• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b795018efe425ed4cb3da04059122242' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>จงตอบคำถามและอธิบายอย่างละเอียด</strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">1.เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงวางรากฐานการ ปฏิรูปการปกครอง</span></strong><br />\nตอบ การวางพื้นฐานในด้านการปกครองด้วยทรงเห็นว่าราษฏรจะครองชีพด้วยความร่มเย็นเป็นสุขได้ ก็ต้องมีการปกครองเป็นระเบียบเรียบร้อยด้วยหลักทางกฎหมาย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงปฏิรูปกฎหมายและการศาลของไทยในด้านต่าง ๆ ให้ทันสมัยขึ้น ทรงติดต่อให้ชาวยุโรปและอเมริกาที่ชำนาญในวิชากฎหมายเข้ามาเป็นข้าราชการแก้กฎหมายต่าง ๆ ให้ทันสมัยและไม่ขัดกับกฎหมายต่างประเทศ ทำให้กระบวนการยุติธรรมของไทยในยุคหลัง เริ่มใช้หลักเกณฑ์ความยุติธรรมแบบสากลมาใช้ในการออกกฎหมายและพิจารณาคดีเพิ่มเติมขึ้นจากการถวายฎีกา ความเปลี่ยนแปลงนี้เห็นจากประกาศที่ห้ามมิให้ช่วยคนในบังคับต่างประเทศยุโรปมาเป็นทาส ประกาศพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการคมนาคมในประเทศ ซึ่งใช้ร่วมกันทั้งคนไทยและต่างประเทศ คือพระราชบัญญัติและกฎหมายท้องน้ำเกี่ยวกับเรือใหญ่เรือเล็ก ที่ขึ้นตามแม่น้ำลำคลอง และพระราชบัญญัติว่าด้วยการทางบก (นฤมล 2525 : 317) ในกระบวนการศาล ทรงให้มีการลงลายมือหรือแกงไดไว้เป็นหลักฐานในหนังสือสำคัญ บังคับใช้ทั้งในกรุงและหัวเมือง โปรดเกล้า ฯ ให้ทำสารกรมธรรม์หรือหนังสือสัญญาเป็นเกณฑ์ เป็นหลักฐานในฟ้องร้อง สภาพความเป็นอยู่ของราษฎรในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถูกปรับปรุงให้ดีขึ้น\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>2.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้ยกเลิกการปกครองแบบจตุสดมภ์แล้วได้จัดการปกครองใหม่เป็นอย่างไร</strong></span><br />\nตอบ ทรงเลิกจตุสดมภ์แล้วทรงตั้งกระทรวงเสนาบดีขึ้น 12 กระทรวง เมื่อ วันที่ 1 เมษายน 2435 คือ<br />\n1. กระทรวงกลาโหม เจ้าพระยารัตนธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์) เป็นเสนาบดี<br />\n2. กระทรวงการต่างประเทศ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เป็นเสนาบดี<br />\n3. กระทรวงคลัง สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระจักรพรรดิพงศ์ เป็นเสนาบดี<br />\n4. กระทรวงวัง กรมหลวงประจักษศิลปาคม เป็นเสนาบดี<br />\n5. กระทรวงมหาดไทย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นเสนาบดี<br />\n6. กระทรวงพระนครบาล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์ เป็นเสนาบดี<br />\n7. กระทรวงโยธาธิการ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานุริศรานุวัติวงศ์ เป็นเสนาบดี<br />\n8. กระทรวงธรรมการและศึกษาธิการ เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) เป็นเสนาบดี<br />\n9. กระทรวงเกษตรพาณิชการ จอมพล เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี เป็นเสนาบดี<br />\n10. กระทรวงยุติธรรม สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฐ์ เป็นเสนาบดี<br />\n11. กระทรวงมุรธาธาร พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา เป็นเสนาบดี<br />\n12. กระทรวงยุทธนาธิการ จอมพลสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้ากรมพระยา ภาณุพันธุวงศ์วรเดช เป็นเสนาบดี<br />\nการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากแบบจตุสดมภ์มาเป็นการจัดตั้งกระทรวง 12 กระทรวง นี้ต้องนับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง ซึ่งเรียกได้อย่างพูดกันตามธรรมดาว่า “พลิกแผ่นดิน” ถ้าจะใช้ภาษาอังกฤษก็ต้องเรียกว่า “Revolution“ ไม่ใช่ “Evolution” การเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงครั้งนี้ มีน้อยประเทศนัก ที่จะสำเร็จไปได้โดยราบคาบปราศจากการจลาจล หรือจะว่าไม่มีปัญหาเลยก็ว่าได้ ประเทศญี่ปุ่นไ ด้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองอย่าง “พลิกแผ่นดิน” เหมือนประเทศสยาม แต่หาได้ดำเนินการไปได้โดยสงบราบคาบ เหมือนอย่างประเทศสยามไม่ ยังต้องมีการจลาจลในบ้านเมือง เช่น มีขบถสัตสุมา (“Sutsuma Rebellion”) เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">3.ในสมัยรัชกาลที่5 มีการปฏิรูปการปกครองในส่วนภูมิภาคอย่างไร</span></strong><br />\nตอบ การปรับปรุงการบริหารราชการส่วนภูมิภาค ด้วยเหตุที่มีการรวมการบังคับบัญชาหัวเมืองซึ่งเคยแยกกันอยู่ใน 3 กรม คือ มหาดไทยกลาโหมและกรมท่า ให้มารวมกันอยู่ในกระทรวงมหาดไทยกระทรวงเดียว การปฏิรูปหน่วยราชการบริหารส่วนภูมิภาคจึงมีสภาพและฐานะเป็นตัวแทน (field) หรือหน่วยงานประจำท้องที่ของกระทรวงมหาดไทย หรือรัฐบาลกลางโดยส่วนรวมทั้งนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะการปกครองแบบเมืองหลวง เมืองชั้นใน เมืองชั้นนอก เมืองพระยามหานคร และเมืองประเทศราชเดิม เพื่อให้ลักษณะการปกครองเปลี่ยนแปลงแบบราชอาณาจักรโดยการจัดระเบียบการปกครองให้มีลักษณะลดหลั่นตามระดับสายการบังคับบัญชาหน่วยเหนือลงไปจนถึงหน่วยงานชั้นรอง ตามลำดับดังนี้   <br />\n          1.