่งเป็นอำเภอมีนายอำเภอเป็นผู้ปกครอง<br />\nแต่ละอำเภอแบ่งเป็นตำบล<br />\nแต่ละตำบลแบ่งออกเป็นหมู่บ้านกำนันและผู้ใหญ่บ้านที่มาจากการเลือกตั้งเป็น<br />\nผู้ปกครองตำบลและหมู่บ้าน\n</p>\n<p>\n4.ข้อดีของการปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่นในสมัยรัชกาลที่5 มีอะไรบ้าง<br />\n<u>ตอบ</u>    4.1 ต้องการให้ราษฎรมีส่วนในการปกครองประเทศ<br />\n4.2 มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาล<br />\n4.3 มีการตั้งคณะกรรมการสุขภิบาลขึ้นจากคนในท้องถิ่น<br />\n4.4 มีการเก็บภาษีโรงร้านและให้สุขาภิบาลมีอำนาจใช้เงินที่เก็บได้มาบำรุงท้องถิ่นของตน    </p>\n<p>5. จงอธิบายสาเหตุการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475                                                                <br />\n<u>ตอบ</u>  การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปีพ.ศ.2475 มีสาเหตุหลายประการ เช่น<br />\nปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ ที่รัฐบาลภายใต้ระบอบเก่าไม่สามารถแก้ไขได้<br />\nอิทธิพลความคิดทางการเมืองแบบประชาธิปไตยในประเทศตะวันตก<br />\nในหมู่นักศึกษาไทยในต่างประเทศ กระแสการโค่นล้ม<br />\nระบอบกษัตริย์ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นรัสเซีย จีน เยอรมนี ฯลฯ<br />\nความรู้สึกชาตินิยมที่ประเทศไทยถูกเอารัดเอาเปรียบ<br />\nจากสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรม ซึ่งรัฐบาลสยามทำไว้กับประเทศมหาอำนาจตะวันตก<br />\nความขัดแย้ง<br />\nระหว่างกลุ่มนายทหารที่ได้รับการศึกษาจากต่างประเทศกับนายทหารที่เป็นพระบรม<br />\nวงศานุวงศ์ และความเสื่อมโทรมของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เอง เหล่านี้<br />\nล้วนเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการปฏิวัติ 2475\n</p>\n<p>\n6.ผลการทางการเมืองการปกครองที่เกิดจากการเปลี่ยนการปกครองในปี 2475<br />\nมีอะไรบ้าง<br />\n<br />\n<u>ตอบ</u>  สังคมไทยได้ก้าวสู่ความเป็นอารยตามแบบตะวันตก  โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเจริญที่ปรากฏอยู่ในรูปของวัตถุ<br />\nไม่ว่าจะเป็นถนหนทาง  รถไฟ  ไฟฟ้า  ประปา  เขื่อน  ชลประทาน <br />\nโรงพยาบาล  ระบบการสื่อสารคมนาคม ที่ทำการรัฐบาล      ห้างร้าน <br />\nและตึกรามบ้านช่อง  ตลอดจนเครื่องใช้อันทันสมัย <br />\nอันมีเจ้านายและชนชั้นสูงเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง<br />\nส่วนชาวบ้านสามัญชนเป็นผู้ตาม <br />\nนอกจากนั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงในขนบธรรมเนียมบางอย่างเพื่อให้สอดคล้องกับ<br />\nการปกครองระบบใหม่  ทั้งนี้เพราะรัฐบาลต้องติดต่อกับชาติ อื่นๆทั่วโลก<br />\nจึงต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยให้เป็นสากลและสอดคล้องกับความเป็นไป<br />\nของโลก  แต่ให้คงเอกลักษณ์ของความเป็นไทยไว้\n</p>\n<p>\n7.ในระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตย พระมหากษัตริย์มีความสำคัญอย่างไร<br />\n<u>ตอบ</u>   สังคมทุกสังคมย่อมมีหัวหน้าทำหน้าที่เป็นผู้นำของสังคม<br />\nในอดีตสังคมต่าง ๆ มักมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข<br />\nและทรงอยู่คู่กับประชาชนมานาน<br />\nพระมหากษัตริย์จึงทรงเป็นศูนย์รวมแห่งความสามัคคีของชาติ<br />\nจึงดำรงสถาบันพระมหากษัตริย์ไว้ เป็นแต่ให้ทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ\n</p>\n<p>\n<meta http-equiv=\"Content-Type\" content=\"text/html; charset=utf-8\" /><br />\n<meta name=\"ProgId\" content=\"Word.Document\" /><br />\n<meta name=\"Generator\" content=\"Microsoft Word 11\" /><br />\n<meta name=\"Originator\" content=\"Microsoft Word 11\" /></p>\n<link href=\"file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cxz%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml\" rel=\"File-List\" />\n<!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:WordDocument>\n<w:View>Normal</w:View>\n<w:Zoom>0</w:Zoom>\n<w:PunctuationKerning/>\n<w:ValidateAgainstSchemas/>\n<w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid>\n<w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent>\n<w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText>\n<w:Compatibility>\n<w:BreakWrappedTables/>\n<w:SnapToGridInCell/>\n<w:ApplyBreakingRules/>\n<w:WrapTextWithPunct/>\n<w:UseAsianBreakRules/>\n<w:DontGrowAutofit/>\n</w:Compatibility>\n<w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel>\n</w:WordDocument>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:WordDocument>\n<w:View>Normal</w:View>\n<w:Zoom>0</w:Zoom>\n<w:PunctuationKerning/>\n<w:ValidateAgainstSchemas/>\n<w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid>\n<w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent>\n<w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText>\n<w:Compatibility>\n<w:BreakWrappedTables/>\n<w:SnapToGridInCell/>\n<w:ApplyBreakingRules/>\n<w:WrapTextWithPunct/>\n<w:UseAsianBreakRules/>\n<w:DontGrowAutofit/>\n</w:Compatibility>\n<w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel>\n</w:WordDocument>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:LatentStyles