• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9479316dfd027b7961e4f805269ac40a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc00\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-surprised.gif\" alt=\"Surprised\" title=\"Surprised\" /> <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">โรคชิคุนกุนยา(Chikungunya) หรือโรคไข้ปวดข้อยุงลาย</span> </span><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-surprised.gif\" alt=\"Surprised\" title=\"Surprised\" /></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u7195/1_display1.jpg\" height=\"280\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://hc00982.files.wordpress.com/2009/05/1_display1.jpeg\">http://hc00982.files.wordpress.com/2009/05/1_display1.jpeg</a>\n</p>\n<p>\n        <span style=\"color: #00ccff\">เมื่อเร็วๆ นี้เราคงได้ยินข่าวว่าเกิดการแพร่ระบาดของ &quot;โรคชิคุนกุนยา&quot; ในแถบจังหวัดชายแดนภาคใต้ จนลุกลามไปเกือบทั่วทั้งประเทศแล้วนั้น ทำให้หลายคนแปลกใจไม่น้อยว่า นี่คือโรคประหลาดสายพันธุ์ใหม่อะไรหรือเปล่า วันนี้จึงอาสาคลายข้อสงสัย ด้วยการนำความรู้เกี่ยวกับ &quot;โรคชิคุนกุนยา&quot; มาบอกต่อกันค่ะ…</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #000000\">&quot;ชิคุนกุนยา&quot; คืออะไร</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n      <span style=\"color: #3366ff\">โรคชิคุนกุนยา (Chikungunya) เป็นโรคติดต่อนำโดยแมลง คล้ายกันกับโรคไข้เลือดออกเด็งกี มีรายงานการระบาดครั้งแรกทางตอนใต้ของประเทศแทนซาเนียในทวีปแอฟริกา ในปี พ.ศ.2495 เกิดจากเชื้อไวรัส alphavirus ในสกุล Togaviridae ชื่อ ‘chikungunya’ มาจากภาษาท้องถิ่นของแอฟริกา (ภาษา Kimakonde) ซึ่งอธิบายถึงลักษณะบูดเบี้ยวหรือบิดงอตัว (contorted) จากอาการปวดข้ออย่างรุนแรง ในประเทศไทยพบการระบาดครั้งแรกในปี พ.ศ.2501 ที่กรุงเทพมหานคร แยกเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาได้จากผู้ป่วยที่โรงพยาบาลเด็ก ต่อมายังพบผู้ป่วยเด็กบ้างบางราย และไม่พบอีกเลยตั้งแต่ปี 2513 เป็นต้นมา หลังจากนั้นมีรายงานผู้ป่วยในบางปี คือ ที่จังหวัดปราจีนบุรี (พ.ศ.2519) สุรินทร์ (พ.ศ.2531) ขอนแก่น (พ.ศ.2534) เลยและพะเยา (พ.ศ.2536) นครศรีธรรมราชและหนองคาย (พ.ศ.2538) ซึ่งพบผู้ป่วย 576 ราย และ 94 ราย ตามลำดับ จนถึงการระบาดที่พบครั้งล่าสุด ในเดือนกันยายน พ.ศ.2551 ที่ จ.นราธิวาสและปัตตานี (ณ ปัจจุบัน 15 ต.ค.51 การระบาดลดลง แต่ยังไม่มีสิ้นสุด) ซึ่งทิ้งช่วงห่าง 13 ปี จากการระบาดครั้งก่อน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000; background-color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #000000\">ที่มาของชื่อไวรัสชิคุนกุนยา</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n     <span style=\"color: #3366ff\">ชื่อของเชื้อไวรัสชิคุนกุนยานั้น มาจากคำในภาษา Makonde ซึ่งเป็นภาษาของชนพื้นเมืองในแอฟริกาที่อาศัยอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศแทนซาเนีย และทางตอนเหนือของประเทศโมแซมบิก โดยรากศัพท์พื้นเมืองเดิมเรียกว่า kungunvala ซึ่งมีความหมายเป็นภาษาอังกฤษว่า &quot;That which bends up&quot; สอดคล้องกับลักษณะอาการปวดข้อของโรคนี้  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #000000\">ลักษณะโรคชิคุนกุนยา</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n     <span style=\"color: #3366ff\">โรคชิคุนกุนยา เป็นโรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค มีอาการคล้ายไข้เดงกี แต่ต่างกันที่ไม่มีการรั่วของพลาสมาออกนอกเส้นเลือด จึงไม่พบผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมากจนถึงมีการช็อก </span>\n</p>\n<p>\n     <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7195/1divider_aa-2.gif\" height=\"44\" /><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7195/1divider_aa-2.gif\" height=\"44\" />\n</p>\n<p>\n           ที่มา:\n</p>\n<ul>\n<li><a href=\"http://beid.ddc.moph.go.th/th/index.php?option=com_content&amp;task=view&amp;id=420&amp;Itemid=199\">http://beid.ddc.moph.go.th/th/index.php?option=com_content&amp;task=view&amp;id=420&amp;Itemid=199</a> </li>\n<li><a href=\"http://hilight.kapook.com/view/34749\">http://hilight.kapook.com/view/34749</a></li>\n<li><a href=\"http://gotoknow.org/blog/pbrupt5510006/274123\">http://gotoknow.org/blog/pbrupt5510006/274123</a></li>\n</ul>\n', created = 1727528845, expire = 1727615245, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9479316dfd027b7961e4f805269ac40a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคชิคุนกุนยาChikungunya*----*อาจทำให้ลูกปัญญาอ่อนจริงหรอ?