การจัดรูปการปกครองมณฑลเทศาภิบาล โดยการรวมหัวเมืองต่าง ๆ เป็นมณฑลตามสภาพภูมิประเทศและความสะดวกแก่การปกครอง มีสมุหเทศาภิบาลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเลือกสรรจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความสามรถสูงและเป็นที่วางพระราชหฤทัยแต่งตั้งให้ไปบริหารราชการต่างพระเนตรพระกรรณ<br />\n          2.การจัดรูปการปกครองเมือง มีการปกครองใช้ข้อบังคับลักษณะการปกครองท้องที่ซึ่งมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดหน่วยบริหารที่ชื่อว่า &quot;เมือง&quot; ใหม่โดยให้รวมท้องที่หลายอำเภอเป็นหัวเมืองหนึ่งและกำหนดให้มีพนักงานปกครองเมืองแต่ละเมือง ประกอบด้วยผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาเมือง และมีคณะกรรมการเมือง 2 คณะ คือ กรมการในทำเนียบและกรมการนอกทำเนียบเป็นผู้ช่วยเหลือและให้คำแนะนำพระมหากษัตริย์ทรงเลือกสรร และโยกย้ายผู้ว่าราชการเมือง  <br />\n          3. การจัดการปกครองอำเภอ อำเภอเป็นหน่วยบริหารราชการระดับถัดจากเมืองเป็นหน่วยปฏิบัติราชการหน่วยสุดท้ายของรัฐที่จะเป็นผู้บริการราชการในท้องที่ และให้บริการแก่ประชาชนตามนโยบายของรัฐบาลกลาง เป็นหน่วยการปกครองที่จัดตั้งขึ้นโดยการรวมท้องที่หลายตำบลเข้าด้วยกัน มีกรมการอำเภอซึ่งประกอบด้วยนายอำเภอปลัดอำเภอ และสมุห์บัญชีอำเภอร่วมกันรับผิดชอบในราชการของอำเภอ โดยนายอำเภอเป็นหัวหน้า ทั้งนี้ การแต่งตั้งโยกย้ายนายอำเภอ  เป็นอำนาจของข้าหลวงเทศาภิบาลสำหรับตำแหน่งลำดับรองๆ ลงไปซึ่งได้แก่ ปลัดอำเภอ สมุห์บัญชีอำเภอ และเสมียน พนักงาน ผู้ว่าราชการเมืองมีอำนาจแต่งตั้งโยกย้ายหากท้องที่อำเภอใดกว้างขวางยากแก่การที่กรมการอำเภอจะไปตรวจตราให้ทั่วถึงได้และท้องที่นั้นยังมีผู้คนไม่มากพอที่จะยกฐานะเป็นอำเภอหรือกรณีที่ท้องที่ของอำเภอมีชุมชนที่อยู่ห่างไกลที่ว่าการอำเภอก็ให้แบ่งท้องที่ออกเป็น กิ่งอำเภอเพื่อให้มีพนักงานปกครองดูแลได้แต่กิ่งอำเภอยังคงเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอและอยู่ในกำกับดูแลของกรรมการอำเภอ<br />\n          4. การจัดรูปการปกครองตำบลหมู่บ้าน อำเภอแต่ละอำเภอมีการแบ่งซอยพื้นที่ออกเป็นหลายตำบลและตำบลก็ยังซอยพื้นที่ออกเป็นหมู่บ้าน ซึ่งเป็นหน่วยการปกครองสุดท้ายที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุดการปกครองระดับนี้มุ่งหมายที่จะให้ราษฎรในพื้นที่ เลือกสรรบุคคลขึ้นทำหน้าที่เป็นธุระในการรักษาความสงบเรียบร้อยโดยเป็นทั้งตัวแทนประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติงาน เป็นสื่อเชื่อมโยงระหว่างรัฐบาลกับประชาชน คือเป็นผู้ประสานงานช่วยเหลืออำเภอ และเป็นตัวแทนของรัฐสอดส่องดูแลทุกข์สุขของราษฎร์ ตลอดจนช่วยเก็บภาษีอากรบางอย่างให้รัฐ\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>4.ข้อดีของการปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่นในสมัยรัชกาลที่5มีอะไรบ้าง</strong></span><br />\nตอบ การปรับปรุงการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ  ทรงริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองของประชาชนในท้องถิ่นจากต่างประเทศมา ดำเนินการโดยริเริ่มทดลองให้มีการจัดการสุขาภิบาลกรุงเทพฯและการสุขาภิบาลหัวเมือง รายละเอียดดังนี้ <br />\n          1. การจัดการสุขาภิบาลกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงเริ่มให้จัดการบำรุงท้องถิ่นแบบสุขาภิบาล  ขึ้นในกรุงเทพ อันเป็นอิทธิพลสืบเนื่องมาจากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีโอกาสไปดู กิจการต่าง ๆในยุโรป และเนื่องจากเจ้าพระยาอภัยราชา(โรลังยัคมินส์) ติเตียนว่ากรุงเทพฯสกปรกที่รักษาราชการทั่วไปของประเทศในขณะนั้นได้กราบทูลกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ว่าชาวต่างประเทศ  มักติเตียนว่ากรุงเทพฯ สกปรกไม่มีถนนหนทางสมควรแก่ฐานะเป็นเมืองหลวงพระองค์  จึงโปรดเกล้าให้จัดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ขึ้นโดยมีพระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ  ร.ศ.116 ออกใช้บังคับการจัดการดำเนินงานเป็นหน้าที่ของกรมสุขาภิบาล  การบริหารกิจการในท้องที่ของสุขาภิบาลพระราชกำหนดได้กำหนดให้มีการประชุมปรึกษากันเป็นคราว ๆ  ต่อมากระทรวงมหาดไทยได้รับหน้าที่ในด้านการอนามัยและการศึกษาขั้นต้นของราษฎร ได้ แบ่งสุขาภิบาลออกเป็น 2 ชนิด คือ สุขาภิบาลเมือง และสุขาภิบาลตำบล  โดยสุขาภิบาลแต่ละชนิดมีหน้าที่         <br />\n            1.รักษาความสะอาดในท้องที่                   <br />\n            2.การป้องกันและรักษาความเจ็บไข้ในท้องที่<br />\n            3. การบำรุงและรักษาทางไปมาในท้องที่  <br />\n            4. การศึกษาขึ้นต้นของราษฎร<br />\n            พระราชบัญญัติทั้งสองฉบับได้ใช้อยู่จนกระทั่งหมดสมัยที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงดำรงตำแหน่งของเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ไม่มีนโยบายส่งเสริมการกระจายอำนาจการปกครองของประเทศและสุขาภิบาลเริ่มประสบปัญหาต่างๆ จึงทำให้การทำงานของสุขาภิบาลหยุดชะงักและเฉื่อยลงตามลำดับ จวบจนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปีพ.