• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a36d6916f66d130a41f7c842047c35c5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\"><span class=\"size22 FTtext\"><span>ทำไมราคาที่ดิน กทม.พุ่งไม่หยุดถึง 3.6 ล้าน/ตรว.</span></span></div>\n<div align=\"center\">&nbsp;&nbsp;<span class=\"size13 FTtext color1\"><span style=\"text-decoration: underline;\">AREA แถลง</span>&nbsp;ฉบับที่ 794/2566: วันศุกร์ที่ 22 กันยายน 2566</span></div>\n<p>&nbsp;</p>\n<div class=\"box-position text-right\">ผู้แถลง: ดร.โสภณ พรโชคชัย<br />ประธาน ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย<br /><a href=\"https://www.area.co.th/thai/about.php#sopon\" target=\"_blank\">บจก.เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส</a>&nbsp;<a class=\"FTtext size12\" href=\"mailto:sopon@area.co.th\"><img src=\"https://www.area.co.th/images/img_icon/icon_areapress_06.jpg\" alt=\"sopon@area.co.th\" width=\"61\" height=\"18\" /></a>&nbsp;<a class=\"FTtext size12\" href=\"https://www.facebook.com/dr.sopon4\" target=\"_blank\"><img src=\"https://www.area.co.th/images/img_icon/icon_areapress_03.jpg\" alt=\"https://www.facebook.com/dr.sopon4\" width=\"\" height=\"20\" /></a></div>\n<div class=\"wf_pressdetail size15 wf_colortext\">\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ราคาที่ดินในเขตใจกลางเมืองพุ่งสูงขึ้นอย่างไม่หยุดยั้งทั้งที่มีโรคโควิด-19 ระบาดหนักในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา โดยราคาพุ่งสูงสุดถึงตารางวาละ 3.6 ล้านบาทเข้าไปแล้ว&nbsp; นี่คือการพัฒนาแบบรวมศูนย์ไว้ที่ศูนย์กลางความเจริญเติบโตของเมืองเท่านั้น แต่ในอีกด้านหนึ่ง ราคาประเมินราชการกลับต่ำเพียง 1 ล้านบาทต่อตารางวา ทำไมจึงต่างกันฟ้ากับเหว</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก.เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส (<a href=\"http://www.area.co.th/\" target=\"_blank\">www.area.co.th</a>) ซึ่งสำรวจราคาที่ดินในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลอย่างต่อเนื่องนับร้อยๆ แปลงมาตั้งแต่ปี 2528 พบว่า ราคาที่ดินหลังโรคระบาดโควิด-19 ก็ยังเติบโตต่อเนื่องแม้ในช่วงโควิด-19 ก็ยังไม่หยุดโตทั้งที่เศรษฐกิจยังไม่ได้ฟื้นตัว ยิ่งก็ยังเทียบไม่ได้กับช่วงวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 หรือวิกฤติต้มยำกุ้งเมื่อ 25 ปีก่อน โดยในช่วงปี 2543 ลดต่ำกว่าปี 2540 ถึงเกือบ 20%</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span>ย่านค้าปลีกสำคัญกว่าย่านการเงิน</span></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ดร.โสภณประมาณการไว้ว่า ณ สิ้นปี 2566 ราคาที่ดินที่แพงที่สุดจะอยู่บริเวณสยามสแควร์ ซึ่งหากเป็นที่ดินที่สามารถขายได้ตามท้องตลาดทั่วไป ก็จะมีราคาตารางวาละ 3.6 ล้านบาท หรือ ไร่ละ 1,440 ล้านบาท หรือเท่ากับที่ดินขนาด 1 ตารางวาหรือ 4 ตารางเมตร ต้องใช้ธนบัตรใบละ 1,000 บาท วางปูไว้ถึง 10 ชั้นเศษด้วยกัน เท่ากับที่ดินบริเวณนี้แพงที่สุด&nbsp; เสมือนหนึ่ง “นั่งบนกองเงินกองทอง” ก็ว่าได้&nbsp; ทั้งนี้ราคาที่ดินในช่วงครึ่งแรกของปีกำลังฟื้นตัวช้าๆ และคาดว่าในครึ่งหลังของปีจะเพิ่มขึ้นเด่นชัด ดร.