• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1f7394d702f2cd8cbc53596d7d7b18e4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\">1.เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงวางรากฐานการปฏิรูปการปกครอง</span></span></b><b><span style=\"color: black; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">    <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">สำหรับเหตุสำคัญที่ผลักดันให้มีการปฏิรูปการปกครองมีอยู่ </span>2 <span lang=\"TH\">ประการคือ</span></span></span></span></p>\n<p>(1) <span lang=\"TH\">มูลเหตุภายใน ทรงพิจารณาเห็นว่าการปกครองแบบเดิมไม่เหมาะสมกับสภาพทางการปกครองและทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น ประเทศไทยมีประชากรเพิ่มขึ้น การคมนมคมและการติดต่อสื่อสารเริ่มมีความทันสมัยมากขึ้น การปกครองแบบเดิมจะมีผลทำให้ประเทศชาติขาดเอกภาพในการปกครอง ขาดประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดินและพัฒนาได้ยาก</span></p>\n<p>(2) <span lang=\"TH\">มูลเหตุภายนอก ทรงพิจารณาเห็นว่า หากไม่ทรงปฏิรูปการปกครองแผ่นดินย่อมจะเป็นอันตรายต่อเอกราชของชาติ เพราะขณะนั้น จักรวรรดินิยมตะวันตก ได้เข้ามาแสวงหาอาณานิคมในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนั้น แต่เดิมเราต้องยินยอมให้ประเทศตะวันตกหลายประเทศมีสิทธิภาพนอกอาณาเขตคือ สามารถตั้งศาลกงสุลขึ้นมาพิจารณาความคนในบังคับของตนได้ โดยไม่ต้องอยู่ใต้การบังคับของศาลไทย เพราะอ้างว่า ศาลไทยล้าสมัย</span><span style=\"color: black\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\">2.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าทรงโปรดให้ยกเลิกการปกครองจตุสดมภ์แล้วได้จัดการปกครองใหม่เป็นอย่างไร</span></span></b><b><span style=\"color: black; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"> <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">- ปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศจัดตั้ง</span> &quot;<span lang=\"TH\">เสนาบดีสภา&quot;และจัดตั้งกระทรวงแบบใหม่</span>12 <span lang=\"TH\">กระทรวง ได้แก่ กลาโหม</span>, <span lang=\"TH\">นครบาล</span>, <span lang=\"TH\">วัง</span>, <span lang=\"TH\">เกษตรพานิชการ</span>, <span lang=\"TH\">พระคลัง</span>, <span lang=\"TH\">การต่างประเทศ</span>, <span lang=\"TH\">ยุทธนาธิการ</span>, <span lang=\"TH\">โยธาธิการ</span>, <span lang=\"TH\">ธรรมการ</span>, <span lang=\"TH\">ยุติธรรม</span> ,<span lang=\"TH\">มุรธาธิการ และมหาดไทย แทนจตุสดมภ์เมื่อวันที่ </span>1 <span lang=\"TH\">เมษายน </span>2435 <span lang=\"TH\">หลังจากนั้นในวันที่</span> 1 <span lang=\"TH\">เมษายน </span>2435 <span lang=\"TH\">ทรงยุบกระทรวงที่ซ้ำซ้อนกันอยู่ทำให้เหลือกระทรวงเพียง </span>10 <span lang=\"TH\">กระทรวง คือ มหาดไทย กลาโหม นครบาล วัง ต่างประเทศ พระคลังมหาสมบัติ โยธาธิการ ยุติธรรม ธรรมการ เกษตราธิการ</span></span></span><span style=\"color: black\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\">3.ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฏิรูปการปกครอง ในส่วนภูมิภาคอย่างไร</span></span></b></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"color: black; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">-การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาค พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงจัดการรวบรวมหัวเมืองตามชายแดนต่างๆ ขึ้นเป็นเขตการปกครอง เรียกว่า</span><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\"> &quot;<span lang=\"TH\">มณฑล&quot;โดยมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครองและขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกได้ดังนี้ </span><span style=\"color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">การปกครองแบบเทศาภิบาล หลักการปกครองแบบนี้คือ รัฐบาลจะทำการปกครองหัวเมืองตั้งแต่ชั้นต่ำสุดถึงสูงสุด โดยเริ่มต้นจากพลเมืองเลือกผู้ใหญ่บ้าน และผู้ใหญ่บ้าน </span><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\">10 <span lang=\"TH\">หมู่บ้านมีสิทธิเลือกกำนันของตำบล ตำบลหลายๆ ตำบลมีพลเมืองประมาณ </span>10,000 <span lang=\"TH\">คนรวมกันเป็นอำเภอ หลายอำเภอรวมกันเป็นเมือง และหลายเมืองรวมเป็นมณฑลโดยมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ดูแล </span><span style=\"color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">การปกครองท้องที่ ในพ.