• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('สมัยรัตนโกสินทร์ตอนปลาย', 'node/49116', '', '3.129.15.99', 0, '9d819b7c7c74b4a350b38860f9329ec2', 157, 1715947271) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3dfd2246f9f6adede1e0a923dce6aaa2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><img border=\"0\" width=\"387\" src=\"/files/u2538/ddd.gif\" height=\"57\" /></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ภาคแรก กำเนิดพระพุทธรูป</span></strong>\n</p>\n<p>\n                             \n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">                   ศิลปะและ โบราณวัตถุสถานเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนานั้น</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">พบหลักฐานว่าเริ่มเกิดมีขึ้นในอินเดียครั้งพระเจ้าอโศกมหาราช (พ.ศ. 270-311</span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">) ซึ่งเป็นกษัตริย์องค์ที่  3 ในราชวงศ์โมริย</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาและได้ทรงอุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนาเป็นอันมาก</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ถึงกับยกพระพุทธศาสนาขึ้นเป็นศาสนาสำหรับอณาจักร   </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ได้ทรงสร้างพุทธเจดีย์สถานไว้หลายแห่ง</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">                           </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">แต่ในอินเดียในสมัยโบราณยังมีข้อห้ามมิให้ทำรูปคนสำหรับเคารพ</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">คือไม่ทำรูปพระพุทธองค์เป็นรูปมนุษย์ จึงทำแต่รูปอื่นเป็นสัญลักษณ์ขึ้นแทนเช่น</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ปางมหาภิเนษกรมณ์ ก็ทำเป็นรูปม้าผูกเครื่องไม่มีคนขับขี่</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ปางประทานปฐมเทศนาทำเป็นรูปธรรมจักรมีรูปกวางหมอบอันหมายความว่า</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ทรงแสดงพระธรรมจักรในมฤคทายวัน</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ปางประสูติก็ทำรูปพระนางศิริมหามายากำลังประทับนั่งหรือยืนอยู่บนดอกบัว</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">มีช้างสองเชือกถือน้ำเต้าหรือปูรณฆฎะ(หม้อที่เต็มไปด้วยน้ำอันล้น</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">หมายถึงความมั่งคั่งสมบูรณ์)เทลงบนเศียรของนางกษัตริย์</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ดังที่ปรากฏอยู่ที่พระมหาสถูปสาญจี</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span>                  </span>รูปพระพุทธองค์ที่ทำเป็นรูปมนุษย์เกิดขึ้นภายหลังพุทธศตวรรษที </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">6  เล็กน้อย เป็นฝีมือช่างแคว้นคันธาระปัจจุบันอยู่ในเขตปากีสถานและอาฟกานิสถาน</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">กับที่เป็นฝีมือช่างเมืองมธุรา</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">หลังจากนั้นเพียงเล็กน้อยก็เกิดสกุลช่างขึ้นอีกสกุลหนึ่ง ณ เมืองอมรวดี</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ทางภาคใต้ของอินเดีย </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">             <span style=\"color: #008000\">    <span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #008000\">นักปราชญ์บางท่านกล่าวว่า</span></span></span></span><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #008000\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">พระพุทธรูปแรกเกิดขึ้นในรัชกาลพระเจ้ากนิษกะ แห่งราชวงศ์กุษาณะ</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ซึ่งครองราชย์สมบัติระหว่างพ.ศ. 662-706 </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">และนับเป็นฝีมือช่างกรีกโรมัน</span></span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เชื่อกันว่าได้รับอิทธิพลและได้ช่างผู้ประดิษฐ์พระพุทธรูปมาจากทางเอเชียตะวันตก</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เหตุที่ได้สร้างพระพุทธรูปขึ้นจนเวลาล่วงเลยจากพุทธปรินิพพานมานานเช่นนี้</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ลักษณะพระพุทธรูปจึงเป็นลักษณะที่ทำตามความคิดฝัน</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เพื่อเป็นพุทธานุสติให้บุคคลที่ได้เห็นแล้วระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้เป็นเจ้าของพระพุทธศาสนา</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เพื่อจะได้น้อมใจให้ประพฤติตามคำสั่งสอนของพระพุทธองค์</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">มิใช่ทำให้เหมือนองค์พระพุทธเจ้า</span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span>            <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เมื่อเกิดพระพุทธรูปแล้ว ต่อมามีผู้นิยมสร้างกันแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน</span><span style=\"font-size: 11pt; line-height: 115%; font-family: \'Calibri\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">และคิดทำเป็นพระพุทธรูปเป็นปางต่างๆหลายปาง</span><span style=\"font-size: 11pt; line-height: 115%; font-family: \'Calibri\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"color: #333399\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333399\">พระพุทธรูปที่ทำเป็นปางต่างๆนั้นหมายถึงเรื่องราวตอนนั้นๆ ในพุทธประวัติ</span></span><span style=\"font-size: 11pt; line-height: 115%; font-family: \'Calibri\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">  </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><em>(ปาง</em> พจนานุกรมฉบับราชบัณทิตยสถานให้ความหมายว่า(น.)ครั้งหรือเมื่อ  ดังนั้นเมื่อใช้กับพระพุทธรูป ซึ่งเป็นตัวแทนพระพุทธเจ้า จึงหมายความว่า พระพุทธองค์เมื่อครั้ง..หรือเป็นพระพุทธรูปที่แสดงประวัติตอนหนึ่งของพระพุทธองค์ ขณะที่ทรงมีสภาวะเป็นมนุษย์) แต่บางทีก็หมายถึงท่าทางหรืออริยบถ เช่นปางประทานอภัย และปางประทานพร เป็นการแสดงที่ใช้ในงานพุทธศิลป์แสดงท่วงท่าที่พระหัตถ์ที่ยืมจากความหมายสัญลักษณ์ของพราหมณ์ที่เรียก มุ</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ทรา</span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">                   สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ทรงอธิบายว่า </span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">“</span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ปางบางปางนั้นเอามาจาก</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">มุทราของพราหมณ์หาใช่ปางไม่ เป็นเพียงกิริยาเท่านั้น</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ซึ่งน่าจะเรียกว่าท่าแต่โบราณเขาไม่เรียกกัน</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ก็เพราะคำว่าท่าอาจส่อไปในทางหยาบคายได้</span></p>\n', created = 1715947291, expire = 1716033691, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3dfd2246f9f6adede1e0a923dce6aaa2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เรียนรู้พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่างๆ