โสภณจึงประเมินว่าราคาในปี 2566 นี้จะเพิ่มเป็น 3.6 ล้านบาทในบริเวณสยามสแควร์ เพลินจิต ชิดลมและสุขุมวิทช่วงต้น โดยคาดว่าราคาเพิ่มขึ้นกว่าเดิมคือในปี 2565 ที่ประเมินไว้ที่ 3.5 ล้านบาท ประมาณ 3.0%</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กรณีนี้ชี้ชัดว่าทำเลที่เป็นศูนย์การค้าปลีกมีความสำคัญกว่าทำเลที่เป็นศูนย์กลางทางการเงิน ในย่านสยามสแควร์ ชิดลม เพลินจิตนี้เป็นศูนย์กลางการจับจ่ายใช้สอยหรือ Retail Centre ของกรุงเทพมหานคร&nbsp; พื้นที่นี้สำหรับการพัฒนาเป็นศูนย์การค้า ซึ่งมักจะให้เช่าในราคาที่แพงกว่า เช่น ประมาณ 3-4 พันบาทต่อตารางเมตร แพงกว่าการเช่าพื้นที่สำนักงานเช่นย่านสีลม ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางการเงินของประเทศ และมีค่าเช่าสำนักงานประมาณ 1,200 บาทต่อตารางเมตร ดังนั้นเมื่อพิจารณาถึงประโยชน์สูงสุดที่แตกต่างกันเช่นนี้ จึงต้องยกให้ย่านสยามสแควร์เป็น “ทำเลทอง” ที่มีราคาที่ดินที่แพงที่สุด ทั้งนี้ได้ตั้งสมมติฐานสำหรับที่ดินขนาด 4 ไร่ ที่มีหน้ากว้าง 40 เมตร ลึก 160 เมตร เป็นแปลงสมมติมาตรฐาน เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ทั่วทุกเขต</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ตามในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2563-2565) การเช่าพื้นที่ศูนย์การค้าอาจลดลง และค่าเช่าลดต่ำลงระดับหนึ่งเช่นกัน ศูนย์การยค้าบางแห่งถึงขนาดต้องปิดตัวลงไปก็มี&nbsp; แต่ในพื้นที่ย่านสยามสแควร์ อาจแตกต่างกัน ราคาก็ยังไม่ได้ปรับลดลงอย่างมีนัยสำคัญนัก และยังมีแนวโน้มที่จะสร้างศูนย์การค้าใหม่ด้วยการรื้อพื้นที่ตึกแถวย่านสยามสแควร์ออกไปอีก จึงยังทำให้การพัฒนาศูนย์กาค้าหรือพื้นที่ค้าปลีกในบริเวณนี้ยังคงความสำคัญเป็นอย่างมาก&nbsp; และแม้ค่าเช่าศูนย์การค้าจะหยุดชะงักหรือลดลงบ้างแต่หากนำที่ดินเปล่ามาพัฒนาเป็นศูนย์การค้า ก็ยังไม่มีทำเลใดที่จะสู้ทำเลนี้ได้</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span>การเปลี่ยนแปลงราคาที่ดิน&nbsp;</span><span>2528-2566</span></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ปรากฏการณ์นี้แตกต่างจากการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540-2543 ที่ราคาที่ดินโดยรวมลดลงเพราะกิจการขนาดใหญ่ โดยเฉพาะสถาบันการเงิน บริษัทพัฒนาที่ดินมหาชน บริษัทขนาดใหญ่เป็นจำนวนมากล้มละลายลง ทำให้การผ่องถ่ายขายทรัพย์สินมีมากขึ้น ราคาซื้อขายจึงลดต่ำลงอย่างชัดเจน&nbsp; แต่สถานการณ์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลยังไม่พบภาวะที่ร้ายแรงเช่นนี้&nbsp; อย่างไรก็ตามภาวะร้ายแรงสามารถพบเห็นได้ในเมืองท่องเที่ยว เช่น ภูเก็ต สมุย พัทยา ที่รายได้สำคัญมาจากการท่องเที่ยว และในเมืองนักท่องเที่ยวโดยเฉพาะจีนและรัสเซีย หายไปเป็นเวลา 3 ปี (2563-2565) ทำให้ค่าเช่าโรงแรมไม่สามารถรับรู้ได้ หรือมีรายได้จำกัดเป็นอย่างมาก&nbsp; เจ้าของโรงแรมหลายแห่งก็จำเป็นต้องขายทรัพย์สิน</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><img src=\"https://soponpornchokchai.files.wordpress.com/2023/09/cat3s-9.jpg\" alt=\"\" width=\"630\" height=\"313\" /></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อาจกล่าวได้ว่าการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินที่ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทยสำรวจไว้พบว่า ในช่วงปี 2528-2539 ราคาที่ดินปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะช่วงปี 2528-2533 ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงจากประเทศเกษตรกรรมเป็นประเทศอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน ทั้งนี้มีการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องจากประเทศญี่ปุ่น ทำให้ที่ดินแต่เดิมใช้ทำนาเป็นหลัก&nbsp; ก็เปลี่ยนเป็นที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรมและเพื่อการพาณิชย์กรรม รวมทั้งที่อยู่อาศัย ราคาที่ดินจึงเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล อย่างเช่น ที่ดินแถว “ซาฟารีเวิร์ล” ในช่วงปี 2528 มีราคาไร่ละ 15,000 บาท ก็เพิ่มเป็น 30,000 