ศ.</span><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\">2440 <span lang=\"TH\">รัชกาลที่ </span>5 <span lang=\"TH\">ทรงตราพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ สำหรับการจัดการปกครองระดับอำเภอ ตำบลและหมู่บ้าน </span><span style=\"color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></span><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; color: #000000\">การปกครองส่วนท้องถิ่น ทรงริเริ่มจัดการ &quot;สุขาภิบาล&quot;ในเขตกรุงเทพ และตำบลท่าฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร เพื่อทดลองให้ประชาชนรู้จักการปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น</span></span><span style=\"color: black; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\">4.ข้อดีของการปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่น ในสมัยรัชกาลทื่ 5 มีอะไรบ้าง</span></span></b></span></span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"color: black; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">-ก่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันภายในราชอาณาจักร เป็นผลจากการปกครองส่วนภูมิภาคในรูปมณฑลเทศาภิบาล โดยมีศูนย์รวมอยู่ที่กรุงเทพ </span><span style=\"color: black; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; color: #000000\">รัฐบาลไทยที่กรุงเทพฯ สามารถขยายอำนาจเข้าควบคุมพื้นที่ภายในพระราชอาณาจักรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น </span></span><span style=\"color: black; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"background: white; margin: 0cm 0cm 3.75pt; line-height: 110%\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\">5.จงอธิบายสาเหตุการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง ในปี พ.ศ. 2475</span></span></b></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">-สาเหตุสําคัญของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 มีหลายสาเหตุ</span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"> <span lang=\"TH\">เช่น ความไม่พอใจในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ปัญหาการผูกขาดอำนาจของอภิรัฐมนตรีสภา ปัญหาความขัดแย้งในกองทัพและปัญหาความขัดแย้งระหว่างผู้นำสามัญชนกับราชวงศ์ ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ ที่รัฐบาลภายใต้ระบอบเก่าไม่สามารถแก้ไขได้ อิทธิพลความคิดทางการเมืองแบบประชาธิปไตยในประเทศตะวันตก ในหมู่นักศึกษาไทยในต่างประเทศ กระแสการโค่นล้ม ระบอบกษัตริย์ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นรัสเซีย จีน เยอรมนี ฯลฯ ความรู้สึกชาตินิยมที่ประเทศไทยถูกเอารัดเอาเปรียบ จากสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรม ซึ่งรัฐบาลสยามทำไว้กับประเทศมหาอำนาจตะวันตก ความขัดแย้ง ระหว่างกลุ่มนายทหารที่ได้รับการศึกษาจากต่างประเทศกับนายทหารที่เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ และความเสื่อมโทรมของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เอง ทั้งหมดนี้เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนเเปลงการปกครอง 2475</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"background: white; margin: 0cm 0cm 3.75pt; line-height: 110%\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\">6.ผลทางการมืองการปกครองที่เกิดขึ้นการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2475 มีอะไรบ้าง</span></span></span></b>\n</p>\n<p style=\"background: white; margin: 0cm 0cm 3.75pt; line-height: 110%\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #333333; line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">-สังคมไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง</span><span style=\"color: #333333; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"> <span lang=\"TH\"> พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2475 <span lang=\"TH\">เมื่อ</span>  <span lang=\"TH\">พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2475 <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #333333; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\">   <span lang=\"TH\">สังคมไทยได้ก้าวสู่ความเป็นอารยะตามแบบตะวันตก</span> <span