ศ.2475 คณะราษฎรมุ่งหวังที่จะสถาปนาระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยขึ้นในประเทศไทย จึงตราพระราชบัญญัติการจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 เพื่อส่งเสริมให้มีการปกครองท้องถิ่นรูปแบบเทศบาลอย่างกว้างขวาง\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>5.จงอธิบายสาเหตุการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2475</strong></span><br />\nตอบ สรุปสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 ว่า เนื่องมากจากเหตุการณ์ 3 อย่างมาบรรจบกัน คือ<br />\n1) สถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศตกต่ำ รายได้ไม่สมดุลย์กับรายจ่าย สินค้าที่ผลิตได้ก็ไม่มีใครซื้อ ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงให้เก็บภาษีเพิ่ม และปลดข้าราชการออก ความปั่นป่วนที่มาจากเศรษฐกิจตกต่ำ ทำให้ประชาชนทั่วไปคิดว่ารัฐบาลไม่มีความสามารถ<br />\n2) นักศึกษาทั้งหลายที่ประเทศไทยส่งออกไปศึกษาในต่างประเทศ ได้เห็นการปกครองของประเทศยุโรปแตกต่างไปจากของประเทศไทย เช่น ประเทศอังกฤษ และฝรั่งเศส เมื่อได้ศึกษาถึงควมเจริญก็เกิดความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงการปกครอง<br />\n3) ประเทศไทยในเวลานั้น ตำแหน่งสำคัญชั้นผู้ใหญ่ล้วนแต่เจ้านายในราชวงศ์ เจ้านายที่รองลงมาที่ทำงานร่วมกับข้าราชการทั่วไปก็จะได้เลื่อนขั้นเงินเดือนเร็วกว่า ทั้งนี้เพราะการให้ความดีความชอบมีหลายลักษณะ เช่น ปีแรกได้บรรดาศักดิ์ ปีที่สองได้เหรียญตรา ปีที่สามจึงจะได้เลื่อนขั้นเงินเดือน ส่วนข้าราชการที่เป็นเจ้าตั้งแต่หม่อมเจ้าขึ้นไป ไม่จำเป็นต้องรอให้ขอบรรดาศักดิ์ ไม่ต้องรอให้ได้เหรียญตรา ก็เลื่อนขั้นเงินเดือนได้ทุกปี ลักษณะนี้ทำให้ ข้าราชการทั่วไปคิดถึงความเสมอภาค และเป็นสาเหตุให้เปลี่ยนแปลงการปกครองด้วย\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>6.ผลทางการเมืองการปกครองที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปีพ.ศ.2475 มีอะไรบ้าง<br />\n</strong></span>ตอบ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 มีสาระสำคัญที่เห็นเด่นชัดมีอยู่สองประการคือ                   <br />\n       1. จำกัดอำนาจกษัตริย์ เมื่อพิจารณาจาก &quot;ประกาศของคณะราษฎรฉบับที่ 1&quot; ที่ได้แจกจ่ายให้แก่ประชาชนในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 แล้ว จะเห็นได้ว่า คณะราษฎรทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็เพราะไม่ศรัทธาในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และต้องการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ จึงได้ &quot;…..รวมกำลังตั้งเป็นคณะราษฎรขึ้น และได้ยึดอำนาจของรัฐบาลกษัตริย์ …..&quot; ส่วนสถานภาพของพระมหากษัตริย์นั้น คณะราษฎรได้ชี้แจงว่า &quot;…..คณะราษฎรไม่ประสงค์ทำการแย่งชิงราชสมบัติ ฉะนั้นจึงได้ขอเชิญให้กษัตริย์องค์นี้ดำรงตำแหน่งกษัตริย์ต่อไป แต่จะต้องอยู่ใต้กฎหมายธรรมนูญการปกครองแผ่นดินจะทำอะไรโดยลำพังไม่ได้ นอกจากด้วยความเห็นของสภาผู้แทนราษฎร…..&quot; <br />\n       หลักการที่ปรากฏอยู่ในประกาศของคณะราษฎรฉบับที่ 1 ได้ถูกนำมาบัญญัติไว้หลายๆแห่งด้วยกันในพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวฯ โดยเริ่มตั้งแต่คำปรารภที่ว่า &quot;…..โดยที่คณะราษฎรได้ขอร้องให้อยู่ใต้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม…..&quot; ซึ่งชี้ให้เห็นชัดว่า ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้สิ้นสุดลงแล้ว และพระมหากษัตริย์ทรงอยู่ใต้รัฐธรรมนูญเหมือนกับประชาชนทั่วๆไป จากนั้นในมาตรา 1 ของรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวก็ได้ยืนยันถึงการเปลี่ยนแปลงตัว &quot;ผู้มีอำนาจสูงสุด&quot; ของประเทศว่า &quot;อำนาจสูงสุดของประเทศนั้นเป็นของราษฎรทั้งหลาย&quot; ซึ่งเท่ากับว่ากษัตริย์ได้สูญเสียอำนาจสูงสุดให้กับประชาชนแล้ว และในมาตรา 2 คณะราษฎรก็ได้ย้ำถึงสถานะของกษัตริย์อีกครั้งหนึ่งว่ามีสถานะเท่าๆกับองค์กรอื่นอีก 3 องค์กรที่จะ &quot;เป็นผู้ใช้อำนาจแทนราษฎร&quot; คือ กษัตริย์ สภาผู้แทนราษฎร คณะกรรมการราษฎรและศาล<br />\n       ในมาตรา 6 ได้มีการให้อำนาจแก่ &quot;ตัวแทนของประชาชน&quot; ที่จะวินิจฉัยการกระทำผิดทางอาญาของกษัตริย์ได้โดยบัญญัติไว้ว่า &quot;กษัตริย์จะถูกฟ้องร้องคดีอาชญายังโรงศาลไม่ได้เป็นหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรจะวินิจฉัย&quot; ส่วนบรรดาการกระทำต่างๆของ &quot;พระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ&quot; จะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติในมาตรา 7 คือ &quot;…..