• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:db1d40cf16f364a8104548e5c2876784' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n1. เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงวางรากฐานปฏิรูปการปกครอง                                                                                                                         \n</p>\n<p>\n-รัชกาลพระองค์นั้นเป็นระยะเวลาที่ลัทธิจักรวรรดินิยมกำลังแผ่ขยายมาทางตะวันออกไกล ด้วยนโยบาย   Colonial agrandisement  ประเทศมหาอำนาจตะวันตกเช่นอังกฤษและฝรั่งเศสได้ประเทศข้างเคียงรอบๆ ไทยเป็นเมืองขึ้น  และทั้งสองประเทศยังมุ่งแสวงหาผลประโยน์จากประเทศไทยดังเช่นที่ฝรั่งเศสได้ถือโอกาสที่ไทยยังไม่มีระบบการปกครองที่ดี และรักษาอาณาเขตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้อ้างวิธีการสำรวจทางวิชาการซึ่งเรียกว่า  &quot;Scientific expedition&quot;  เป็นเครื่องมือโดยอาศัยปัญหาเรื่องชายแดนเป็นเหตุ กล่าวคือ เมื่อฝรั่งเศสได้ดินแดนญวน แล้วได้ตั้งเจ้าหน้าที่ของตนออกเดินสำรวจพลเมืองและเขตแดนว่ามีอาณาเขตแน่นอนเพียงใด และเนื่องจากเขตแดนระหว่างประเทศไทยมิได้กำหนดไว้อย่างแน่นนอนรัดกุม จึงเป็นการง่ายที่พวกสำรวจเหล่านั้นจะได้ถือโอกาสผนวกดินแดนของไทยเข้าไปกับฝ่ายตนมากขึ้นทุกที ด้วยเหตุดังกล่าวประเทศไทย  จึงจำเป็นต้องปรับปรุงการปกครองบ้านเมืองให้เรียบร้อยเพื่อป้องกันเหตุดังกล่าว                                                                                  มูลเหตุอีกประการหนึ่งของการปรับปรุงการปกครองก็คือ พระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในอันที่จะยกเลิกขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นการกดขี่กันหรือก่อให้เกิดความอยุติธรรมแก่อาณาประชาราษฎรซึ่งมีอยู่นั้นเสีย ขนบธรรมเนียมดังกล่าวได้แก่การมีทาสการใช้จารีตนครบาลในการพิจารณาความพระราชประสงค์ของพระองค์ในเรื่องนี้ ปรากฏในพระราชปรารภว่าด้วยเรื่องทาสและเกษียณอายุตอนหนึ่งว่า  &quot;ข้าพเจ้ามีความปรารถนาว่าการสิ่งไรซึ่งเป็นการเจริญมีคุณแก่ราษฎรควรจะเป็นไปทีละเล็กทีละน้อยตามกาลเวลา การสิ่งไรที่เป็นธรรมเนียมบ้านเมืองมาแต่โบราณแต่ไม่เป็นยุติธรรมก็อยากจะเลิกถอนเสีย&quot;\n</p>\n<p>\n2.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหัวทรงโปรดให้ยกเลิกการปกครองแบบจตุสดมภ์แล้ว ได้จัดการปกครองใหม่เป็นอย่างไร\n</p>\n<p>\n-จัดสรรให้อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละกระทรวงให้เป็นสัดส่วน ดังนี้ คือ                                                                     \n</p>\n<p>\n1) กระทรวงมหาดไทย บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือและเมืองลาวประเทศราช (ในช่วงแรก) แต่ต่อมาได้มีการโอนการบังคับบัญชาหัวเมืองทั้งหมดที่มีให้อยู่ในความดูแลของกระทรวงมหาดไทย                                                                                                  \n</p>\n<p>\n2) กระทรวงกลาโหม บังคับบัญชาหัวเมืองปักษ์ใต้ ฝ่ายตะวันตกตะวันออกและเมืองมลายูประเทศราชเมื่อมีการโอนการบังคับบัญชาหัวเมืองไปให้กระทรวงมหาดไทยแล้วกระทรวงกลาโหมจึงบังคับบัญชาฝ่ายทหารเพียงอย่างเดียวทั่วพระราชอาณาเขต        \n</p>\n<p>\n3) กระทรวงการต่างประเทศ (กรมท่า) มีหน้าที่ด้านการต่างประเทศ                                                                                                    \n</p>\n<p>\n4) กระทรวงวัง ว่าการในพระราชวัง                                                                                                                                                  \n</p>\n<p>\n5) กระทรวงเมือง (นครบาล) การโปลิศและการบัญชีคน คือ กรมพระสุรัสวดีและรักษาคนโทษ                                                             \n</p>\n<p>\n6) กระทรวงเกษตราธิการ ว่าการเพาะปลูกและการค้า ป่าไม้ เหมืองแร่                                                                                                   \n</p>\n<p>\n7) กระทรวงพระคลัง ดูแลเรื่องเงิน รายได้ รายจ่ายของแผ่นดิน                                                                                                                \n</p>\n<p>\n8) กระทรวงยุติธรรม จัดการเรื่องศาลซึ่งเคยกระจายอยู่ตามกรมต่างๆนำมาไว้ที่แห่งเดียวกันทั้งแพ่ง อาญา นครบาล อุทธรณ์ทั้งแผ่นดิน                                                                                                                                                                                                 \n</p>\n<p>\n9) กระทรวงยุทธนาธิการ ตรวจตราจัดการในกรมทหารบก ทหารเรือ                                                                                             \n</p>\n<p>\n10) กระทรวงธรรมการ จัดการเกี่ยวกับการศึกษา การรักษาพยาบาล และอุปถัมภ์คณะสงฆ์                                                                \n</p>\n<p>\n11) กระทรวงโยธาธิการ มีหน้าที่ก่อสร้างทำถนน ขุดคลอง การช่าง การไปรษณีย์โทรเลขการรถไฟ                                                      \n</p>\n<p>\n12) กระทรวงมุรธาธิการ มีหน้าที่รักษาพระราชลัญจกร รักษาพระราชกำหนดกฎหมายและหนังสือราชการทั้งปวงเมื่อได้ประกาศปรับปรุงกระทรวงใหม่เสร็จเรียบร้อยจึงได้ประกาศตั้งเสนาบดีและให้เลิกอัคร-เสนาบดีทั้ง 2 ตำแหน่ง คือ สมุหนายกและสมุหกลาโหม