บาทในปีเดียว จนถึง 100,000 บาทในปี 2531 และจัดสรรเป็นสวนเกษตรขายในราคา 400,000 บาท และจนถึงปี 2535 ก็ขายกันในราคา 1.2 ล้านบาทต่อไร่เพื่อใช้ทำสนามบ้านจัดสรร เป็นต้น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ราคาที่ดินเริ่มตกต่ำในปี 2540 ที่เกิดวิกฤติทางการเงินอย่างรุนแรงจนสถาบันการเงินปิดตัวกันเป็นจำนวนมาก ค่าเงินบาทอ่อนค่าลงจาก 25 บาทเป็นมากกว่า 50 บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ทำให้ราคาที่ดินในปี 2540 ลดลง 12.5% และในปี 2541 ลดลง 10.1% และเริ่มหยุดนิ่งในปี 2542&nbsp; หลังจากนั้นก็เริ่มทยอยเพิ่มราคาขึ้นในปี 2543 เป็นต้นมา&nbsp; และนับแต่นั้นราคาที่ดินในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลก็เพิ่มขึ้นมาโดยตลอด เพียงแต่บางช่วงอาจเพิ่มขึ้นน้อย เช่น มีรัฐประหาร แต่ก็ไม่มีปรากฏการณ์ที่ราคาที่ดินลดลงอีกเลย</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span>ราคาที่ดินเปลี่ยนแปลงเพราะรถไฟฟ้า</span></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ถ้าเทียบการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินตามแนวรถไฟฟ้าจะเห็นได้ว่า:</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. กรณีรถไฟฟ้าโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (MRT) เทียบระหว่างรัชดาภิเษก ห้วยขวาง กับพระราม 9 ห้วยขวาง ราคาที่ดินในปี 2537 เป็นเงินตารางวาละ 200,000 บาท และ 165,000 บาท แต่พอมาถึงปี 2565 ราคาต่างเพิ่มขึ้น แต่แถวรัชดาภิเษก เป็นเงินตารางวาละ 1.1 ล้านบาท แต่แถวพระราม 9 อยู่ที่ 620,000 บาท แสดงว่าอัตราการเติบโตของราคาที่ดินต่างกันมาก เพราะบริเวณรัชดาภิเษกมีรถไฟฟ้านั่นเอง</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><img src=\"https://soponpornchokchai.files.wordpress.com/2023/09/cat4s-5.jpg\" alt=\"\" /></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. กรณีเยาวราช สยามสแควร์ และสีลม จะเห็นได้ว่ามีราคาในปี 2537 อยู่ที่ 700,000, 400,000 และ 450,000 บาทต่อตารางวาตามลำดับ แต่มาในปี 2566ราคาต่างก็เพิ่มขึ้นในอัตราที่แตกต่างกัน โดยใน 3 ทำเลนี้เพิ่มขึ้นในสัดส่วน 3.3% (เยาวราช) 8.1% (สยามสแควร์) และ 6.3% (สีลม) จะเห็นได้ว่าที่ย่านเยาวราชเพิ่มมีรถไฟฟ้าที่ถนนเจริญกรุง ราคาจึงเพิ่มช้าที่สุด ส่วนสยามสแควร์มีรถไฟฟ้า 2 สายตัดกับกลายเป็นบริเวการพัฒนาแบบรอบสถานีรถไฟฟ้า (Transit Oriented Development) ส่วนสีลมมีรถไฟฟ้าผ่านสายเดียว เป็นต้น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. กรณีพระรามที่ 4 แถวกล้วยน้ำไท และสุขุมวิท แถวเอกมัย ก็เช่นกัน แต่เดิมในปี 2537 ราคาต่างกันเพียง 10% จาก 200,000 บาท เป็น 220,000 บาท แต่ในปี 2566 ราคาแม้จะเพิ่มขึ้น แต่ต่างกันราวครึ่งต่อครึ่ง คือที่กล้วยน้ำไท 4 ราคาตารางวาละ 820,000 บาท แต่ราคาแถวเอกมัย ราคาสูงถึง 1,850,000 บาทต่อตารางวา</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span>วิเคราะห์&nbsp;</span><span>6 ทำเลที่แพงที่สุด</span></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับราคาที่ดินที่แพงที่สุดต่อตารางวาสำหรับที่ดินขนาดประมาณ 4 ไร่โดยประมาณนั้น เป็นดังนี้:</p>\n<p>อันดับที่ &nbsp;&nbsp; 1&nbsp; สยามสแควร์&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ราคาตารางวาละ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.6&nbsp;&nbsp; ล้านบาท หรือไร่ละ&nbsp; 1,440 ล้านบาท</p>\n<p>อันดับที่ &nbsp;&nbsp; 2&nbsp; วิทยุ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ราคาตารางวาละ&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.95&nbsp;&nbsp; ล้านบาท หรือไร่ละ&nbsp; 1,180 ล้านบาท</p>\n<p>อันดับที่ &nbsp;&nbsp; 3&nbsp; ไทมสแควร์อโศก ราคาตารางวาละ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.8&nbsp;&nbsp; ล้านบาท หรือไร่ละ&nbsp; 1,120 ล้านบาท</p>\n<p>อันดับที่ &nbsp;&nbsp; 4&nbsp; สุขุมวิท 21&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ราคาตารางวาละ&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.53&nbsp;&nbsp; ล้านบาท หรือไร่ละ&nbsp; 1,012 ล้านบาท</p>\n<p>อันดับที่ &nbsp;&nbsp; 5&nbsp; สีลม&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ราคาตารางวาละ&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.55&nbsp;&nbsp; ล้านบาท หรือไร่ละ&nbsp; 1,020 ล้านบาท</p>\n<p>อันดับที่ &nbsp;&nbsp; 6&nbsp; สาทร&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ราคาตารางวาละ&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.25&nbsp;&nbsp; ล้านบาท หรือไร่ละ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 900 ล้านบาท</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สิ่งที่น่าสังเกตก็คือ ราคาที่ดินใน 6 ทำเลนี้ ราคาสูงเด่นเพราะอะไร</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อันดับที่ 1 สยามสแควร์ ทำเลนี้เป็นสุดยอดทำเลค้าปลีกในกรุงเทพมหานครหรือประเทศไทยทั้งหมดโดยเฉพาะสำหรับสินค้านำสมัยจากต่างประเทศ เป็นเสมือนย่านถนนออร์ชาร์ดของสิงคโปร์ที่รวมห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้าอยู่รวมกันมากมาย รวมทั้งโรงแรมที่จะอำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไป&nbsp; ยิ่งมีรถไฟฟ้าขยายตัวออกนอกเมืองเท่าไหร่ ก็ยิ่งจะดึงดูดให้คนเข้ามาในใจกลางเมืองได้มากขึ้น ทำเลนี้จึงทวีความโดดเด่น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อันดับที่ 2 วิทยุ ก็มีราคาพอ ๆ กับย่านไทม์สแควร์แยกอโศก คือราคาตารางวาละ 2.95 ล้านบาท หรือไร่ละ 1,180 ล้านบาท ทั้งนี้แม้จะไม่มีรถไฟฟ้าผ่าน แต่ก็อยู่ในย่านความเจริญที่มีทั้งอาคารสำนักงาน โรงแรม 5 ดาว และในอนาคตอาจมีการพัฒนาที่ดินแปลงใหญ่ๆ ขึ้นมาอีก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อันดับที่ 3 ไทม์สแควร์อโศก แถวนี้ทั้งที่อยู่รอบสถานีรถไฟฟ้า BTS และสถานี MRT ราคาตารางวาละ 2.8 ล้านบาท หรือไร่ละ 1,120 ล้านบาท จะเห็นได้ว่าความเจริญกระจายมาตามรถไฟฟ้า BTS และย่านนี้เป็นย่านคนรวย หรือเป็นย่าน Beverly Hills ในลอสแอนเจลิสของประเทศไทย เจ้าของที่ดินในซอยหรือตามปากซอยที่เคยเป็นของเศรษฐีเก่าก็เปลี่ยนมือเป็นของนักลงทุนข้ามชาติมากขึ้น มีการขึ้นโรงแรมขนาด 5-6 ดาวหลายแห่ง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อันดับ 4 สุขุมวิท 21 อย่างไรก็ตามแม้แยกอโศก ถือเป็นจุดที่ราคาที่ดินสูงเป็นอันดับที่ 5 (ตารางวาละ 2.8 ล้านบาท) แต่ถ้าเป็นกลางซอย (ถนน) สุขุมวิท 21 กลับเป็นอันดับที่ 4 มีราคาตารางวาละ 2.53 ล้านบาท หรือไร่ละ 1,012 ล้านบาท ทั้งนี้เพราะไม่ใช่จุดตัดของการพัฒนา (TOD) เช่นเดียวกับทำเลที่ 5 แม้จะมีรถไฟฟ้า MRT อยู่ใต้ดินก็ตาม</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อันดับที่ 5 สีลม ราคาตารางวาละ 2.55 ล้านบาท หรือไร่ละ 1,020 ล้านบาท&nbsp; แม้สีลมจะเป็นย่านที่เป็นศูนย์กลางทางการเงิน มีสำนักงานใหญ่ของสถาบันการเงินอยู่เป็นจำนวนมาก แต่โดยที่พื้นที่สำนักงานเช่าได้ในราคาที่ต่ำกว่าการเช่าพื้นที่ค้าปลีก และโดยที่มีรถไฟฟ้าผ่านเพียง 1 สาย (BTS) จึงทำให้ราคาที่ดินตกเป็นเงินตารางวาละเพียง 2.55 ล้านบาท ถือเป็นอันดับที่ 5 ของกรุงเทพมหานคร</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ส่วนอันดับที่ 6 ก็คือ สาทร ที่มีราคาที่ดินเป็นเงินตารางวาละ 2.25 ล้านบาท หรือไร่ละ 900 ล้านบาท เพราะเป็นถนนที่มีรถไฟฟ้า BTS