ต้องมีกรรมการราษฎรผู้หนึ่งผู้ใดลงนามด้วย โดยได้รับความยินยอมของคณะกรรมการราษฎรจึงจะใช้ได้ มิฉะนั้นเป็นโมฆะ&quot;<br />\n       บทบัญญัติดังกล่าวข้างต้นเป็นสิ่งแสดงถึงการจำกัดอำนาจของกษัตริย์ที่ถูกบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับแรกอย่างชัดแจ้ง นอกเหนือจากเรื่องดังกล่าวยังมีอีกหลายกรณีที่กษัตริย์ไม่สามารถทำได้ เช่น ยับยั้งร่างกฎหมายไม่ได้ (มาตรา 8) ทรงถอดถอนเสนาบดีไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับคำแนะนำจากคณะกรรมการราษฎร(มาตรา 35) ฯลฯ ซึ่งท่านผู้สนใจรายละเอียดดังกล่าวย่อมสามารถตรวจสอบได้จากพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475        <br />\n       2. ให้อำนาจแก่ประชาชน ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า วัตถุประสงค์ประการหนึ่งของคณะราษฎรในการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็คือ ต้องการให้ประชาชนมีส่วนในการปกครอง<br />\n       ประเทศตามแบบอย่างประเทศในยุโรป จึงได้กำหนดเรื่องจำกัดอำนาจของพระมหากษัตริย์ไว้ในรัฐธรรมนูญและเพิ่มอำนาจให้แก่ &quot;ตัวแทนของประชาชน&quot;\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>7.ในระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยพระมหากษัตริย์มีความสำคัญอย่างไร</strong></span><br />\nตอบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับกำหนดรูปแบบการปกครองและประมุขแห่งรัฐไว้ว่า ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นการเทิดทูนพระมหากษัตริย์ คือ ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ และรัฐธรรมนูญยังกำหนดพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ โดยให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชน โดยใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อำนาจบริหารผ่านทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการผ่านทางศาล การกำหนดเช่นนี้หมายความว่าอำนาจต่าง ๆ จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มีองค์กรเป็นผู้ใช้ ฉะนั้นการที่บัญญัติว่า พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการผ่านทางองค์กรต่าง ๆ นั้น จึงเป็นการเทิดพระเกียรติ แต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย<br />\n          พระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญของไทยแม้จะได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือการเมืองและกำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการในการปฏิบัติทางการปกครองทุกอย่าง แต่พระมหากษัตริย์ก็ทรงมีอำนาจบางประการที่ได้รับการรับรองโดยรัฐธรรมนูญ และเป็นพระราชอำนาจที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัยจริง ๆ ได้แก่ การแต่งตั้งคณะองคมนตรี การแต่งตั้งข้าราชการในพระองค์ และสมุหราชองครักษ์ การแก้ไขเพิ่มเติมกฏมณเทียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ การพระราชทางเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เป็นต้น<br />\n          พระราชอำนาจที่ส่งผลกระทบต่อการเมืองการปกครองอย่างแท้จริง คือ พระราชอำนาจในการยับยั้งร่างพระราชบัญญัติ ในกรณีที่พระมหากษัตริย์ทรงไม่เห็นด้วยกับร่างพระราชบัญญัติที่ผ่านการเห็นชอบของรัฐสภามาแล้วและนายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้ แต่พระองค์อาจใช้พระราชอำนาจยับยั้งได้ เช่น กรณีพระราชบัญญัติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งรัฐสภาจะต้องนำร่างพระราชบัญญัติที่ถูกยับยั้งนั้นไปพิจารณาใหม่\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>แหล่งอ้างอิง</strong></span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://ebook.nfe.go.th/ebook/html//012/111.htm\">http://ebook.nfe.go.th/ebook/html//012/111.htm</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #009f4f\"><a href=\"http://siweb.dss.go.th/sci200/item3/politiced.html\">http://siweb.dss.go.th/sci200/item3/politiced.html</a></span><a href=\"http://siweb.dss.go.th/sci200/item3/politiced.html\"><u><span style=\"color: #800080\"></span></u></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://power.manager.co.th/1-10.html\">http://power.manager.co.th/1-10.html</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.dopa.go.th/history/polit4.htm\">http://www.dopa.go.th/history/polit4.htm</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.dopa.go.th/history/polit3.htm\">http://www.dopa.go.th/history/polit3.htm</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>จัดทำโดย น.ส.ศุภาพิชญ์ อัครานุรักษ์กุล ม.6/4 เลขที่ 27<br />\n</strong>\n</p>\n', created = 1727541570, expire = 1727627970, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b795018efe425ed4cb3da04059122242' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การปกครอง อ.มยุรี โดย น.ส.ศุภาพิชญ์ อัครานุรักษ์กุล ม.6/4 เลขที่ 27