DefLockedState=\"false\" LatentStyleCount=\"156\">\n</w:LatentStyles>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:LatentStyles DefLockedState=\"false\" LatentStyleCount=\"156\">\n</w:LatentStyles>\n</xml><![endif]--><style>\n<!--\n/* Font Definitions */\n@font-face\n{font-family:\"Angsana New\";\npanose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}\n@font-face\n{font-family:Calibri;\npanose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:swiss;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}\n/* Style Definitions */\np.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal\n{mso-style-parent:\"\";\nmargin-top:0cm;\nmargin-right:0cm;\nmargin-bottom:10.0pt;\nmargin-left:0cm;\nline-height:115%;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:11.0pt;\nmso-bidi-font-size:14.0pt;\nfont-family:Calibri;\nmso-fareast-font-family:Calibri;\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\n@page Section1\n{size:612.0pt 792.0pt;\nmargin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt;\nmso-header-margin:36.0pt;\nmso-footer-margin:36.0pt;\nmso-paper-source:0;}\ndiv.Section1\n{page:Section1;}\n--><!--\n/* Font Definitions */\n@font-face\n{font-family:\"Angsana New\";\npanose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}\n@font-face\n{font-family:Calibri;\npanose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:swiss;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}\n/* Style Definitions */\np.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal\n{mso-style-parent:\"\";\nmargin-top:0cm;\nmargin-right:0cm;\nmargin-bottom:10.0pt;\nmargin-left:0cm;\nline-height:115%;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:11.0pt;\nmso-bidi-font-size:14.0pt;\nfont-family:Calibri;\nmso-fareast-font-family:Calibri;\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\n@page Section1\n{size:612.0pt 792.0pt;\nmargin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt;\nmso-header-margin:36.0pt;\nmso-footer-margin:36.0pt;\nmso-paper-source:0;}\ndiv.Section1\n{page:Section1;}\n-->\n</style><!--[if gte mso 10]>\n<style>\n/* Style Definitions */\ntable.MsoNormalTable\n{mso-style-name:ตารางปกติ;\nmso-tstyle-rowband-size:0;\nmso-tstyle-colband-size:0;\nmso-style-noshow:yes;\nmso-style-parent:\"\";\nmso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt;\nmso-para-margin:0cm;\nmso-para-margin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:10.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-ansi-language:#0400;\nmso-fareast-language:#0400;\nmso-bidi-language:#0400;}\n</style>\n<![endif]--><!--[if gte mso 10]>\n<style>\n/* Style Definitions */\ntable.MsoNormalTable\n{mso-style-name:ตารางปกติ;\nmso-tstyle-rowband-size:0;\nmso-tstyle-colband-size:0;\nmso-style-noshow:yes;\nmso-style-parent:\"\";\nmso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt;\nmso-para-margin:0cm;\nmso-para-margin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:10.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-ansi-language:#0400;\nmso-fareast-language:#0400;\nmso-bidi-language:#0400;}\n</style>\n<![endif]--><p><span style=\"font-size: 11pt; line-height: 115%; font-family: Calibri\">แหล่งที่มา : http://www.fm100cmu.com/blog/lawcmu/content.php?id=612</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nจัดทำโดย : นางสาว นพวรรณ  คงคาหลวง  ชั้น ม.6/4  เลขที่ 17\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 11pt; line-height: 115%; font-family: Calibri\"></span></p>\n', created = 1727543195, expire = 1727629595, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:084ab31188ffbe86cf86adbdcf30d9f7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การเมืองการปกครอง อ.มยุรี