ภาคแรก กำเนิดพระพุทธรูป

                             

                   ศิลปะและ โบราณวัตถุสถานเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนานั้น พบหลักฐานว่าเริ่มเกิดมีขึ้นในอินเดียครั้งพระเจ้าอโศกมหาราช (พ.ศ. 270-311) ซึ่งเป็นกษัตริย์องค์ที่  3 ในราชวงศ์โมริย ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาและได้ทรงอุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนาเป็นอันมาก ถึงกับยกพระพุทธศาสนาขึ้นเป็นศาสนาสำหรับอณาจักร   ได้ทรงสร้างพุทธเจดีย์สถานไว้หลายแห่ง

                           แต่ในอินเดียในสมัยโบราณยังมีข้อห้ามมิให้ทำรูปคนสำหรับเคารพ คือไม่ทำรูปพระพุทธองค์เป็นรูปมนุษย์ จึงทำแต่รูปอื่นเป็นสัญลักษณ์ขึ้นแทนเช่น ปางมหาภิเนษกรมณ์ ก็ทำเป็นรูปม้าผูกเครื่องไม่มีคนขับขี่ ปางประทานปฐมเทศนาทำเป็นรูปธรรมจักรมีรูปกวางหมอบอันหมายความว่า ทรงแสดงพระธรรมจักรในมฤคทายวัน ปางประสูติก็ทำรูปพระนางศิริมหามายากำลังประทับนั่งหรือยืนอยู่บนดอกบัว มีช้างสองเชือกถือน้ำเต้าหรือปูรณฆฎะ(หม้อที่เต็มไปด้วยน้ำอันล้น หมายถึงความมั่งคั่งสมบูรณ์)เทลงบนเศียรของนางกษัตริย์ ดังที่ปรากฏอยู่ที่พระมหาสถูปสาญจี