รูปภาพของ sss28358

จงตอบคำถามและอธิบายอย่างละเอียด


1.เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงวางรากฐานการ ปฏิรูปการปกครอง
ตอบ การวางพื้นฐานในด้านการปกครองด้วยทรงเห็นว่าราษฏรจะครองชีพด้วยความร่มเย็นเป็นสุขได้ ก็ต้องมีการปกครองเป็นระเบียบเรียบร้อยด้วยหลักทางกฎหมาย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงปฏิรูปกฎหมายและการศาลของไทยในด้านต่าง ๆ ให้ทันสมัยขึ้น ทรงติดต่อให้ชาวยุโรปและอเมริกาที่ชำนาญในวิชากฎหมายเข้ามาเป็นข้าราชการแก้กฎหมายต่าง ๆ ให้ทันสมัยและไม่ขัดกับกฎหมายต่างประเทศ ทำให้กระบวนการยุติธรรมของไทยในยุคหลัง เริ่มใช้หลักเกณฑ์ความยุติธรรมแบบสากลมาใช้ในการออกกฎหมายและพิจารณาคดีเพิ่มเติมขึ้นจากการถวายฎีกา ความเปลี่ยนแปลงนี้เห็นจากประกาศที่ห้ามมิให้ช่วยคนในบังคับต่างประเทศยุโรปมาเป็นทาส ประกาศพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการคมนาคมในประเทศ ซึ่งใช้ร่วมกันทั้งคนไทยและต่างประเทศ คือพระราชบัญญัติและกฎหมายท้องน้ำเกี่ยวกับเรือใหญ่เรือเล็ก ที่ขึ้นตามแม่น้ำลำคลอง และพระราชบัญญัติว่าด้วยการทางบก (นฤมล 2525 : 317) ในกระบวนการศาล ทรงให้มีการลงลายมือหรือแกงไดไว้เป็นหลักฐานในหนังสือสำคัญ บังคับใช้ทั้งในกรุงและหัวเมือง โปรดเกล้า ฯ ให้ทำสารกรมธรรม์หรือหนังสือสัญญาเป็นเกณฑ์ เป็นหลักฐานในฟ้องร้อง สภาพความเป็นอยู่ของราษฎรในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถูกปรับปรุงให้ดีขึ้น

2.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้ยกเลิกการปกครองแบบจตุสดมภ์แล้วได้จัดการปกครองใหม่เป็นอย่างไร
ตอบ ทรงเลิกจตุสดมภ์แล้วทรงตั้งกระทรวงเสนาบดีขึ้น 12 กระทรวง เมื่อ วันที่ 1 เมษายน 2435 คือ
1. กระทรวงกลาโหม เจ้าพระยารัตนธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์) เป็นเสนาบดี
2. กระทรวงการต่างประเทศ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เป็นเสนาบดี
3. กระทรวงคลัง สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระจักรพรรดิพงศ์ เป็นเสนาบดี
4. กระทรวงวัง กรมหลวงประจักษศิลปาคม เป็นเสนาบดี
5. กระทรวงมหาดไทย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นเสนาบดี
6. กระทรวงพระนครบาล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์ เป็นเสนาบดี
7. กระทรวงโยธาธิการ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานุริศรานุวัติวงศ์ เป็นเสนาบดี
8. กระทรวงธรรมการและศึกษาธิการ เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) เป็นเสนาบดี
9. กระทรวงเกษตรพาณิชการ จอมพล เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี เป็นเสนาบดี
10. กระทรวงยุติธรรม สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฐ์ เป็นเสนาบดี
11. กระทรวงมุรธาธาร พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา เป็นเสนาบดี
12. กระทรวงยุทธนาธิการ จอมพลสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้ากรมพระยา ภาณุพันธุวงศ์วรเดช เป็นเสนาบดี
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากแบบจตุสดมภ์มาเป็นการจัดตั้งกระทรวง 12 กระทรวง นี้ต้องนับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง ซึ่งเรียกได้อย่างพูดกันตามธรรมดาว่า “พลิกแผ่นดิน” ถ้าจะใช้ภาษาอังกฤษก็ต้องเรียกว่า “Revolution“ ไม่ใช่ “Evolution” การเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงครั้งนี้ มีน้อยประเทศนัก ที่จะสำเร็จไปได้โดยราบคาบปราศจากการจลาจล หรือจะว่าไม่มีปัญหาเลยก็ว่าได้ ประเทศญี่ปุ่นไ ด้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองอย่าง “พลิกแผ่นดิน” เหมือนประเทศสยาม แต่หาได้ดำเนินการไปได้โดยสงบราบคาบ เหมือนอย่างประเทศสยามไม่ ยังต้องมีการจลาจลในบ้านเมือง เช่น มีขบถสัตสุมา (“Sutsuma Rebellion”) เป็นต้น