lang=\"TH\"> โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเจริญที่ปรากฏอยู่ในรูปของวัตถุไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง</span>  <span lang=\"TH\">รถไฟ</span> <span lang=\"TH\"> ไฟฟ้า</span>  <span lang=\"TH\">ประปา</span>  <span lang=\"TH\">เขื่อนชลประทาน</span>  <span lang=\"TH\">โรงพยาบาล</span>  <span lang=\"TH\">ระบบการสื่อสารคมนาคม</span>  <span lang=\"TH\">ที่ทำการรัฐบาล</span> <span lang=\"TH\"> ห้างร้าน</span>  <span lang=\"TH\">และตึกรามบ้านช่อง</span>  <span lang=\"TH\">ตลอดจนเครื่องใช้อันทันสมัย</span> <span lang=\"TH\"> อันมีเจ้านายและชนชั้นสูงเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง</span> <span lang=\"TH\">ส่วนชาวบ้านสามัญชนเป็นผู้ตาม</span> <span lang=\"TH\"> นอกจากนั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงในขนบธรรมเนียมบางอย่างเพื่อให้สอดคล้องกับการปกครองระบบใหม่</span> <span lang=\"TH\"> ทั้งนี้เพราะรัฐบาลต้องติดต่อกับชาติอื่น ๆ ทั่วโลก </span> <span lang=\"TH\">จึงต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยให้เป็นสากลและสอดคล้องกับความเป็นไปของโลก</span> <span lang=\"TH\"> แต่ให้คงเอกลักษณ์ของความเป็นไทยไว้ </span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"><strong></strong></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #333333; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"></span></span></span><span style=\"color: #333333; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: black; line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span><span style=\"font-size: x-small\"></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span lang=\"TH\">7.ในระบบการเมืองการปกครองแบบ ประชาธิปไตยพระมหากษัตริย์มีความสำคัญอย่างไร</span></b><span lang=\"TH\"> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">-ทุกสังคมย่อมจะต้องมีผู้นําซึ่งในการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้นมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ เป็นศูนย์รวมอํานา</span></span></span><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">จของการปกครองระบบประชาธิปไตย เป็นศูนย์รวมความสามัคคีของชาติ เป็นผู้แต่งตั้งลงพระปรมาภิไธยรับรองรัฐธรรมนูญเหนือร่าง</span></span></span> <span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">กฎหมายต่าง ๆเพื่อให้กฎหมายประกาศบังคับใช้จริงได้ ทรงใช้อํานาจอธิปไตยทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรีเเละศาล </span></span></span><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #333333; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"></span></span><o:p></o:p></span>  </p>\n<p>\nเเหล่งที่มา\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #333333; line-height: 110%; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\">http://dnfe<span lang=\"TH\">5.</span>nfe.go.th/ilp/soc<span lang=\"TH\">4/</span>so<span lang=\"TH\">31-4-3.</span>htm<span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></span> </span></p>\n<p>\n<a href=\"/library/studentshow/st2545/6-6/2475tonow.htm\"><span style=\"color: #000000\">http://thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/6-6/2475tonow.htm</span></a><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://learn.chanpradit.ac.th/kosum/noom483050/page1.htm\"><span style=\"color: #000000\">http://learn.chanpradit.ac.th/kosum/noom483050/page1.htm</span></a><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"background: white; margin: 0cm 0cm 3.75pt; line-height: 110%\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"line-height: 110%; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b></span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #444444; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #ff99cc; background-color: #ffff99\">เรียบเรียงเเละรวบรวมโดย น.ส. ณัฐกานด์ พูนเพิ่มทรัพย์ ม.6/4 เลชที่ 3<br />\n</span></span>\n</p>\n', created = 1727388421, expire = 1727474821, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1f7394d702f2cd8cbc53596d7d7b18e4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การปกครอง อ.มยุรี กรวดเเก้ว