                  รูปพระพุทธองค์ที่ทำเป็นรูปมนุษย์เกิดขึ้นภายหลังพุทธศตวรรษที 6  เล็กน้อย เป็นฝีมือช่างแคว้นคันธาระปัจจุบันอยู่ในเขตปากีสถานและอาฟกานิสถาน กับที่เป็นฝีมือช่างเมืองมธุรา หลังจากนั้นเพียงเล็กน้อยก็เกิดสกุลช่างขึ้นอีกสกุลหนึ่ง ณ เมืองอมรวดี ทางภาคใต้ของอินเดีย

                 นักปราชญ์บางท่านกล่าวว่า พระพุทธรูปแรกเกิดขึ้นในรัชกาลพระเจ้ากนิษกะ แห่งราชวงศ์กุษาณะ ซึ่งครองราชย์สมบัติระหว่างพ.ศ. 662-706 และนับเป็นฝีมือช่างกรีกโรมัน เชื่อกันว่าได้รับอิทธิพลและได้ช่างผู้ประดิษฐ์พระพุทธรูปมาจากทางเอเชียตะวันตก เหตุที่ได้สร้างพระพุทธรูปขึ้นจนเวลาล่วงเลยจากพุทธปรินิพพานมานานเช่นนี้ ลักษณะพระพุทธรูปจึงเป็นลักษณะที่ทำตามความคิดฝัน เพื่อเป็นพุทธานุสติให้บุคคลที่ได้เห็นแล้วระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้เป็นเจ้าของพระพุทธศาสนา เพื่อจะได้น้อมใจให้ประพฤติตามคำสั่งสอนของพระพุทธองค์ มิใช่ทำให้เหมือนองค์พระพุทธเจ้า            เมื่อเกิดพระพุทธรูปแล้ว ต่อมามีผู้นิยมสร้างกันแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน และคิดทำเป็นพระพุทธรูปเป็นปางต่างๆหลายปาง พระพุทธรูปที่ทำเป็นปางต่างๆนั้นหมายถึงเรื่องราวตอนนั้นๆ ในพุทธประวัติ  (ปาง พจนานุกรมฉบับราชบัณทิตยสถานให้ความหมายว่า(น.)ครั้งหรือเมื่อ  ดังนั้นเมื่อใช้กับพระพุทธรูป ซึ่งเป็นตัวแทนพระพุทธเจ้า จึงหมายความว่า พระพุทธองค์เมื่อครั้ง..หรือเป็นพระพุทธรูปที่แสดงประวัติตอนหนึ่งของพระพุทธองค์ ขณะที่ทรงมีสภาวะเป็นมนุษย์) แต่บางทีก็หมายถึงท่าทางหรืออริยบถ เช่นปางประทานอภัย และปางประทานพร เป็นการแสดงที่ใช้ในงานพุทธศิลป์แสดงท่วงท่าที่พระหัตถ์ที่ยืมจากความหมายสัญลักษณ์ของพราหมณ์ที่เรียก มุทรา

                   สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ทรงอธิบายว่า ปางบางปางนั้นเอามาจาก มุทราของพราหมณ์หาใช่ปางไม่ เป็นเพียงกิริยาเท่านั้น ซึ่งน่าจะเรียกว่าท่าแต่โบราณเขาไม่เรียกกัน ก็เพราะคำว่าท่าอาจส่อไปในทางหยาบคายได้

สร้างโดย: 
ครูเมธินี น้อยวงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 288 คน กำลังออนไลน์