ผ่านส่วนหนึ่งแต่การพัฒนาที่ดินยังไม่เข้มข้นเท่ากับสีลม จึงทำให้ราคาที่ดินต่ำกว่าเล็กน้อย</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span>ราคาประเมินราชการแสนถูก</span></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในขณะที่ราคาตลาดของที่ดินใจกลางเมืองสูงถึง 3.6 ล้านบาทต่อตารางวา แต่ราคาประเมินทุนทรัพย์เพื่อการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในกรุงเทพมหานคร กลับมีราคาสูงสุดเพียง 1 ล้านบาทต่อตารางวา และราคานี้ก็ใช้มานานแล้ว&nbsp; ในขณะที่ราคาตลาดอยู่ที่ 1 ล้านบาทต่อตารางวามาตั้งแต่ปี 2552 หรือราว 14 ปีก่อน&nbsp; ราคาที่ดินตามราคาประเมินของทางราชการจึงต่ำกว่าราคาตลาดถึง 3 เท่า&nbsp; อย่างไรก็ตามในกรณีห้องชุดพักอาศัย ราคาประเมินของทางราชการกับราคาตลาดอาจแตกต่างกันไม่มาก หรืออาจใกล้เคียงกับราคาตลาด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อาจกล่าวได้ว่าราคาประเมินของทางราชการต่ำกว่าราคาตลาด อาจถือเป็นการเอื้อประโยชน์แก่เจ้าของที่ดินรายใหญ่ หรือนายทุนรายใหญ่ๆ ให้เสียภาษีแต่น้อยก็เป็นได้&nbsp; ซึ่งปรากฏการณ์นี้ก็คล้ายกับการเปิดช่องโหว่ในกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ให้ (อภิ)มหาเศรษฐีทั้งหลายสามารถแสร้งปลูกกล้วยเพื่อเลี่ยงภาษี หรือการเปิดช่องโหว่ในกฎหมายมรดก ที่จะเสียภาษีก็ต่อเมื่อมีมรดกเป็นเงินสูงถึง 100 ล้านบาท หากค่อยๆ ทยอยโอนทรัพย์สินให้กับทายาทในขณะมีชีวิตอยู่ก็ไม่ต้องเสียภาษี เป็นต้น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อาจกล่าวได้ว่าราคาตลาดของที่ดินในกรุงเทพมหานครจะไม่ลดลงหากไม่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจจนทำให้สถาบันการเงินล้มระเนระนาดเช่นในปี 2540 แต่ในขณะนี้สถาบันการเงินต่างๆ ยิ่งเข้มแข็ง โอกาสที่ราคาที่ดินจะลดจึงไม่มี และมีแต่จะเพิ่มขึ้น เพราะตลาดเป็นของผู้ขายที่ไม่มีภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมา “รนก้น” เช่นในนานาอารยประเทศนั่นเอง</p>\n<p><span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รัฐบาลควรประเมินราคาให้สอดคล้องกับตลาดเพื่อประชาชนจะได้ใช้ข้อมูลเพื่อการซื้อขายได้อย่างโปร่งใส โดยรัฐบาลอาจลดภาษีและค่าธรรมเนียมโอนให้ต่ำๆ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนแจ้งตามความเป็นจริง จะได้มีฐานข้อมูลเพื่อการประเมินค่าทรัพย์สินที่ถูกต้องต่อไป</span></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>หมายเหตุ: ตีพิมม์ในฐานเศรษฐกิจ 7-9 กันยายน 2566 หน้า 20</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span>ผู้แถลง:</span><br /><span>ดร.โสภณ พรโชคชัย (</span><a href=\"mailto:sopon@area.co.th\">sopon@area.co.th</a><span>) ประธาน ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก. เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส หรือ AREA (</span><a href=\"https://www.area.co.th/\" target=\"_blank\">www.area.co.th</a><span>): ซึ่งเป็นองค์กรที่มีฐานข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ภาคสนามขนาดใหญ่ที่สุดและปรับปรุงให้ทันสมัยที่สุดในประเทศไทย และดำเนินการเก็บข้อมูลต่อเนื่องมาตั้งแต่ พ.ศ.2537 เป็นศูนย์ข้อมูลที่มีความเป็นกลางทางวิชาการ และเป็นอิสระทางวิชาชีพ โดยไม่ถูกครอบงำโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใด ๆ สมาชิกของศูนย์ข้อมูลฯ ได้รับข้อมูลที่เป็น First-hand information ในเวลาเดียวกัน</span></p>\n</div>\n', created = 1714913775, expire = 1715000175, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a36d6916f66d130a41f7c842047c35c5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ทำไมราคาที่ดิน กทม.พุ่งไม่หยุดถึง 3.6 ล้าน/ตรว.