รูปภาพของ sss27178

Surprised โรคชิคุนกุนยา(Chikungunya) หรือโรคไข้ปวดข้อยุงลาย Surprised

 

 

http://hc00982.files.wordpress.com/2009/05/1_display1.jpeg

        เมื่อเร็วๆ นี้เราคงได้ยินข่าวว่าเกิดการแพร่ระบาดของ "โรคชิคุนกุนยา" ในแถบจังหวัดชายแดนภาคใต้ จนลุกลามไปเกือบทั่วทั้งประเทศแล้วนั้น ทำให้หลายคนแปลกใจไม่น้อยว่า นี่คือโรคประหลาดสายพันธุ์ใหม่อะไรหรือเปล่า วันนี้จึงอาสาคลายข้อสงสัย ด้วยการนำความรู้เกี่ยวกับ "โรคชิคุนกุนยา" มาบอกต่อกันค่ะ…

"ชิคุนกุนยา" คืออะไร

      โรคชิคุนกุนยา (Chikungunya) เป็นโรคติดต่อนำโดยแมลง คล้ายกันกับโรคไข้เลือดออกเด็งกี มีรายงานการระบาดครั้งแรกทางตอนใต้ของประเทศแทนซาเนียในทวีปแอฟริกา ในปี พ.ศ.2495 เกิดจากเชื้อไวรัส alphavirus ในสกุล Togaviridae ชื่อ ‘chikungunya’ มาจากภาษาท้องถิ่นของแอฟริกา (ภาษา Kimakonde) ซึ่งอธิบายถึงลักษณะบูดเบี้ยวหรือบิดงอตัว (contorted) จากอาการปวดข้ออย่างรุนแรง ในประเทศไทยพบการระบาดครั้งแรกในปี พ.ศ.2501 ที่กรุงเทพมหานคร แยกเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาได้จากผู้ป่วยที่โรงพยาบาลเด็ก ต่อมายังพบผู้ป่วยเด็กบ้างบางราย และไม่พบอีกเลยตั้งแต่ปี 2513 เป็นต้นมา หลังจากนั้นมีรายงานผู้ป่วยในบางปี คือ ที่จังหวัดปราจีนบุรี (พ.ศ.2519) สุรินทร์ (พ.ศ.2531) ขอนแก่น (พ.ศ.2534) เลยและพะเยา (พ.ศ.2536) นครศรีธรรมราชและหนองคาย (พ.ศ.2538) ซึ่งพบผู้ป่วย 576 ราย และ 94 ราย ตามลำดับ จนถึงการระบาดที่พบครั้งล่าสุด ในเดือนกันยายน พ.ศ.2551 ที่ จ.นราธิวาสและปัตตานี (ณ ปัจจุบัน 15 ต.ค.51 การระบาดลดลง แต่ยังไม่มีสิ้นสุด) ซึ่งทิ้งช่วงห่าง 13 ปี จากการระบาดครั้งก่อน

ที่มาของชื่อไวรัสชิคุนกุนยา

     ชื่อของเชื้อไวรัสชิคุนกุนยานั้น มาจากคำในภาษา Makonde ซึ่งเป็นภาษาของชนพื้นเมืองในแอฟริกาที่อาศัยอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศแทนซาเนีย และทางตอนเหนือของประเทศโมแซมบิก โดยรากศัพท์พื้นเมืองเดิมเรียกว่า kungunvala ซึ่งมีความหมายเป็นภาษาอังกฤษว่า "That which bends up" สอดคล้องกับลักษณะอาการปวดข้อของโรคนี้ 

ลักษณะโรคชิคุนกุนยา

     โรคชิคุนกุนยา เป็นโรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค มีอาการคล้ายไข้เดงกี แต่ต่างกันที่ไม่มีการรั่วของพลาสมาออกนอกเส้นเลือด จึงไม่พบผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมากจนถึงมีการช็อก

     

           ที่มา:

รูปภาพของ sss27167

เออ ดีดีดีดีดีดีดี

เปลี่ยนรูปแล้ว

ท้องป่องเลย

อ๊ากกกกกกกกกกก

เห็นแล้วอยากตบตบตบตบตบตบตบตบตบ

อ๊ากกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก

รูปภาพของ msw7703

ดีคับ..มาเม้นให้คับ

เลือกเรื่องได้ตรงกับโรคที่ระบาดตอนนี้เลย.... ออไม่คงหลายเดือนละ

ผมชอบมาก

รูปภาพของ msw7703

ดีคับ..มาเม้นให้คับ

เลือกเรื่องได้ตรงกับโรคที่ระบาดตอนนี้เลย.... ออไม่คงหลายเดือนละ

ผมชอบมาก

รูปภาพของ sss27167

โรคนี้มันน่ากลัวนะ แต่รูปยุงดูไม่น่าตบเล้ย

เปลี่ยนรูป

รูปภาพของ sss27173

น่ากลัวเนอะ

บางโรคยังไม่เคยรู้จักชื่อเลย

Undecided

รูปภาพของ sss27345

good good

รูปภาพของ sss27106

เม้นให้แล้วนะทิพย์ พอใจยัง!!!!Laughing555+

แค่ยุงกัด ถึงกับปัญญาอ่อนน่ากลัวเนอะYell

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 307 คน กำลังออนไลน์