กับตำแหน่งจตุสดมภ์ให้เสนาบดีทุกตำแหน่งเสมอกันและรวมกันเป็นที่ประชุมเสนาบดีสภา หรือเรียกว่า ลูกขุน ณ ศาลา ต่อจากนั้นได้ยุบรวมกระทรวงและปรับปรุงใหม่เมื่อสิ้นรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กระทรวงต่าง ๆ ยังคงมีเหลืออยู่ 10 กระทรวง คือ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวงนครบาลกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ กระทรวงวัง กระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงโยธาธิการ และกระทรวงธรรมการในด้านการทะนุบำรุงบ้านเมือง พระองค์ได้ทรงจัดการบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นอันมาก อาทิเช่น                                                                                                                                                                                                     <br />\n 1. การทหาร ทรงพระราชดำริเห็นว่าการเป็นทหารเป็นของจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับประเทศชาติเพราะทหารเป็นกำลังสำคัญในการป้องกันประเทศ จึงได้โปรดให้จัดการทหารตามแบบแผนและฝึกหัดตามยุทธวินัยชาวยุโรป ได้ส่งพระราชโอรสออกไปศึกษาวิชาทหารในทวีปยุโรปเพื่อนำเอาความรู้มาใช้ในบ้านเมืองเรา และจัดการทหารบก ทหารเรือขึ้น                                                            <br />\n 2. การตำรวจนครบาล ได้จัดตั้งตำรวจภูธรตามหัวเมืองต่างๆเพื่อตรวจตราปราบปรามโจรผู้ร้ายได้ทั่วถึง                                              <br />\n 3. การคลัง ในการเก็บภาษีอากรได้จัดการวางแบบแผนใหม่เพื่อป้องกันความรั่วไหลได้เงินไม่เต็มตามจำนวนที่ควรจะได้โดยปล่อยให้เป็นไปตามอำนาจของบุคคลจึงวางระเบียบการเก็บภาษีอากรใหม่โดยรัฐบาล เป็นผู้จัดการเก็บเองโดยตรงแต่นั้นมารายได้ของแผ่นดินก็เพิ่มพูนทวีจำนวนยิ่งขึ้นได้โปรดให้กระทรวงการคลังพิมพ์ธนบัตรใช้เพื่อสะดวกแก่การส่งไปมาถึงกันและปลอดภัยขึ้นมากในด้านการบำรุงความสุขของพลเมืองได้ทรงตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งเพื่อดูแลจัดการตั้งโรงพยาบาลขึ้นหลายแห่ง เช่นโรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลบางรัก โรงพยาบาลโรคจิตและโรงเลี้ยงเด็ก นอกจากนี้ได้ส่งแพทย์ออกเที่ยวปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษและบำบัดอหิวาตกโรค พ.ศ. 2455 เริ่มสร้างการประปาขึ้น แต่มาเปิดใช้ในรัชกาลที่ 6 (พ.ศ.2475) พ.ศ.2447 โปรดให้ตั้งหอสมุดวชิรญาณขึ้นที่จังหวัดพระนคร ขึ้นตรงต่อราชบัณฑิตยสภา โดยรวมหอพระมณเฑียรธรรมและหอพระพุทธสังคหะเข้ากับหอสมุดวชิรญาณ                                                                                                                                                                                                                   <br />\n 4. การคมนาคม ได้ปรับปรุงโดยใน พ.ศ. 2434 ทรงจัดสร้างทางรถไฟ เพื่อให้ความสะดวกแก่ประชาชนในการไปค้าขายและการคมนาคมติดต่อ โดยเสด็จไปเปิดทางรถไฟ สายกรุงเทพฯ-นครราชสีมา และได้ทรงเปิดทางครั้งแรกใน พ.ศ.2439 ระหว่างกรุงเทพฯ กับอยุธยา ทางสายนี้ได้เปิดใช้ในพ.ศ.2456พ.ศ.2424 ได้โปรดจัดการไปรษณีย์เป็นครั้งแรกและโปรดให้ตั้งเป็นกรมขึ้นใน พ.ศ.2426 ต่อมาได้ขยายการไปรษณีย์โทรเลขออกไปตามหัวเมืองต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้ความสะดวกแก่ประชาชนในการส่งข่าวคราวถึงกัน                                                                                                                                                                                           <br />\n 5. การศึกษา ได้ส่งเสริมการศึกษาอย่างกว้างขวางและแพร่หลายที่สุดเริ่มด้วยการตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวังสอนหนังสือให้แก่พระบรมวงศานุวงศ์และบุตรหลานข้าราชการแล้วจัดขยายไปถึงราษฎร์ โดยจัดตั้งโรงเรียนที่วัดมหรรพารามเป็นครั้งแรก พ.ศ. 2435 ได้จัดตั้งกระทรวงธรรมการขึ้นและจัดการศึกษาของประเทศ ตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเปิดการสอนและเพิ่มสถานศึกษาแก่ประชาชนให้กว้างขวาง พยายามจัดส่งนักเรียนไปเรียนต่างประเทศ เพื่อนำความรู้และวิทยาการอันทันสมัยมาเผยแพร่เพื่อสร้างชาติให้ทันสมัย\n</p>\n<p>\n3.ในสมัยร.5มีการปฏิรูปการปกครองในส่วนภูมิภาคอย่างไร<br />\n-  มีการรวมหัวเมืองซึ่งเคยแยกกันอยู่ใน 3 กรม คือ มหาดไทยกลาโหมและกรมท่า ให้มารวมกันอยู่ในกระทรวงมหาดไทยกระทรวงเดียว การปฏิรูปหน่วยราชการบริหารส่วนภูมิภาคจึงมีสภาพและฐานะเป็นตัวแทน (field) หรือหน่วยงานประจำท้องที่ของกระทรวงมหาดไทย หรือรัฐบาลกลางโดยส่วนรวมทั้งนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงลักษระการปกครองแบบเมืองหลวง เมืองชั้นใน เมืองชั้นนอก เมืองพระยามหานครและเมืองประเทศราชเดิม เพื่อให้ลักษณะการปกครองเปลี่ยนแปลงแบบราชอาณาจักรโดยการจัดระเบียบการปกครองให้มีลักษณะลดหลั่นตามระดับสายการบังคับบัญชาหน่วยเหนือลงไปจนถึงหน่วยงานชั้นรอง ตามลำดับดังนี้                                                                                                                                                                                     <br />\n3.1 การจัดรูปการปกครองมณฑลเทศาภิบาล โดยการรวมหัวเมืองต่าง ๆ เป็นมณฑลตามสภาพภูมิประเทศและความสะดวกแก่การปกครอง มีสมุหเทศาภิบาลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเลือกสรรจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความสามรถสูงและเป็นที่วางพระราชหฤทัยแต่งตั้งให้ไปบริหารราชการต่างพระเนตรพระกรรณ                                                                                                <br />\n3.2 การจัดรูปการปกครองเมือง มีการปกครองใช้ข้อบังคับลักษณะการปกครองท้องที่ซึ่งมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดหน่วยบริหารที่ชื่อว่า &quot;เมือง&quot; ใหม่โดยให้รวมท้องที่หลายอำเภอเป็นหัวเมืองหนึ่งและกำหนดให้มี<br />\nพนักงานปกครองเมืองแต่ละเมือง ประกอบด้วยผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาเมือง และมีคณะกรรมการเมือง 2 คณะ คือ กรมการในทำเนียบและกรมการนอกทำเนียบเป็นผู้ช่วยเหลือและให้คำแนะนำพระมหากษัตริย์ทรงเลือกสรรและโยกย้ายผู้ว่าราชการเมือง                                                                                                                                                <br />\n3.3 การจัดการปกครองอำเภอ อำเภอเป็นหน่วยบริหารราชการระดับถัดจากเมืองเป็นหน่วยปฏิบัติราชการหน่วยสุดท้ายของรัฐที่จะเป็นผู้บริการราชการในท้องที่ และให้บริการแก่ประชาชนตามนโยบายของรัฐบาลกลาง <br />\nเป็นหน่วยการปกครองที่จัดตั้งขึ้นโดยการรวมท้องที่หลายตำบลเข้าด้วยกัน มีกรมการอำเภอซึ่งประกอบด้วยนายอำเภอปลัดอำเภอ และสมุหบัญชีอำเภอร่วมกันรับผิดชอบในราชการของอำเภอ โดยนายอำเภอเป็นหัวหน้า ทั้งนี้ <br />\nการแต่งตั้งโยกย้ายนายอำเภอ  เป็นอำนาจของข้าหลวงเทศาภิบาลสำหรับตำแหน่งลำดับรอง ๆ  ลงไปซึ่งได้แก่ปลัดอำเภอ สมุห์บัญชีอำเภอ และเสมียนพนักงาน ผู้ว่าราชการเมืองมีอำนาจแต่งตั้งโยกย้ายหากท้องที่อำเภอใด<br />\nกว้างขวางยากแก่การที่กรมการอำเภอจะไปตรวจตราให้ทั่วถึงได้และท้องที่นั้นยังมีผู้คนไม่มากพอที่จะยกฐานะเป็นอำเภอหรือกรณีที่ท้องที่ของอำเภอมีชุมชนที่อยู่ห่างไกลที่ว่าการอำเภอก็ให้แบ่งท้องที่ออกเป็น กิ่งอำเภอเพื่อให้มีพนักงานปกครองดูแลได้แต่กิ่งอำเภอยังคงเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอและอยู่ในกำกับดูแลของกรมการ<br />\nอำเภอ                                                                                                                                                                                                                       <br />\n 3.4 การจัดรูปการปกครองตำบลหมู่บ้าน อำเภอแต่ละอำเภอมีการแบ่งซอยพื้นที่ออกเป็นหลายตำบล<br />\nและตำบลก็ยังซอยพื้นที่ออกเป็นหมู่บ้าน ซึ่งเป็นหน่วยการปกครองสุดท้ายที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุดการ<br />\nปกครองระดับนี้มุ่งหมายที่จะให้ราษฎรในพื้นที่ เลือกสรรบุคคลขึ้นทำหน้าที่เป็นธุระในการรักษาความสงบ<br />\nเรียบร้อยโดยเป็นทั้งตัวแทนประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติงาน เป็นสื่อเชื่อมโยงระหว่างรัฐบาลกับประชาชน คือ<br />\nเป็นผู้ประสานงานช่วยเหลืออำเภอ และเป็นตัวแทนของรัฐสอดส่องดูแลทุกข์สุขของราษฎร์ ตลอดจนช่วย<br />\nเก็บภาษีอากรบางอย่างให้รัฐ                                                                                                                                                                      4.ข้อดีของการปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่นในสมัยร.5มีอะไรบ้าง      <br />\n-   การปฏิรูปการจัดระเบียบการปกครองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เริ่มต้นจากการปฏิรูปการปกครองในส่วนกลางก่อนจากนั้นจึงปรับปรุงการปกครองส่วนภูมิภาคภายใต้ระบบเทศาภิบาลโดยเริ่มดำเนินการจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลตามแบบแผนใหม่  3 มณฑลแรก(มณฑล พิษณุโลก ปราจีนบุรี มณฑลนครราชสีมา) ในปี พ.ศ.2437 และได้ใช้เวลารวม 13 ปี จึงจัดระบบ การปกครองแบบเทศาภิบาลได้ทั่วประเทศในปี พ.ศ.2450 ในระหว่างที่ดำเนินการปรับปรุงการปกครองส่วนภูมิภาค<br />\nดังกล่าวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ  ทรงริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองของประชาชนในท้องถิ่นจากต่างประเทศมาดำเนินการโดยริเริ่มทดลองให้มีการจัดการสุขาภิบาลกรุงเทพฯและการสุขาภิบาลหัวเมือง\n</p>\n<p>\n5.จงอธิบายสาเหตุการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475\n</p>\n<p>\n-การสละราชสมบัติ<br />\n- ความขัดแย้งในคณะราษฏร<br />\n- การปลุกความคิดชาตินิยมและความพยายามสร้างชาติไทยให้ยิ่งใหญ่ <br />\n-การปลุกความคิดชาตินิยม\n</p>\n<p>\n6.ผลทางการเมืองและการปกครองที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในปี พ.ศ. 2475 มีอะไรบ้าง\n</p>\n<p>\n1. ได้เปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นการปกครองแบบรัฐสภา  (Parliamentarysystem) ทั้งนี้เพราะว่ารัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 ได้บัญญัติให้พระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นประมุข แห่งรัฐไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมืองเป็นผู้ใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี  ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งให้บริหารราชการแผ่นดินแต่คณะรัฐมนตรีจะต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทนซึ่งมีอำนาจที่จะลงมติให้ความไว้วางใจหรือไม่ให้ความไว้วางใจ อันเป็นผลให้คณะรัฐมนตรีต้องออกจากตำแหน่งได้การปกครองตามระบบรัฐสภาควบคุมนี้ รัฐสภาซึ่งเป็นฝ่ายของนิติบัญญัติ คือ ออกกฏหมายเท่านั้น แต่ว่ามีอำนาจที่จะควบคุมคณะ<br />\nรัฐมนตรีในการบริหารราชการแผ่นดินด้วย                                                                                                                                           \n</p>\n<p>\n2. เนื่องจากได้ใช้ระบบรัฐสภาควบคุมการบริการรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 จึงได้วางหลักให้ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารมีอำนาจควบคุมกัน กล่าวคือ ฝ่ายนิติบัญญัติแม้จะมี อำนาจควบคุมคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นฝ่ายบริหารก็ตามแต่คณะรัฐมนตรีรวมทั้งพระมหากษัตริย์ซึ่งประกอบกันเป็นรัฐบาลก็มีอำนาจยุบสภาผู้แทนได้เมื่อเห็นว่าได้ดำเนินการไปในทางที่จะเป็นภัยหรือเสื่อมเสียผลประโยชน์สำคัญของรัฐซึ่งมีผลเท่ากับถอดถอนสมาชิกสภาของตนที่ได้รับเลือกตั้งมาเพื่อให้ราษฎรเลือกตั้งใหม่              \n</p>\n<p>\n3.ในส่วนที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์นั้นตามรัฐธรรมนูญนี้ได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ซึ่งหมายความว่าผู้ใดจะฟ้องร้อง พระมหากษัตริย์ไม่ได้ไม่ว่าด้วยประการใด   และพระมหากษัตริย์ไม่ทรงรับผิดชอบทางการ เมือง  แต่ตามพระราชบัญญัติการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวยังให้อำนาจสภาผู้แทนที่จะ วินิจฉัยได้เมื่อพระมหากษัตริย์มีกรณีที่ถูกฟ้องร้อง  โดยได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์จะถูก ฟ้องคดีอาญายังโรงศาลไม่ได้เป็นหน้าที่ของสภาจะวินิจฉัยแต่ตามรัฐธรรมนูญพ.ศ. 2475 ทั้งศาล และสภาผู้แทนไม่มีอำนาจวินิจฉัยการกระทำของพระมหากษัตริย์ซึ่งได้รับความคุ้ม กันที่จะไม่ถูกฟ้องร้องด้วยประการใด ๆ ทั้งสิ้น                                                                                                                                                                                                                                                                           4. ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาฯไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญนักแต่ส่วนประกอบของ สภาผู้แทนได้บัญญัติไว้เพียง 2 สมัย คือ สมัยที่1 นับแต่วันใช้พระราชบัญญัติการปกครองสยามชั่วคราว 2475 สภาประกอบ ด้วยสมาชิก 2 ประเภทเท่ากันคือ ประเภท1 ราษฎรเลือกตั้ง ประเภทที่ 2 พระมหากษัตริย์ ทรงแต่งตั้งและมิได้ห้ามการตั้งสมาชิกประเภท 2 จากข้าราชการประจำ สมัยที่2 เมื่อผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกมีการศึกษาจบชั้นประถมศึกษาสามัญ มากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนทั้งหมดหรืออย่างช้าไม่เกิน10ปีนับแต่วัยใช้พระราชบัญญัติการ ปกครองสยามชั่วคราว    สภาจะประกอบด้วยสมาชิกประเภทเดียวแต่เรื่องนี้ต่อมาได้มีรัฐ ธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล พ.ศ. 2485  ได้ขยายเวลาของสมัยที่ 2 นี้ ออกเป็น 20 ปีนับแต่วันใช้พระราชบัญญัติการปกครองสยามชั่วคราว                                                                                                                                                  5. ด้านบริหารให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรีที่ทรงแต่ง ตั้งคณะรัฐมนตรีจะรับผิดชอบเป็นส่วนรวมต่อสภาฯ  และเป็นการเฉพาะตัวสำหรับรัฐมนตรี ซึ่งมีหน้าที่ว่าการกระทรวงแต่ก็มิใช่อยู่ที่สภาแต่งตั่งเหมือนคณะกรรมการราษฎรและมิได้มี อำนาจถอดถอนได้นอกจากลงมติไม่ไว้วางใจซึ่งเป็นผลทำให้คณะรัฐมนตรีต้องลาออกนอก จากนี้ยังให้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้รับผิดชอบในการใช้อำนาจบริหารในนามของพระมหากษัตริย์ และมีอำนาจปกครองประเทศด้วยโดยได้เลิกตำแหน่งเสนาบดีทั้งหมดและตั้งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงขึ้นแทน\n</p>\n<p>\n7.ในระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยพระมหากษัตริย์มีความสำคัญอย่างไร\n</p>\n<p>\n1. อำนาจอธิปไตยหรืออำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศหรืออำนาจรัฐ<br />\n2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง<br />\n3. หลักการปกครองเพื่อประโยชน์ของประชาชน<br />\n4. การใช้หลักเหตุผล คือ นำเหตุผลมาประกอบความคิดเห็นในการดำเนินงานต่าง ๆ <br />\n5. หลักความยินยอม หลักประชาธิปไตยต้องการให้มีการกระทำด้วยความสมัครใจ<br />\n6. หลักการปกครองโดยเสียงข้างมากในการแสวงหาข้อยุติการตัดสินใจ<br />\n7. รัฐบาลมีอำนาจจำกัดและจำเป็น โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชน<br />\n8. หลักเสรีภาพและความเสมอภาคของประชาชนในการใช้สิทธิอันชอบธรรม<br />\n9. หลักการประนีประนอม กล่าวคือ พยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">แหล่งที่มา</span> : <a href=\"http://www.dopa.go.th/history/politic3.htm\"><span style=\"color: #000000\">http://www.dopa.go.th/history/politic3.htm</span></a>\n</p>\n', created = 1727536330, expire = 1727622730, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:db1d40cf16f364a8104548e5c2876784' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:430c55ac83be617b94f1cbede62f77b8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>น่ารัก ยากรู้จัก ขอเบอร์มัง</p>\n', created = 1727536330, expire = 1727622730, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:430c55ac83be617b94f1cbede62f77b8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การปกครอง