รูปภาพของ pornchokchai
ทำไมราคาที่ดิน กทม.พุ่งไม่หยุดถึง 3.6 ล้าน/ตรว.
  AREA แถลง ฉบับที่ 794/2566: วันศุกร์ที่ 22 กันยายน 2566

 

ผู้แถลง: ดร.โสภณ พรโชคชัย
ประธาน ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย
บจก.เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส sopon@area.co.th https://www.facebook.com/dr.sopon4

 

            ราคาที่ดินในเขตใจกลางเมืองพุ่งสูงขึ้นอย่างไม่หยุดยั้งทั้งที่มีโรคโควิด-19 ระบาดหนักในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา โดยราคาพุ่งสูงสุดถึงตารางวาละ 3.6 ล้านบาทเข้าไปแล้ว  นี่คือการพัฒนาแบบรวมศูนย์ไว้ที่ศูนย์กลางความเจริญเติบโตของเมืองเท่านั้น แต่ในอีกด้านหนึ่ง ราคาประเมินราชการกลับต่ำเพียง 1 ล้านบาทต่อตารางวา ทำไมจึงต่างกันฟ้ากับเหว

            ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก.เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส (www.area.co.th) ซึ่งสำรวจราคาที่ดินในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลอย่างต่อเนื่องนับร้อยๆ แปลงมาตั้งแต่ปี 2528 พบว่า ราคาที่ดินหลังโรคระบาดโควิด-19 ก็ยังเติบโตต่อเนื่องแม้ในช่วงโควิด-19 ก็ยังไม่หยุดโตทั้งที่เศรษฐกิจยังไม่ได้ฟื้นตัว ยิ่งก็ยังเทียบไม่ได้กับช่วงวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 หรือวิกฤติต้มยำกุ้งเมื่อ 25 ปีก่อน โดยในช่วงปี 2543 ลดต่ำกว่าปี 2540 ถึงเกือบ 20%

 

ย่านค้าปลีกสำคัญกว่าย่านการเงิน

            ดร.โสภณประมาณการไว้ว่า ณ สิ้นปี 2566 ราคาที่ดินที่แพงที่สุดจะอยู่บริเวณสยามสแควร์ ซึ่งหากเป็นที่ดินที่สามารถขายได้ตามท้องตลาดทั่วไป ก็จะมีราคาตารางวาละ 3.6 ล้านบาท หรือ ไร่ละ 1,440 ล้านบาท หรือเท่ากับที่ดินขนาด 1 ตารางวาหรือ 4 ตารางเมตร ต้องใช้ธนบัตรใบละ 1,000 บาท วางปูไว้ถึง 10 ชั้นเศษด้วยกัน เท่ากับที่ดินบริเวณนี้แพงที่สุด  เสมือนหนึ่ง “นั่งบนกองเงินกองทอง” ก็ว่าได้  ทั้งนี้ราคาที่ดินในช่วงครึ่งแรกของปีกำลังฟื้นตัวช้าๆ และคาดว่าในครึ่งหลังของปีจะเพิ่มขึ้นเด่นชัด ดร.โสภณจึงประเมินว่าราคาในปี 2566 นี้จะเพิ่มเป็น 3.6 ล้านบาทในบริเวณสยามสแควร์ เพลินจิต ชิดลมและสุขุมวิทช่วงต้น โดยคาดว่าราคาเพิ่มขึ้นกว่าเดิมคือในปี 2565 ที่ประเมินไว้ที่ 3.5 ล้านบาท ประมาณ 3.0%

            กรณีนี้ชี้ชัดว่าทำเลที่เป็นศูนย์การค้าปลีกมีความสำคัญกว่าทำเลที่เป็นศูนย์กลางทางการเงิน ในย่านสยามสแควร์ ชิดลม เพลินจิตนี้เป็นศูนย์กลางการจับจ่ายใช้สอยหรือ Retail Centre ของกรุงเทพมหานคร  พื้นที่นี้สำหรับการพัฒนาเป็นศูนย์การค้า ซึ่งมักจะให้เช่าในราคาที่แพงกว่า เช่น ประมาณ 3-4 พันบาทต่อตารางเมตร แพงกว่าการเช่าพื้นที่สำนักงานเช่นย่านสีลม ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางการเงินของประเทศ และมีค่าเช่าสำนักงานประมาณ 1,200 บาทต่อตารางเมตร ดังนั้นเมื่อพิจารณาถึงประโยชน์สูงสุดที่แตกต่างกันเช่นนี้ จึงต้องยกให้ย่านสยามสแควร์เป็น “ทำเลทอง” ที่มีราคาที่ดินที่แพงที่สุด ทั้งนี้ได้ตั้งสมมติฐานสำหรับที่ดินขนาด 4 ไร่ ที่มีหน้ากว้าง 40 เมตร ลึก 160 เมตร เป็นแปลงสมมติมาตรฐาน เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ทั่วทุกเขต

