• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4a23235f7f63076487059a216a0cead3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"background-color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #000000\">ระบาดวิทยาของโรคชิคุนกุนยา</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n      \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"234\" src=\"/files/u7195/E.jpg\" height=\"194\" />\n</div>\n<p>\n        <span style=\"color: #3366ff\">การติดเชื้อ Chikungunya virus เดิมมีรกรากอยู่ในทวีปอาฟริกา ในประเทศไทยมีการตรวจพบครั้งแรกพร้อมกับที่มีไข้เลือดออกระบาดและเป็นครั้งแรกในทวีปเอเชีย เมื่อ พ.ศ. 2501 โดย Prof.W McD Hamnon แยกเชื้อชิคุนกุนยา ได้จากผู้ป่วยโรงพยาบาลเด็ก กรุงเทพมหานคร <br />\n</span>        <span style=\"color: #3366ff\">ใน</span><span style=\"color: #ff0000\">ทวีปอาฟริกา</span><span style=\"color: #3366ff\">มีหลายประเทศพบเชื้อชิคุนกุนยา  มีการแพร่เชื้อ 2 วงจรคือ primate cycle (rural type) (คน-ยุง-ลิง)  ซึ่งมี Cercopithicus monkeys หรือ Barboon เป็น amplifyer host และอาจทำให้มีผู้ป่วยจากเชื้อนี้ประปราย หรืออาจมีการระบาดเล็กๆ (miniepidemics) ได้เป็นครั้งคราว เมื่อมีผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันเข้าไปในพื้นที่ที่มีเชื้อนี้อยู่ และคนอาจนำมาสู่ชุมชนเมือง โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มียุงลายชุกชุมมาก ทำให้เกิด urban cycle (คน-ยุง) จากคนไปคน โดยยุง Aedes aegypti และ Mansonia aficanus เป็นพาหะ <br />\n</span>       <span style=\"color: #3366ff\"> ใน</span><span style=\"color: #ff0000\">ทวีปเอเซีย</span> <span style=\"color: #3366ff\">การแพร่เชื้อต่างจากในอาฟริกา การเกิดโรคเป็น urban cycle จากคนไปคน โดยมี Ae. aegypti เป็นพาหะที่สำคัญ ระบาดวิทยาของโรคมีรูปแบบคล้ายคลึงกับโรคติดเชื้อที่นำโดย Ae. aegypti อื่นๆ ซึ่งอุบัติการของโรคเป็นไปตามการแพร่กระจายและความชุกชุมของยุงลาย หลังจากที่ตรวจพบครั้งแรกในประเทศไทย ก็มีรายงานจากประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชีย ได้แก่ เขมร เวียตนาม พม่า ศรีลังกา อินเดีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ <br />\n</span>        <span style=\"color: #3366ff\">โรคนี้จะพบมากในฤดูฝน เมื่อประชากรยุงเพิ่มขึ้นและมีการติดเชื้อในยุงลายมากขึ้น พบโรคนี้ได้ในทุกกลุ่มอายุ ซึ่งต่างจากไข้เลือดออกและหัดเยอรมันที่ส่วนมากพบในผู้อายุน้อยกว่า 15 ปี ในประเทศไทยพบมีการระบาดของโรคชิคุนกุนยา 6 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2531 ที่จังหวัดสุรินทร์  พ.ศ. 2534 ที่จังหวัดขอนแก่นและปราจีนบุรี  ในปี พ.ศ. 2536 มีการระบาด 3 ครั้งที่จังหวัดเลย นครศรีธรรมราช และหนองคาย  </span>\n</p>\n<p>\n  <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7195/1divider_aa-2.gif\" height=\"44\" /><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7195/1divider_aa-2.gif\" height=\"44\" /> \n</p>\n<p>\n             ที่มา :\n</p>\n<ul>\n<li><a href=\"http://www.navy.mi.th/science/pdf/Chikungunya.pdf\">http://www.navy.mi.th/science/pdf/Chikungunya.pdf</a></li>\n<li><a href=\"http://gotoknow.org/blog/pbrupt5510006/274123\">http://gotoknow.org/blog/pbrupt5510006/274123</a></li>\n</ul>\n<p align=\"center\">\n</p>', created = 1727537537, expire = 1727623937, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4a23235f7f63076487059a216a0cead3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคชิคุนกุนยาChikungunya*----*อาจทำให้ลูกปัญญาอ่อนจริงหรอ?