รูปภาพของ sss27406

1. เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงวางรากฐานปฏิรูปการปกครอง                                                                                                                         

-รัชกาลพระองค์นั้นเป็นระยะเวลาที่ลัทธิจักรวรรดินิยมกำลังแผ่ขยายมาทางตะวันออกไกล ด้วยนโยบาย   Colonial agrandisement  ประเทศมหาอำนาจตะวันตกเช่นอังกฤษและฝรั่งเศสได้ประเทศข้างเคียงรอบๆ ไทยเป็นเมืองขึ้น  และทั้งสองประเทศยังมุ่งแสวงหาผลประโยน์จากประเทศไทยดังเช่นที่ฝรั่งเศสได้ถือโอกาสที่ไทยยังไม่มีระบบการปกครองที่ดี และรักษาอาณาเขตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้อ้างวิธีการสำรวจทางวิชาการซึ่งเรียกว่า  "Scientific expedition"  เป็นเครื่องมือโดยอาศัยปัญหาเรื่องชายแดนเป็นเหตุ กล่าวคือ เมื่อฝรั่งเศสได้ดินแดนญวน แล้วได้ตั้งเจ้าหน้าที่ของตนออกเดินสำรวจพลเมืองและเขตแดนว่ามีอาณาเขตแน่นอนเพียงใด และเนื่องจากเขตแดนระหว่างประเทศไทยมิได้กำหนดไว้อย่างแน่นนอนรัดกุม จึงเป็นการง่ายที่พวกสำรวจเหล่านั้นจะได้ถือโอกาสผนวกดินแดนของไทยเข้าไปกับฝ่ายตนมากขึ้นทุกที ด้วยเหตุดังกล่าวประเทศไทย  จึงจำเป็นต้องปรับปรุงการปกครองบ้านเมืองให้เรียบร้อยเพื่อป้องกันเหตุดังกล่าว                                                                                  มูลเหตุอีกประการหนึ่งของการปรับปรุงการปกครองก็คือ พระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในอันที่จะยกเลิกขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นการกดขี่กันหรือก่อให้เกิดความอยุติธรรมแก่อาณาประชาราษฎรซึ่งมีอยู่นั้นเสีย ขนบธรรมเนียมดังกล่าวได้แก่การมีทาสการใช้จารีตนครบาลในการพิจารณาความพระราชประสงค์ของพระองค์ในเรื่องนี้ ปรากฏในพระราชปรารภว่าด้วยเรื่องทาสและเกษียณอายุตอนหนึ่งว่า  "ข้าพเจ้ามีความปรารถนาว่าการสิ่งไรซึ่งเป็นการเจริญมีคุณแก่ราษฎรควรจะเป็นไปทีละเล็กทีละน้อยตามกาลเวลา การสิ่งไรที่เป็นธรรมเนียมบ้านเมืองมาแต่โบราณแต่ไม่เป็นยุติธรรมก็อยากจะเลิกถอนเสีย"

2.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหัวทรงโปรดให้ยกเลิกการปกครองแบบจตุสดมภ์แล้ว ได้จัดการปกครองใหม่เป็นอย่างไร

-จัดสรรให้อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละกระทรวงให้เป็นสัดส่วน ดังนี้ คือ                                                                     

1) กระทรวงมหาดไทย บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือและเมืองลาวประเทศราช (ในช่วงแรก) แต่ต่อมาได้มีการโอนการบังคับบัญชาหัวเมืองทั้งหมดที่มีให้อยู่ในความดูแลของกระทรวงมหาดไทย                                                                                                  

2) กระทรวงกลาโหม บังคับบัญชาหัวเมืองปักษ์ใต้ ฝ่ายตะวันตกตะวันออกและเมืองมลายูประเทศราชเมื่อมีการโอนการบังคับบัญชาหัวเมืองไปให้กระทรวงมหาดไทยแล้วกระทรวงกลาโหมจึงบังคับบัญชาฝ่ายทหารเพียงอย่างเดียวทั่วพระราชอาณาเขต        

3) กระทรวงการต่างประเทศ (กรมท่า) มีหน้าที่ด้านการต่างประเทศ                                                                                                    

4) กระทรวงวัง ว่าการในพระราชวัง                                                                                                                                                  

5) กระทรวงเมือง (นครบาล) การโปลิศและการบัญชีคน คือ กรมพระสุรัสวดีและรักษาคนโทษ                                                             

6) กระทรวงเกษตราธิการ ว่าการเพาะปลูกและการค้า ป่าไม้ เหมืองแร่                                                                                                   

7) กระทรวงพระคลัง ดูแลเรื่องเงิน รายได้ รายจ่ายของแผ่นดิน                                                                                                                

8) กระทรวงยุติธรรม จัดการเรื่องศาลซึ่งเคยกระจายอยู่ตามกรมต่างๆนำมาไว้ที่แห่งเดียวกันทั้งแพ่ง อาญา นครบาล อุทธรณ์ทั้งแผ่นดิน                                                                                                                                                                                                 

9) กระทรวงยุทธนาธิการ ตรวจตราจัดการในกรมทหารบก ทหารเรือ                                                                                             

10) กระทรวงธรรมการ จัดการเกี่ยวกับการศึกษา การรักษาพยาบาล และอุปถัมภ์คณะสงฆ์                                                                

11) กระทรวงโยธาธิการ มีหน้าที่ก่อสร้างทำถนน ขุดคลอง การช่าง การไปรษณีย์โทรเลขการรถไฟ                                                      