รูปภาพของ sss27443

1.เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงวางรากฐานปฏิรูปการปกครอง                             ตอบ  ต้องประสบปัญหาเผชิญหน้ากับการขยายอิทธิพลของชาติมหาอำนาจจักรวรรดินิยมตะวันตก  ได้แก่ อังกฤษ และ ฝรั่งเศส

2.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้ยกเลิกการปกครองแบบจตุสดมภ์แล้วได้จัดจัดการปกครองใหม่เป็นอย่างไร
ตอบ   2.1 พยายามใช้ระบบคุณธรรมเข้าแทนที่ระบบอุปถัมภ์ในระบบราชการ
2.2 ทรงกวดขันความประพฤติของข้าราชการทั้งในด้านการปกครองและความประพฤติส่วนตัว
2.3 ทรงพยายามทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมอำนาจทางการเมืองและสังคมไทย
2.4 มีพระราชประสงค์ให้มีลักษณะการปกครองแบบตะวันตกมากขึ้น

3.ในสมัยรัชกาลที่5 มีการปฏิรูปการปกครองในส่วนภูมิภาคอย่างไร 
ตอบ  ยกเลิกระบบเมืองเอก โท ตรี แต่ให้รวมหัวเมืองภาคเหนือ
ภาคใต้และเมืองท่าตั้งเป็น “มณฑล”ขึ้นกับกระทรวงมหาดไทยมีสมุหเทศาภิบาล
หรือข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครองมณฑล แต่ละมณฑลประกอบด้วยเมือง   
มีผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้ปกครอง
แต่ละเมืองยังแบ่งเป็นอำเภอมีนายอำเภอเป็นผู้ปกครอง
แต่ละอำเภอแบ่งเป็นตำบล
แต่ละตำบลแบ่งออกเป็นหมู่บ้านกำนันและผู้ใหญ่บ้านที่มาจากการเลือกตั้งเป็น
ผู้ปกครองตำบลและหมู่บ้าน

4.ข้อดีของการปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่นในสมัยรัชกาลที่5 มีอะไรบ้าง
ตอบ    4.1 ต้องการให้ราษฎรมีส่วนในการปกครองประเทศ
4.2 มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาล
4.3 มีการตั้งคณะกรรมการสุขภิบาลขึ้นจากคนในท้องถิ่น
4.4 มีการเก็บภาษีโรงร้านและให้สุขาภิบาลมีอำนาจใช้เงินที่เก็บได้มาบำรุงท้องถิ่นของตน   

5. จงอธิบายสาเหตุการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475                                                               
ตอบ  การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปีพ.ศ.2475 มีสาเหตุหลายประการ เช่น
ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ ที่รัฐบาลภายใต้ระบอบเก่าไม่สามารถแก้ไขได้
อิทธิพลความคิดทางการเมืองแบบประชาธิปไตยในประเทศตะวันตก
ในหมู่นักศึกษาไทยในต่างประเทศ กระแสการโค่นล้ม
ระบอบกษัตริย์ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นรัสเซีย จีน เยอรมนี ฯลฯ
ความรู้สึกชาตินิยมที่ประเทศไทยถูกเอารัดเอาเปรียบ
จากสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรม ซึ่งรัฐบาลสยามทำไว้กับประเทศมหาอำนาจตะวันตก
ความขัดแย้ง
ระหว่างกลุ่มนายทหารที่ได้รับการศึกษาจากต่างประเทศกับนายทหารที่เป็นพระบรม
วงศานุวงศ์ และความเสื่อมโทรมของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เอง เหล่านี้
ล้วนเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการปฏิวัติ 2475

6.ผลการทางการเมืองการปกครองที่เกิดจากการเปลี่ยนการปกครองในปี 2475
มีอะไรบ้าง

ตอบ  สังคมไทยได้ก้าวสู่ความเป็นอารยตามแบบตะวันตก  โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเจริญที่ปรากฏอยู่ในรูปของวัตถุ
ไม่ว่าจะเป็นถนหนทาง  รถไฟ  ไฟฟ้า  ประปา  เขื่อน  ชลประทาน 
โรงพยาบาล  ระบบการสื่อสารคมนาคม ที่ทำการรัฐบาล      ห้างร้าน 
และตึกรามบ้านช่อง  ตลอดจนเครื่องใช้อันทันสมัย 
อันมีเจ้านายและชนชั้นสูงเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ส่วนชาวบ้านสามัญชนเป็นผู้ตาม 
นอกจากนั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงในขนบธรรมเนียมบางอย่างเพื่อให้สอดคล้องกับ
การปกครองระบบใหม่  ทั้งนี้เพราะรัฐบาลต้องติดต่อกับชาติ อื่นๆทั่วโลก
จึงต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยให้เป็นสากลและสอดคล้องกับความเป็นไป
ของโลก  แต่ให้คงเอกลักษณ์ของความเป็นไทยไว้

7.ในระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตย พระมหากษัตริย์มีความสำคัญอย่างไร
ตอบ   สังคมทุกสังคมย่อมมีหัวหน้าทำหน้าที่เป็นผู้นำของสังคม
ในอดีตสังคมต่าง ๆ มักมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
และทรงอยู่คู่กับประชาชนมานาน
พระมหากษัตริย์จึงทรงเป็นศูนย์รวมแห่งความสามัคคีของชาติ
จึงดำรงสถาบันพระมหากษัตริย์ไว้ เป็นแต่ให้ทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ




แหล่งที่มา : http://www.fm100cmu.com/blog/lawcmu/content.php?id=612

 

จัดทำโดย : นางสาว นพวรรณ  คงคาหลวง  ชั้น ม.6/4  เลขที่ 17

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 288 คน กำลังออนไลน์