            อย่างไรก็ตามในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2563-2565) การเช่าพื้นที่ศูนย์การค้าอาจลดลง และค่าเช่าลดต่ำลงระดับหนึ่งเช่นกัน ศูนย์การยค้าบางแห่งถึงขนาดต้องปิดตัวลงไปก็มี  แต่ในพื้นที่ย่านสยามสแควร์ อาจแตกต่างกัน ราคาก็ยังไม่ได้ปรับลดลงอย่างมีนัยสำคัญนัก และยังมีแนวโน้มที่จะสร้างศูนย์การค้าใหม่ด้วยการรื้อพื้นที่ตึกแถวย่านสยามสแควร์ออกไปอีก จึงยังทำให้การพัฒนาศูนย์กาค้าหรือพื้นที่ค้าปลีกในบริเวณนี้ยังคงความสำคัญเป็นอย่างมาก  และแม้ค่าเช่าศูนย์การค้าจะหยุดชะงักหรือลดลงบ้างแต่หากนำที่ดินเปล่ามาพัฒนาเป็นศูนย์การค้า ก็ยังไม่มีทำเลใดที่จะสู้ทำเลนี้ได้

 

การเปลี่ยนแปลงราคาที่ดิน 2528-2566

            ปรากฏการณ์นี้แตกต่างจากการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540-2543 ที่ราคาที่ดินโดยรวมลดลงเพราะกิจการขนาดใหญ่ โดยเฉพาะสถาบันการเงิน บริษัทพัฒนาที่ดินมหาชน บริษัทขนาดใหญ่เป็นจำนวนมากล้มละลายลง ทำให้การผ่องถ่ายขายทรัพย์สินมีมากขึ้น ราคาซื้อขายจึงลดต่ำลงอย่างชัดเจน  แต่สถานการณ์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลยังไม่พบภาวะที่ร้ายแรงเช่นนี้  อย่างไรก็ตามภาวะร้ายแรงสามารถพบเห็นได้ในเมืองท่องเที่ยว เช่น ภูเก็ต สมุย พัทยา ที่รายได้สำคัญมาจากการท่องเที่ยว และในเมืองนักท่องเที่ยวโดยเฉพาะจีนและรัสเซีย หายไปเป็นเวลา 3 ปี (2563-2565) ทำให้ค่าเช่าโรงแรมไม่สามารถรับรู้ได้ หรือมีรายได้จำกัดเป็นอย่างมาก  เจ้าของโรงแรมหลายแห่งก็จำเป็นต้องขายทรัพย์สิน

 

 

            อาจกล่าวได้ว่าการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินที่ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทยสำรวจไว้พบว่า ในช่วงปี 2528-2539 ราคาที่ดินปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะช่วงปี 2528-2533 ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงจากประเทศเกษตรกรรมเป็นประเทศอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน ทั้งนี้มีการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องจากประเทศญี่ปุ่น ทำให้ที่ดินแต่เดิมใช้ทำนาเป็นหลัก  ก็เปลี่ยนเป็นที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรมและเพื่อการพาณิชย์กรรม รวมทั้งที่อยู่อาศัย ราคาที่ดินจึงเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล อย่างเช่น ที่ดินแถว “ซาฟารีเวิร์ล” ในช่วงปี 2528 มีราคาไร่ละ 15,000 บาท ก็เพิ่มเป็น 30,000 บาทในปีเดียว จนถึง 100,000 บาทในปี 2531 และจัดสรรเป็นสวนเกษตรขายในราคา 400,000 บาท และจนถึงปี 2535 ก็ขายกันในราคา 1.2 ล้านบาทต่อไร่เพื่อใช้ทำสนามบ้านจัดสรร เป็นต้น