3.ในสมัยรัชกาลที่5 มีการปฏิรูปการปกครองในส่วนภูมิภาคอย่างไร
ตอบ การปรับปรุงการบริหารราชการส่วนภูมิภาค ด้วยเหตุที่มีการรวมการบังคับบัญชาหัวเมืองซึ่งเคยแยกกันอยู่ใน 3 กรม คือ มหาดไทยกลาโหมและกรมท่า ให้มารวมกันอยู่ในกระทรวงมหาดไทยกระทรวงเดียว การปฏิรูปหน่วยราชการบริหารส่วนภูมิภาคจึงมีสภาพและฐานะเป็นตัวแทน (field) หรือหน่วยงานประจำท้องที่ของกระทรวงมหาดไทย หรือรัฐบาลกลางโดยส่วนรวมทั้งนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะการปกครองแบบเมืองหลวง เมืองชั้นใน เมืองชั้นนอก เมืองพระยามหานคร และเมืองประเทศราชเดิม เพื่อให้ลักษณะการปกครองเปลี่ยนแปลงแบบราชอาณาจักรโดยการจัดระเบียบการปกครองให้มีลักษณะลดหลั่นตามระดับสายการบังคับบัญชาหน่วยเหนือลงไปจนถึงหน่วยงานชั้นรอง ตามลำดับดังนี้  
          1.การจัดรูปการปกครองมณฑลเทศาภิบาล โดยการรวมหัวเมืองต่าง ๆ เป็นมณฑลตามสภาพภูมิประเทศและความสะดวกแก่การปกครอง มีสมุหเทศาภิบาลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเลือกสรรจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความสามรถสูงและเป็นที่วางพระราชหฤทัยแต่งตั้งให้ไปบริหารราชการต่างพระเนตรพระกรรณ
          2.การจัดรูปการปกครองเมือง มีการปกครองใช้ข้อบังคับลักษณะการปกครองท้องที่ซึ่งมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดหน่วยบริหารที่ชื่อว่า "เมือง" ใหม่โดยให้รวมท้องที่หลายอำเภอเป็นหัวเมืองหนึ่งและกำหนดให้มีพนักงานปกครองเมืองแต่ละเมือง ประกอบด้วยผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาเมือง และมีคณะกรรมการเมือง 2 คณะ คือ กรมการในทำเนียบและกรมการนอกทำเนียบเป็นผู้ช่วยเหลือและให้คำแนะนำพระมหากษัตริย์ทรงเลือกสรร และโยกย้ายผู้ว่าราชการเมือง 
          3. การจัดการปกครองอำเภอ อำเภอเป็นหน่วยบริหารราชการระดับถัดจากเมืองเป็นหน่วยปฏิบัติราชการหน่วยสุดท้ายของรัฐที่จะเป็นผู้บริการราชการในท้องที่ และให้บริการแก่ประชาชนตามนโยบายของรัฐบาลกลาง เป็นหน่วยการปกครองที่จัดตั้งขึ้นโดยการรวมท้องที่หลายตำบลเข้าด้วยกัน มีกรมการอำเภอซึ่งประกอบด้วยนายอำเภอปลัดอำเภอ และสมุห์บัญชีอำเภอร่วมกันรับผิดชอบในราชการของอำเภอ โดยนายอำเภอเป็นหัวหน้า ทั้งนี้ การแต่งตั้งโยกย้ายนายอำเภอ  เป็นอำนาจของข้าหลวงเทศาภิบาลสำหรับตำแหน่งลำดับรองๆ ลงไปซึ่งได้แก่ ปลัดอำเภอ สมุห์บัญชีอำเภอ และเสมียน พนักงาน ผู้ว่าราชการเมืองมีอำนาจแต่งตั้งโยกย้ายหากท้องที่อำเภอใดกว้างขวางยากแก่การที่กรมการอำเภอจะไปตรวจตราให้ทั่วถึงได้และท้องที่นั้นยังมีผู้คนไม่มากพอที่จะยกฐานะเป็นอำเภอหรือกรณีที่ท้องที่ของอำเภอมีชุมชนที่อยู่ห่างไกลที่ว่าการอำเภอก็ให้แบ่งท้องที่ออกเป็น กิ่งอำเภอเพื่อให้มีพนักงานปกครองดูแลได้แต่กิ่งอำเภอยังคงเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอและอยู่ในกำกับดูแลของกรรมการอำเภอ
          4. การจัดรูปการปกครองตำบลหมู่บ้าน อำเภอแต่ละอำเภอมีการแบ่งซอยพื้นที่ออกเป็นหลายตำบลและตำบลก็ยังซอยพื้นที่ออกเป็นหมู่บ้าน ซึ่งเป็นหน่วยการปกครองสุดท้ายที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุดการปกครองระดับนี้มุ่งหมายที่จะให้ราษฎรในพื้นที่ เลือกสรรบุคคลขึ้นทำหน้าที่เป็นธุระในการรักษาความสงบเรียบร้อยโดยเป็นทั้งตัวแทนประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติงาน เป็นสื่อเชื่อมโยงระหว่างรัฐบาลกับประชาชน คือเป็นผู้ประสานงานช่วยเหลืออำเภอ และเป็นตัวแทนของรัฐสอดส่องดูแลทุกข์สุขของราษฎร์ ตลอดจนช่วยเก็บภาษีอากรบางอย่างให้รัฐ