12) กระทรวงมุรธาธิการ มีหน้าที่รักษาพระราชลัญจกร รักษาพระราชกำหนดกฎหมายและหนังสือราชการทั้งปวงเมื่อได้ประกาศปรับปรุงกระทรวงใหม่เสร็จเรียบร้อยจึงได้ประกาศตั้งเสนาบดีและให้เลิกอัคร-เสนาบดีทั้ง 2 ตำแหน่ง คือ สมุหนายกและสมุหกลาโหม กับตำแหน่งจตุสดมภ์ให้เสนาบดีทุกตำแหน่งเสมอกันและรวมกันเป็นที่ประชุมเสนาบดีสภา หรือเรียกว่า ลูกขุน ณ ศาลา ต่อจากนั้นได้ยุบรวมกระทรวงและปรับปรุงใหม่เมื่อสิ้นรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กระทรวงต่าง ๆ ยังคงมีเหลืออยู่ 10 กระทรวง คือ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวงนครบาลกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ กระทรวงวัง กระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงโยธาธิการ และกระทรวงธรรมการในด้านการทะนุบำรุงบ้านเมือง พระองค์ได้ทรงจัดการบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นอันมาก อาทิเช่น                                                                                                                                                                                                    
 1. การทหาร ทรงพระราชดำริเห็นว่าการเป็นทหารเป็นของจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับประเทศชาติเพราะทหารเป็นกำลังสำคัญในการป้องกันประเทศ จึงได้โปรดให้จัดการทหารตามแบบแผนและฝึกหัดตามยุทธวินัยชาวยุโรป ได้ส่งพระราชโอรสออกไปศึกษาวิชาทหารในทวีปยุโรปเพื่อนำเอาความรู้มาใช้ในบ้านเมืองเรา และจัดการทหารบก ทหารเรือขึ้น                                                           
 2. การตำรวจนครบาล ได้จัดตั้งตำรวจภูธรตามหัวเมืองต่างๆเพื่อตรวจตราปราบปรามโจรผู้ร้ายได้ทั่วถึง                                             
 3. การคลัง ในการเก็บภาษีอากรได้จัดการวางแบบแผนใหม่เพื่อป้องกันความรั่วไหลได้เงินไม่เต็มตามจำนวนที่ควรจะได้โดยปล่อยให้เป็นไปตามอำนาจของบุคคลจึงวางระเบียบการเก็บภาษีอากรใหม่โดยรัฐบาล เป็นผู้จัดการเก็บเองโดยตรงแต่นั้นมารายได้ของแผ่นดินก็เพิ่มพูนทวีจำนวนยิ่งขึ้นได้โปรดให้กระทรวงการคลังพิมพ์ธนบัตรใช้เพื่อสะดวกแก่การส่งไปมาถึงกันและปลอดภัยขึ้นมากในด้านการบำรุงความสุขของพลเมืองได้ทรงตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งเพื่อดูแลจัดการตั้งโรงพยาบาลขึ้นหลายแห่ง เช่นโรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลบางรัก โรงพยาบาลโรคจิตและโรงเลี้ยงเด็ก นอกจากนี้ได้ส่งแพทย์ออกเที่ยวปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษและบำบัดอหิวาตกโรค พ.ศ. 2455 เริ่มสร้างการประปาขึ้น แต่มาเปิดใช้ในรัชกาลที่ 6 (พ.ศ.2475) พ.ศ.2447 โปรดให้ตั้งหอสมุดวชิรญาณขึ้นที่จังหวัดพระนคร ขึ้นตรงต่อราชบัณฑิตยสภา โดยรวมหอพระมณเฑียรธรรมและหอพระพุทธสังคหะเข้ากับหอสมุดวชิรญาณ                                                                                                                                                                                                                  
 4. การคมนาคม ได้ปรับปรุงโดยใน พ.ศ. 2434 ทรงจัดสร้างทางรถไฟ เพื่อให้ความสะดวกแก่ประชาชนในการไปค้าขายและการคมนาคมติดต่อ โดยเสด็จไปเปิดทางรถไฟ สายกรุงเทพฯ-นครราชสีมา และได้ทรงเปิดทางครั้งแรกใน พ.ศ.2439 ระหว่างกรุงเทพฯ กับอยุธยา ทางสายนี้ได้เปิดใช้ในพ.ศ.2456พ.ศ.2424 ได้โปรดจัดการไปรษณีย์เป็นครั้งแรกและโปรดให้ตั้งเป็นกรมขึ้นใน พ.ศ.2426 ต่อมาได้ขยายการไปรษณีย์โทรเลขออกไปตามหัวเมืองต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้ความสะดวกแก่ประชาชนในการส่งข่าวคราวถึงกัน                                                                                                                                                                                          
 5. การศึกษา ได้ส่งเสริมการศึกษาอย่างกว้างขวางและแพร่หลายที่สุดเริ่มด้วยการตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวังสอนหนังสือให้แก่พระบรมวงศานุวงศ์และบุตรหลานข้าราชการแล้วจัดขยายไปถึงราษฎร์ โดยจัดตั้งโรงเรียนที่วัดมหรรพารามเป็นครั้งแรก พ.ศ. 2435 ได้จัดตั้งกระทรวงธรรมการขึ้นและจัดการศึกษาของประเทศ ตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเปิดการสอนและเพิ่มสถานศึกษาแก่ประชาชนให้กว้างขวาง พยายามจัดส่งนักเรียนไปเรียนต่างประเทศ เพื่อนำความรู้และวิทยาการอันทันสมัยมาเผยแพร่เพื่อสร้างชาติให้ทันสมัย