รูปภาพของ sss27178

ระบาดวิทยาของโรคชิคุนกุนยา 

      

        การติดเชื้อ Chikungunya virus เดิมมีรกรากอยู่ในทวีปอาฟริกา ในประเทศไทยมีการตรวจพบครั้งแรกพร้อมกับที่มีไข้เลือดออกระบาดและเป็นครั้งแรกในทวีปเอเชีย เมื่อ พ.ศ. 2501 โดย Prof.W McD Hamnon แยกเชื้อชิคุนกุนยา ได้จากผู้ป่วยโรงพยาบาลเด็ก กรุงเทพมหานคร 
        ในทวีปอาฟริกามีหลายประเทศพบเชื้อชิคุนกุนยา  มีการแพร่เชื้อ 2 วงจรคือ primate cycle (rural type) (คน-ยุง-ลิง)  ซึ่งมี Cercopithicus monkeys หรือ Barboon เป็น amplifyer host และอาจทำให้มีผู้ป่วยจากเชื้อนี้ประปราย หรืออาจมีการระบาดเล็กๆ (miniepidemics) ได้เป็นครั้งคราว เมื่อมีผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันเข้าไปในพื้นที่ที่มีเชื้อนี้อยู่ และคนอาจนำมาสู่ชุมชนเมือง โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มียุงลายชุกชุมมาก ทำให้เกิด urban cycle (คน-ยุง) จากคนไปคน โดยยุง Aedes aegypti และ Mansonia aficanus เป็นพาหะ 
        ในทวีปเอเซีย การแพร่เชื้อต่างจากในอาฟริกา การเกิดโรคเป็น urban cycle จากคนไปคน โดยมี Ae. aegypti เป็นพาหะที่สำคัญ ระบาดวิทยาของโรคมีรูปแบบคล้ายคลึงกับโรคติดเชื้อที่นำโดย Ae. aegypti อื่นๆ ซึ่งอุบัติการของโรคเป็นไปตามการแพร่กระจายและความชุกชุมของยุงลาย หลังจากที่ตรวจพบครั้งแรกในประเทศไทย ก็มีรายงานจากประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชีย ได้แก่ เขมร เวียตนาม พม่า ศรีลังกา อินเดีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ 
        โรคนี้จะพบมากในฤดูฝน เมื่อประชากรยุงเพิ่มขึ้นและมีการติดเชื้อในยุงลายมากขึ้น พบโรคนี้ได้ในทุกกลุ่มอายุ ซึ่งต่างจากไข้เลือดออกและหัดเยอรมันที่ส่วนมากพบในผู้อายุน้อยกว่า 15 ปี ในประเทศไทยพบมีการระบาดของโรคชิคุนกุนยา 6 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2531 ที่จังหวัดสุรินทร์  พ.ศ. 2534 ที่จังหวัดขอนแก่นและปราจีนบุรี  ในปี พ.ศ. 2536 มีการระบาด 3 ครั้งที่จังหวัดเลย นครศรีธรรมราช และหนองคาย 

   

             ที่มา :

รูปภาพของ sss27167

เออ ดีดีดีดีดีดีดี

เปลี่ยนรูปแล้ว

ท้องป่องเลย

อ๊ากกกกกกกกกกก

เห็นแล้วอยากตบตบตบตบตบตบตบตบตบ

อ๊ากกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก

รูปภาพของ msw7703

ดีคับ..มาเม้นให้คับ

เลือกเรื่องได้ตรงกับโรคที่ระบาดตอนนี้เลย.... ออไม่คงหลายเดือนละ

ผมชอบมาก

รูปภาพของ msw7703

ดีคับ..มาเม้นให้คับ

เลือกเรื่องได้ตรงกับโรคที่ระบาดตอนนี้เลย.... ออไม่คงหลายเดือนละ

ผมชอบมาก

รูปภาพของ sss27167

โรคนี้มันน่ากลัวนะ แต่รูปยุงดูไม่น่าตบเล้ย

เปลี่ยนรูป

รูปภาพของ sss27173

น่ากลัวเนอะ

บางโรคยังไม่เคยรู้จักชื่อเลย

Undecided

รูปภาพของ sss27345

good good

รูปภาพของ sss27106

เม้นให้แล้วนะทิพย์ พอใจยัง!!!!Laughing555+

แค่ยุงกัด ถึงกับปัญญาอ่อนน่ากลัวเนอะYell

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 303 คน กำลังออนไลน์