4.ข้อดีของการปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่นในสมัยรัชกาลที่5มีอะไรบ้าง
ตอบ การปรับปรุงการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ  ทรงริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองของประชาชนในท้องถิ่นจากต่างประเทศมา ดำเนินการโดยริเริ่มทดลองให้มีการจัดการสุขาภิบาลกรุงเทพฯและการสุขาภิบาลหัวเมือง รายละเอียดดังนี้
          1. การจัดการสุขาภิบาลกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงเริ่มให้จัดการบำรุงท้องถิ่นแบบสุขาภิบาล  ขึ้นในกรุงเทพ อันเป็นอิทธิพลสืบเนื่องมาจากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีโอกาสไปดู กิจการต่าง ๆในยุโรป และเนื่องจากเจ้าพระยาอภัยราชา(โรลังยัคมินส์) ติเตียนว่ากรุงเทพฯสกปรกที่รักษาราชการทั่วไปของประเทศในขณะนั้นได้กราบทูลกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ว่าชาวต่างประเทศ  มักติเตียนว่ากรุงเทพฯ สกปรกไม่มีถนนหนทางสมควรแก่ฐานะเป็นเมืองหลวงพระองค์  จึงโปรดเกล้าให้จัดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ขึ้นโดยมีพระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ  ร.ศ.116 ออกใช้บังคับการจัดการดำเนินงานเป็นหน้าที่ของกรมสุขาภิบาล  การบริหารกิจการในท้องที่ของสุขาภิบาลพระราชกำหนดได้กำหนดให้มีการประชุมปรึกษากันเป็นคราว ๆ  ต่อมากระทรวงมหาดไทยได้รับหน้าที่ในด้านการอนามัยและการศึกษาขั้นต้นของราษฎร ได้ แบ่งสุขาภิบาลออกเป็น 2 ชนิด คือ สุขาภิบาลเมือง และสุขาภิบาลตำบล  โดยสุขาภิบาลแต่ละชนิดมีหน้าที่        
            1.รักษาความสะอาดในท้องที่                  
            2.การป้องกันและรักษาความเจ็บไข้ในท้องที่
            3. การบำรุงและรักษาทางไปมาในท้องที่ 
            4. การศึกษาขึ้นต้นของราษฎร
            พระราชบัญญัติทั้งสองฉบับได้ใช้อยู่จนกระทั่งหมดสมัยที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงดำรงตำแหน่งของเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ไม่มีนโยบายส่งเสริมการกระจายอำนาจการปกครองของประเทศและสุขาภิบาลเริ่มประสบปัญหาต่างๆ จึงทำให้การทำงานของสุขาภิบาลหยุดชะงักและเฉื่อยลงตามลำดับ จวบจนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปีพ.ศ.2475 คณะราษฎรมุ่งหวังที่จะสถาปนาระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยขึ้นในประเทศไทย จึงตราพระราชบัญญัติการจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 เพื่อส่งเสริมให้มีการปกครองท้องถิ่นรูปแบบเทศบาลอย่างกว้างขวาง


5.จงอธิบายสาเหตุการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2475
ตอบ สรุปสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 ว่า เนื่องมากจากเหตุการณ์ 3 อย่างมาบรรจบกัน คือ
1) สถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศตกต่ำ รายได้ไม่สมดุลย์กับรายจ่าย สินค้าที่ผลิตได้ก็ไม่มีใครซื้อ ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงให้เก็บภาษีเพิ่ม และปลดข้าราชการออก ความปั่นป่วนที่มาจากเศรษฐกิจตกต่ำ ทำให้ประชาชนทั่วไปคิดว่ารัฐบาลไม่มีความสามารถ
2) นักศึกษาทั้งหลายที่ประเทศไทยส่งออกไปศึกษาในต่างประเทศ ได้เห็นการปกครองของประเทศยุโรปแตกต่างไปจากของประเทศไทย เช่น ประเทศอังกฤษ และฝรั่งเศส เมื่อได้ศึกษาถึงควมเจริญก็เกิดความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงการปกครอง
3) ประเทศไทยในเวลานั้น ตำแหน่งสำคัญชั้นผู้ใหญ่ล้วนแต่เจ้านายในราชวงศ์ เจ้านายที่รองลงมาที่ทำงานร่วมกับข้าราชการทั่วไปก็จะได้เลื่อนขั้นเงินเดือนเร็วกว่า ทั้งนี้เพราะการให้ความดีความชอบมีหลายลักษณะ เช่น ปีแรกได้บรรดาศักดิ์ ปีที่สองได้เหรียญตรา ปีที่สามจึงจะได้เลื่อนขั้นเงินเดือน ส่วนข้าราชการที่เป็นเจ้าตั้งแต่หม่อมเจ้าขึ้นไป ไม่จำเป็นต้องรอให้ขอบรรดาศักดิ์ ไม่ต้องรอให้ได้เหรียญตรา ก็เลื่อนขั้นเงินเดือนได้ทุกปี ลักษณะนี้ทำให้ ข้าราชการทั่วไปคิดถึงความเสมอภาค และเป็นสาเหตุให้เปลี่ยนแปลงการปกครองด้วย