3.ในสมัยร.5มีการปฏิรูปการปกครองในส่วนภูมิภาคอย่างไร
-  มีการรวมหัวเมืองซึ่งเคยแยกกันอยู่ใน 3 กรม คือ มหาดไทยกลาโหมและกรมท่า ให้มารวมกันอยู่ในกระทรวงมหาดไทยกระทรวงเดียว การปฏิรูปหน่วยราชการบริหารส่วนภูมิภาคจึงมีสภาพและฐานะเป็นตัวแทน (field) หรือหน่วยงานประจำท้องที่ของกระทรวงมหาดไทย หรือรัฐบาลกลางโดยส่วนรวมทั้งนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงลักษระการปกครองแบบเมืองหลวง เมืองชั้นใน เมืองชั้นนอก เมืองพระยามหานครและเมืองประเทศราชเดิม เพื่อให้ลักษณะการปกครองเปลี่ยนแปลงแบบราชอาณาจักรโดยการจัดระเบียบการปกครองให้มีลักษณะลดหลั่นตามระดับสายการบังคับบัญชาหน่วยเหนือลงไปจนถึงหน่วยงานชั้นรอง ตามลำดับดังนี้                                                                                                                                                                                    
3.1 การจัดรูปการปกครองมณฑลเทศาภิบาล โดยการรวมหัวเมืองต่าง ๆ เป็นมณฑลตามสภาพภูมิประเทศและความสะดวกแก่การปกครอง มีสมุหเทศาภิบาลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเลือกสรรจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความสามรถสูงและเป็นที่วางพระราชหฤทัยแต่งตั้งให้ไปบริหารราชการต่างพระเนตรพระกรรณ                                                                                               
3.2 การจัดรูปการปกครองเมือง มีการปกครองใช้ข้อบังคับลักษณะการปกครองท้องที่ซึ่งมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดหน่วยบริหารที่ชื่อว่า "เมือง" ใหม่โดยให้รวมท้องที่หลายอำเภอเป็นหัวเมืองหนึ่งและกำหนดให้มี
พนักงานปกครองเมืองแต่ละเมือง ประกอบด้วยผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาเมือง และมีคณะกรรมการเมือง 2 คณะ คือ กรมการในทำเนียบและกรมการนอกทำเนียบเป็นผู้ช่วยเหลือและให้คำแนะนำพระมหากษัตริย์ทรงเลือกสรรและโยกย้ายผู้ว่าราชการเมือง                                                                                                                                               
3.3 การจัดการปกครองอำเภอ อำเภอเป็นหน่วยบริหารราชการระดับถัดจากเมืองเป็นหน่วยปฏิบัติราชการหน่วยสุดท้ายของรัฐที่จะเป็นผู้บริการราชการในท้องที่ และให้บริการแก่ประชาชนตามนโยบายของรัฐบาลกลาง
เป็นหน่วยการปกครองที่จัดตั้งขึ้นโดยการรวมท้องที่หลายตำบลเข้าด้วยกัน มีกรมการอำเภอซึ่งประกอบด้วยนายอำเภอปลัดอำเภอ และสมุหบัญชีอำเภอร่วมกันรับผิดชอบในราชการของอำเภอ โดยนายอำเภอเป็นหัวหน้า ทั้งนี้
การแต่งตั้งโยกย้ายนายอำเภอ  เป็นอำนาจของข้าหลวงเทศาภิบาลสำหรับตำแหน่งลำดับรอง ๆ  ลงไปซึ่งได้แก่ปลัดอำเภอ สมุห์บัญชีอำเภอ และเสมียนพนักงาน ผู้ว่าราชการเมืองมีอำนาจแต่งตั้งโยกย้ายหากท้องที่อำเภอใด
กว้างขวางยากแก่การที่กรมการอำเภอจะไปตรวจตราให้ทั่วถึงได้และท้องที่นั้นยังมีผู้คนไม่มากพอที่จะยกฐานะเป็นอำเภอหรือกรณีที่ท้องที่ของอำเภอมีชุมชนที่อยู่ห่างไกลที่ว่าการอำเภอก็ให้แบ่งท้องที่ออกเป็น กิ่งอำเภอเพื่อให้มีพนักงานปกครองดูแลได้แต่กิ่งอำเภอยังคงเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอและอยู่ในกำกับดูแลของกรมการ
อำเภอ                                                                                                                                                                                                                      
 3.4 การจัดรูปการปกครองตำบลหมู่บ้าน อำเภอแต่ละอำเภอมีการแบ่งซอยพื้นที่ออกเป็นหลายตำบล
และตำบลก็ยังซอยพื้นที่ออกเป็นหมู่บ้าน ซึ่งเป็นหน่วยการปกครองสุดท้ายที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุดการ
ปกครองระดับนี้มุ่งหมายที่จะให้ราษฎรในพื้นที่ เลือกสรรบุคคลขึ้นทำหน้าที่เป็นธุระในการรักษาความสงบ
เรียบร้อยโดยเป็นทั้งตัวแทนประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติงาน เป็นสื่อเชื่อมโยงระหว่างรัฐบาลกับประชาชน คือ
เป็นผู้ประสานงานช่วยเหลืออำเภอ และเป็นตัวแทนของรัฐสอดส่องดูแลทุกข์สุขของราษฎร์ ตลอดจนช่วย
เก็บภาษีอากรบางอย่างให้รัฐ                                                                                                                                                                      4.ข้อดีของการปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่นในสมัยร.5มีอะไรบ้าง     
-   การปฏิรูปการจัดระเบียบการปกครองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เริ่มต้นจากการปฏิรูปการปกครองในส่วนกลางก่อนจากนั้นจึงปรับปรุงการปกครองส่วนภูมิภาคภายใต้ระบบเทศาภิบาลโดยเริ่มดำเนินการจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลตามแบบแผนใหม่  3 มณฑลแรก(มณฑล พิษณุโลก ปราจีนบุรี มณฑลนครราชสีมา) ในปี พ.ศ.2437 และได้ใช้เวลารวม 13 ปี จึงจัดระบบ การปกครองแบบเทศาภิบาลได้ทั่วประเทศในปี พ.ศ.2450 ในระหว่างที่ดำเนินการปรับปรุงการปกครองส่วนภูมิภาค
ดังกล่าวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ  ทรงริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองของประชาชนในท้องถิ่นจากต่างประเทศมาดำเนินการโดยริเริ่มทดลองให้มีการจัดการสุขาภิบาลกรุงเทพฯและการสุขาภิบาลหัวเมือง

5.จงอธิบายสาเหตุการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475

-การสละราชสมบัติ
- ความขัดแย้งในคณะราษฏร
- การปลุกความคิดชาตินิยมและความพยายามสร้างชาติไทยให้ยิ่งใหญ่
-การปลุกความคิดชาตินิยม

6.ผลทางการเมืองและการปกครองที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในปี พ.ศ. 2475 มีอะไรบ้าง