รูปภาพของ sss27380

1.เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงวางรากฐานการปฏิรูปการปกครอง     สำหรับเหตุสำคัญที่ผลักดันให้มีการปฏิรูปการปกครองมีอยู่ 2 ประการคือ

(1) มูลเหตุภายใน ทรงพิจารณาเห็นว่าการปกครองแบบเดิมไม่เหมาะสมกับสภาพทางการปกครองและทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น ประเทศไทยมีประชากรเพิ่มขึ้น การคมนมคมและการติดต่อสื่อสารเริ่มมีความทันสมัยมากขึ้น การปกครองแบบเดิมจะมีผลทำให้ประเทศชาติขาดเอกภาพในการปกครอง ขาดประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดินและพัฒนาได้ยาก

(2) มูลเหตุภายนอก ทรงพิจารณาเห็นว่า หากไม่ทรงปฏิรูปการปกครองแผ่นดินย่อมจะเป็นอันตรายต่อเอกราชของชาติ เพราะขณะนั้น จักรวรรดินิยมตะวันตก ได้เข้ามาแสวงหาอาณานิคมในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนั้น แต่เดิมเราต้องยินยอมให้ประเทศตะวันตกหลายประเทศมีสิทธิภาพนอกอาณาเขตคือ สามารถตั้งศาลกงสุลขึ้นมาพิจารณาความคนในบังคับของตนได้ โดยไม่ต้องอยู่ใต้การบังคับของศาลไทย เพราะอ้างว่า ศาลไทยล้าสมัย

 

2.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าทรงโปรดให้ยกเลิกการปกครองจตุสดมภ์แล้วได้จัดการปกครองใหม่เป็นอย่างไร  - ปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศจัดตั้ง "เสนาบดีสภา"และจัดตั้งกระทรวงแบบใหม่12 กระทรวง ได้แก่ กลาโหม, นครบาล, วัง, เกษตรพานิชการ, พระคลัง, การต่างประเทศ, ยุทธนาธิการ, โยธาธิการ, ธรรมการ, ยุติธรรม ,มุรธาธิการ และมหาดไทย แทนจตุสดมภ์เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2435 หลังจากนั้นในวันที่ 1 เมษายน 2435 ทรงยุบกระทรวงที่ซ้ำซ้อนกันอยู่ทำให้เหลือกระทรวงเพียง 10 กระทรวง คือ มหาดไทย กลาโหม นครบาล วัง ต่างประเทศ พระคลังมหาสมบัติ โยธาธิการ ยุติธรรม ธรรมการ เกษตราธิการ

 

3.ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฏิรูปการปกครอง ในส่วนภูมิภาคอย่างไร

-การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาค พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงจัดการรวบรวมหัวเมืองตามชายแดนต่างๆ ขึ้นเป็นเขตการปกครอง เรียกว่า "มณฑล"โดยมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครองและขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกได้ดังนี้ การปกครองแบบเทศาภิบาล หลักการปกครองแบบนี้คือ รัฐบาลจะทำการปกครองหัวเมืองตั้งแต่ชั้นต่ำสุดถึงสูงสุด โดยเริ่มต้นจากพลเมืองเลือกผู้ใหญ่บ้าน และผู้ใหญ่บ้าน 10 หมู่บ้านมีสิทธิเลือกกำนันของตำบล ตำบลหลายๆ ตำบลมีพลเมืองประมาณ 10,000 คนรวมกันเป็นอำเภอ หลายอำเภอรวมกันเป็นเมือง และหลายเมืองรวมเป็นมณฑลโดยมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ดูแล การปกครองท้องที่ ในพ.ศ.2440 รัชกาลที่ 5 ทรงตราพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ สำหรับการจัดการปกครองระดับอำเภอ ตำบลและหมู่บ้าน การปกครองส่วนท้องถิ่น ทรงริเริ่มจัดการ "สุขาภิบาล"ในเขตกรุงเทพ และตำบลท่าฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร เพื่อทดลองให้ประชาชนรู้จักการปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น

 

4.ข้อดีของการปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่น ในสมัยรัชกาลทื่ 5 มีอะไรบ้าง