6.ผลทางการเมืองการปกครองที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปีพ.ศ.2475 มีอะไรบ้าง
ตอบ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 มีสาระสำคัญที่เห็นเด่นชัดมีอยู่สองประการคือ                  
       1. จำกัดอำนาจกษัตริย์ เมื่อพิจารณาจาก "ประกาศของคณะราษฎรฉบับที่ 1" ที่ได้แจกจ่ายให้แก่ประชาชนในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 แล้ว จะเห็นได้ว่า คณะราษฎรทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็เพราะไม่ศรัทธาในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และต้องการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ จึงได้ "…..รวมกำลังตั้งเป็นคณะราษฎรขึ้น และได้ยึดอำนาจของรัฐบาลกษัตริย์ ….." ส่วนสถานภาพของพระมหากษัตริย์นั้น คณะราษฎรได้ชี้แจงว่า "…..คณะราษฎรไม่ประสงค์ทำการแย่งชิงราชสมบัติ ฉะนั้นจึงได้ขอเชิญให้กษัตริย์องค์นี้ดำรงตำแหน่งกษัตริย์ต่อไป แต่จะต้องอยู่ใต้กฎหมายธรรมนูญการปกครองแผ่นดินจะทำอะไรโดยลำพังไม่ได้ นอกจากด้วยความเห็นของสภาผู้แทนราษฎร….."
       หลักการที่ปรากฏอยู่ในประกาศของคณะราษฎรฉบับที่ 1 ได้ถูกนำมาบัญญัติไว้หลายๆแห่งด้วยกันในพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวฯ โดยเริ่มตั้งแต่คำปรารภที่ว่า "…..โดยที่คณะราษฎรได้ขอร้องให้อยู่ใต้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม….." ซึ่งชี้ให้เห็นชัดว่า ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้สิ้นสุดลงแล้ว และพระมหากษัตริย์ทรงอยู่ใต้รัฐธรรมนูญเหมือนกับประชาชนทั่วๆไป จากนั้นในมาตรา 1 ของรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวก็ได้ยืนยันถึงการเปลี่ยนแปลงตัว "ผู้มีอำนาจสูงสุด" ของประเทศว่า "อำนาจสูงสุดของประเทศนั้นเป็นของราษฎรทั้งหลาย" ซึ่งเท่ากับว่ากษัตริย์ได้สูญเสียอำนาจสูงสุดให้กับประชาชนแล้ว และในมาตรา 2 คณะราษฎรก็ได้ย้ำถึงสถานะของกษัตริย์อีกครั้งหนึ่งว่ามีสถานะเท่าๆกับองค์กรอื่นอีก 3 องค์กรที่จะ "เป็นผู้ใช้อำนาจแทนราษฎร" คือ กษัตริย์ สภาผู้แทนราษฎร คณะกรรมการราษฎรและศาล
       ในมาตรา 6 ได้มีการให้อำนาจแก่ "ตัวแทนของประชาชน" ที่จะวินิจฉัยการกระทำผิดทางอาญาของกษัตริย์ได้โดยบัญญัติไว้ว่า "กษัตริย์จะถูกฟ้องร้องคดีอาชญายังโรงศาลไม่ได้เป็นหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรจะวินิจฉัย" ส่วนบรรดาการกระทำต่างๆของ "พระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ" จะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติในมาตรา 7 คือ "…..ต้องมีกรรมการราษฎรผู้หนึ่งผู้ใดลงนามด้วย โดยได้รับความยินยอมของคณะกรรมการราษฎรจึงจะใช้ได้ มิฉะนั้นเป็นโมฆะ"
       บทบัญญัติดังกล่าวข้างต้นเป็นสิ่งแสดงถึงการจำกัดอำนาจของกษัตริย์ที่ถูกบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับแรกอย่างชัดแจ้ง นอกเหนือจากเรื่องดังกล่าวยังมีอีกหลายกรณีที่กษัตริย์ไม่สามารถทำได้ เช่น ยับยั้งร่างกฎหมายไม่ได้ (มาตรา 8) ทรงถอดถอนเสนาบดีไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับคำแนะนำจากคณะกรรมการราษฎร(มาตรา 35) ฯลฯ ซึ่งท่านผู้สนใจรายละเอียดดังกล่าวย่อมสามารถตรวจสอบได้จากพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475       
       2. ให้อำนาจแก่ประชาชน ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า วัตถุประสงค์ประการหนึ่งของคณะราษฎรในการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็คือ ต้องการให้ประชาชนมีส่วนในการปกครอง
       ประเทศตามแบบอย่างประเทศในยุโรป จึงได้กำหนดเรื่องจำกัดอำนาจของพระมหากษัตริย์ไว้ในรัฐธรรมนูญและเพิ่มอำนาจให้แก่ "ตัวแทนของประชาชน"


7.ในระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยพระมหากษัตริย์มีความสำคัญอย่างไร
ตอบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับกำหนดรูปแบบการปกครองและประมุขแห่งรัฐไว้ว่า ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นการเทิดทูนพระมหากษัตริย์ คือ ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ และรัฐธรรมนูญยังกำหนดพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ โดยให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชน โดยใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อำนาจบริหารผ่านทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการผ่านทางศาล การกำหนดเช่นนี้หมายความว่าอำนาจต่าง ๆ จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มีองค์กรเป็นผู้ใช้ ฉะนั้นการที่บัญญัติว่า พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการผ่านทางองค์กรต่าง ๆ นั้น จึงเป็นการเทิดพระเกียรติ แต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย
          พระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญของไทยแม้จะได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือการเมืองและกำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการในการปฏิบัติทางการปกครองทุกอย่าง แต่พระมหากษัตริย์ก็ทรงมีอำนาจบางประการที่ได้รับการรับรองโดยรัฐธรรมนูญ และเป็นพระราชอำนาจที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัยจริง ๆ ได้แก่ การแต่งตั้งคณะองคมนตรี การแต่งตั้งข้าราชการในพระองค์ และสมุหราชองครักษ์ การแก้ไขเพิ่มเติมกฏมณเทียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ การพระราชทางเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เป็นต้น
          พระราชอำนาจที่ส่งผลกระทบต่อการเมืองการปกครองอย่างแท้จริง คือ พระราชอำนาจในการยับยั้งร่างพระราชบัญญัติ ในกรณีที่พระมหากษัตริย์ทรงไม่เห็นด้วยกับร่างพระราชบัญญัติที่ผ่านการเห็นชอบของรัฐสภามาแล้วและนายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้ แต่พระองค์อาจใช้พระราชอำนาจยับยั้งได้ เช่น กรณีพระราชบัญญัติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งรัฐสภาจะต้องนำร่างพระราชบัญญัติที่ถูกยับยั้งนั้นไปพิจารณาใหม่

 

แหล่งอ้างอิง

http://ebook.nfe.go.th/ebook/html//012/111.htm

http://siweb.dss.go.th/sci200/item3/politiced.html

http://power.manager.co.th/1-10.html

http://www.dopa.go.th/history/polit4.htm

http://www.dopa.go.th/history/polit3.htm

 

จัดทำโดย น.ส.ศุภาพิชญ์ อัครานุรักษ์กุล ม.6/4 เลขที่ 27

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 236 คน กำลังออนไลน์