1. ได้เปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นการปกครองแบบรัฐสภา  (Parliamentarysystem) ทั้งนี้เพราะว่ารัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 ได้บัญญัติให้พระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นประมุข แห่งรัฐไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมืองเป็นผู้ใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี  ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งให้บริหารราชการแผ่นดินแต่คณะรัฐมนตรีจะต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทนซึ่งมีอำนาจที่จะลงมติให้ความไว้วางใจหรือไม่ให้ความไว้วางใจ อันเป็นผลให้คณะรัฐมนตรีต้องออกจากตำแหน่งได้การปกครองตามระบบรัฐสภาควบคุมนี้ รัฐสภาซึ่งเป็นฝ่ายของนิติบัญญัติ คือ ออกกฏหมายเท่านั้น แต่ว่ามีอำนาจที่จะควบคุมคณะ
รัฐมนตรีในการบริหารราชการแผ่นดินด้วย                                                                                                                                           

2. เนื่องจากได้ใช้ระบบรัฐสภาควบคุมการบริการรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 จึงได้วางหลักให้ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารมีอำนาจควบคุมกัน กล่าวคือ ฝ่ายนิติบัญญัติแม้จะมี อำนาจควบคุมคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นฝ่ายบริหารก็ตามแต่คณะรัฐมนตรีรวมทั้งพระมหากษัตริย์ซึ่งประกอบกันเป็นรัฐบาลก็มีอำนาจยุบสภาผู้แทนได้เมื่อเห็นว่าได้ดำเนินการไปในทางที่จะเป็นภัยหรือเสื่อมเสียผลประโยชน์สำคัญของรัฐซึ่งมีผลเท่ากับถอดถอนสมาชิกสภาของตนที่ได้รับเลือกตั้งมาเพื่อให้ราษฎรเลือกตั้งใหม่              

3.ในส่วนที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์นั้นตามรัฐธรรมนูญนี้ได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ซึ่งหมายความว่าผู้ใดจะฟ้องร้อง พระมหากษัตริย์ไม่ได้ไม่ว่าด้วยประการใด   และพระมหากษัตริย์ไม่ทรงรับผิดชอบทางการ เมือง  แต่ตามพระราชบัญญัติการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวยังให้อำนาจสภาผู้แทนที่จะ วินิจฉัยได้เมื่อพระมหากษัตริย์มีกรณีที่ถูกฟ้องร้อง  โดยได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์จะถูก ฟ้องคดีอาญายังโรงศาลไม่ได้เป็นหน้าที่ของสภาจะวินิจฉัยแต่ตามรัฐธรรมนูญพ.ศ. 2475 ทั้งศาล และสภาผู้แทนไม่มีอำนาจวินิจฉัยการกระทำของพระมหากษัตริย์ซึ่งได้รับความคุ้ม กันที่จะไม่ถูกฟ้องร้องด้วยประการใด ๆ ทั้งสิ้น                                                                                                                                                                                                                                                                           4. ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาฯไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญนักแต่ส่วนประกอบของ สภาผู้แทนได้บัญญัติไว้เพียง 2 สมัย คือ สมัยที่1 นับแต่วันใช้พระราชบัญญัติการปกครองสยามชั่วคราว 2475 สภาประกอบ ด้วยสมาชิก 2 ประเภทเท่ากันคือ ประเภท1 ราษฎรเลือกตั้ง ประเภทที่ 2 พระมหากษัตริย์ ทรงแต่งตั้งและมิได้ห้ามการตั้งสมาชิกประเภท 2 จากข้าราชการประจำ สมัยที่2 เมื่อผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกมีการศึกษาจบชั้นประถมศึกษาสามัญ มากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนทั้งหมดหรืออย่างช้าไม่เกิน10ปีนับแต่วัยใช้พระราชบัญญัติการ ปกครองสยามชั่วคราว    สภาจะประกอบด้วยสมาชิกประเภทเดียวแต่เรื่องนี้ต่อมาได้มีรัฐ ธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล พ.ศ. 2485  ได้ขยายเวลาของสมัยที่ 2 นี้ ออกเป็น 20 ปีนับแต่วันใช้พระราชบัญญัติการปกครองสยามชั่วคราว                                                                                                                                                  5. ด้านบริหารให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรีที่ทรงแต่ง ตั้งคณะรัฐมนตรีจะรับผิดชอบเป็นส่วนรวมต่อสภาฯ  และเป็นการเฉพาะตัวสำหรับรัฐมนตรี ซึ่งมีหน้าที่ว่าการกระทรวงแต่ก็มิใช่อยู่ที่สภาแต่งตั่งเหมือนคณะกรรมการราษฎรและมิได้มี อำนาจถอดถอนได้นอกจากลงมติไม่ไว้วางใจซึ่งเป็นผลทำให้คณะรัฐมนตรีต้องลาออกนอก จากนี้ยังให้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้รับผิดชอบในการใช้อำนาจบริหารในนามของพระมหากษัตริย์ และมีอำนาจปกครองประเทศด้วยโดยได้เลิกตำแหน่งเสนาบดีทั้งหมดและตั้งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงขึ้นแทน

7.ในระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยพระมหากษัตริย์มีความสำคัญอย่างไร

1. อำนาจอธิปไตยหรืออำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศหรืออำนาจรัฐ
2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง
3. หลักการปกครองเพื่อประโยชน์ของประชาชน
4. การใช้หลักเหตุผล คือ นำเหตุผลมาประกอบความคิดเห็นในการดำเนินงานต่าง ๆ
5. หลักความยินยอม หลักประชาธิปไตยต้องการให้มีการกระทำด้วยความสมัครใจ
6. หลักการปกครองโดยเสียงข้างมากในการแสวงหาข้อยุติการตัดสินใจ
7. รัฐบาลมีอำนาจจำกัดและจำเป็น โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชน
8. หลักเสรีภาพและความเสมอภาคของประชาชนในการใช้สิทธิอันชอบธรรม
9. หลักการประนีประนอม กล่าวคือ พยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง

แหล่งที่มา : http://www.dopa.go.th/history/politic3.htm

น่ารัก ยากรู้จัก ขอเบอร์มัง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 295 คน กำลังออนไลน์