-ก่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันภายในราชอาณาจักร เป็นผลจากการปกครองส่วนภูมิภาคในรูปมณฑลเทศาภิบาล โดยมีศูนย์รวมอยู่ที่กรุงเทพ รัฐบาลไทยที่กรุงเทพฯ สามารถขยายอำนาจเข้าควบคุมพื้นที่ภายในพระราชอาณาจักรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

 

5.จงอธิบายสาเหตุการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง ในปี พ.ศ. 2475

-สาเหตุสําคัญของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 มีหลายสาเหตุ เช่น ความไม่พอใจในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ปัญหาการผูกขาดอำนาจของอภิรัฐมนตรีสภา ปัญหาความขัดแย้งในกองทัพและปัญหาความขัดแย้งระหว่างผู้นำสามัญชนกับราชวงศ์ ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ ที่รัฐบาลภายใต้ระบอบเก่าไม่สามารถแก้ไขได้ อิทธิพลความคิดทางการเมืองแบบประชาธิปไตยในประเทศตะวันตก ในหมู่นักศึกษาไทยในต่างประเทศ กระแสการโค่นล้ม ระบอบกษัตริย์ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นรัสเซีย จีน เยอรมนี ฯลฯ ความรู้สึกชาตินิยมที่ประเทศไทยถูกเอารัดเอาเปรียบ จากสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรม ซึ่งรัฐบาลสยามทำไว้กับประเทศมหาอำนาจตะวันตก ความขัดแย้ง ระหว่างกลุ่มนายทหารที่ได้รับการศึกษาจากต่างประเทศกับนายทหารที่เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ และความเสื่อมโทรมของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เอง ทั้งหมดนี้เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนเเปลงการปกครอง 2475

 

6.ผลทางการมืองการปกครองที่เกิดขึ้นการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2475 มีอะไรบ้าง

-สังคมไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง .. 2475 เมื่อ  .. 2475    สังคมไทยได้ก้าวสู่ความเป็นอารยะตามแบบตะวันตก  โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเจริญที่ปรากฏอยู่ในรูปของวัตถุไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง  รถไฟ  ไฟฟ้า  ประปา  เขื่อนชลประทาน  โรงพยาบาล  ระบบการสื่อสารคมนาคม  ที่ทำการรัฐบาล  ห้างร้าน  และตึกรามบ้านช่อง  ตลอดจนเครื่องใช้อันทันสมัย  อันมีเจ้านายและชนชั้นสูงเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ส่วนชาวบ้านสามัญชนเป็นผู้ตาม  นอกจากนั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงในขนบธรรมเนียมบางอย่างเพื่อให้สอดคล้องกับการปกครองระบบใหม่  ทั้งนี้เพราะรัฐบาลต้องติดต่อกับชาติอื่น ๆ ทั่วโลก  จึงต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยให้เป็นสากลและสอดคล้องกับความเป็นไปของโลก  แต่ให้คงเอกลักษณ์ของความเป็นไทยไว้

7.ในระบบการเมืองการปกครองแบบ ประชาธิปไตยพระมหากษัตริย์มีความสำคัญอย่างไร

-ทุกสังคมย่อมจะต้องมีผู้นําซึ่งในการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้นมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ เป็นศูนย์รวมอํานาจของการปกครองระบบประชาธิปไตย เป็นศูนย์รวมความสามัคคีของชาติ เป็นผู้แต่งตั้งลงพระปรมาภิไธยรับรองรัฐธรรมนูญเหนือร่าง กฎหมายต่าง ๆเพื่อให้กฎหมายประกาศบังคับใช้จริงได้ ทรงใช้อํานาจอธิปไตยทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรีเเละศาล

 

เเหล่งที่มา

http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/soc4/so31-4-3.htm

http://thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/6-6/2475tonow.htm

http://learn.chanpradit.ac.th/kosum/noom483050/page1.htm

 

เรียบเรียงเเละรวบรวมโดย น.ส. ณัฐกานด์ พูนเพิ่มทรัพย์ ม.6/4 เลชที่ 3

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 221 คน กำลังออนไลน์