            ราคาที่ดินเริ่มตกต่ำในปี 2540 ที่เกิดวิกฤติทางการเงินอย่างรุนแรงจนสถาบันการเงินปิดตัวกันเป็นจำนวนมาก ค่าเงินบาทอ่อนค่าลงจาก 25 บาทเป็นมากกว่า 50 บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ทำให้ราคาที่ดินในปี 2540 ลดลง 12.5% และในปี 2541 ลดลง 10.1% และเริ่มหยุดนิ่งในปี 2542  หลังจากนั้นก็เริ่มทยอยเพิ่มราคาขึ้นในปี 2543 เป็นต้นมา  และนับแต่นั้นราคาที่ดินในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลก็เพิ่มขึ้นมาโดยตลอด เพียงแต่บางช่วงอาจเพิ่มขึ้นน้อย เช่น มีรัฐประหาร แต่ก็ไม่มีปรากฏการณ์ที่ราคาที่ดินลดลงอีกเลย

 

ราคาที่ดินเปลี่ยนแปลงเพราะรถไฟฟ้า

            ถ้าเทียบการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินตามแนวรถไฟฟ้าจะเห็นได้ว่า:

            1. กรณีรถไฟฟ้าโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (MRT) เทียบระหว่างรัชดาภิเษก ห้วยขวาง กับพระราม 9 ห้วยขวาง ราคาที่ดินในปี 2537 เป็นเงินตารางวาละ 200,000 บาท และ 165,000 บาท แต่พอมาถึงปี 2565 ราคาต่างเพิ่มขึ้น แต่แถวรัชดาภิเษก เป็นเงินตารางวาละ 1.1 ล้านบาท แต่แถวพระราม 9 อยู่ที่ 620,000 บาท แสดงว่าอัตราการเติบโตของราคาที่ดินต่างกันมาก เพราะบริเวณรัชดาภิเษกมีรถไฟฟ้านั่นเอง

 

 

            2. กรณีเยาวราช สยามสแควร์ และสีลม จะเห็นได้ว่ามีราคาในปี 2537 อยู่ที่ 700,000, 400,000 และ 450,000 บาทต่อตารางวาตามลำดับ แต่มาในปี 2566ราคาต่างก็เพิ่มขึ้นในอัตราที่แตกต่างกัน โดยใน 3 ทำเลนี้เพิ่มขึ้นในสัดส่วน 3.3% (เยาวราช) 8.1% (สยามสแควร์) และ 6.3% (สีลม) จะเห็นได้ว่าที่ย่านเยาวราชเพิ่มมีรถไฟฟ้าที่ถนนเจริญกรุง ราคาจึงเพิ่มช้าที่สุด ส่วนสยามสแควร์มีรถไฟฟ้า 2 สายตัดกับกลายเป็นบริเวการพัฒนาแบบรอบสถานีรถไฟฟ้า (Transit Oriented Development) ส่วนสีลมมีรถไฟฟ้าผ่านสายเดียว เป็นต้น

            3. กรณีพระรามที่ 4 แถวกล้วยน้ำไท และสุขุมวิท แถวเอกมัย ก็เช่นกัน แต่เดิมในปี 2537 ราคาต่างกันเพียง 10% จาก 200,000 บาท เป็น 220,000 บาท แต่ในปี 2566 ราคาแม้จะเพิ่มขึ้น แต่ต่างกันราวครึ่งต่อครึ่ง คือที่กล้วยน้ำไท 4 ราคาตารางวาละ 820,000 บาท แต่ราคาแถวเอกมัย ราคาสูงถึง 1,850,000 บาทต่อตารางวา

 

วิเคราะห์ 6 ทำเลที่แพงที่สุด

            สำหรับราคาที่ดินที่แพงที่สุดต่อตารางวาสำหรับที่ดินขนาดประมาณ 4 ไร่โดยประมาณนั้น เป็นดังนี้:

อันดับที่    1  สยามสแควร์      ราคาตารางวาละ      3.6   ล้านบาท หรือไร่ละ  1,440 ล้านบาท

อันดับที่    2  วิทยุ                 ราคาตารางวาละ    2.95   ล้านบาท หรือไร่ละ  1,180 ล้านบาท

อันดับที่    3  ไทมสแควร์อโศก ราคาตารางวาละ      2.8   ล้านบาท หรือไร่ละ  1,120 ล้านบาท

อันดับที่    4  สุขุมวิท 21        ราคาตารางวาละ    2.53   ล้านบาท หรือไร่ละ  1,012 ล้านบาท

อันดับที่    5  สีลม                ราคาตารางวาละ    2.55   ล้านบาท หรือไร่ละ  1,020 ล้านบาท

อันดับที่    6  สาทร               ราคาตารางวาละ    2.25   ล้านบาท หรือไร่ละ     900 ล้านบาท

 

            สิ่งที่น่าสังเกตก็คือ ราคาที่ดินใน 6 ทำเลนี้ ราคาสูงเด่นเพราะอะไร

            อันดับที่ 1 สยามสแควร์ ทำเลนี้เป็นสุดยอดทำเลค้าปลีกในกรุงเทพมหานครหรือประเทศไทยทั้งหมดโดยเฉพาะสำหรับสินค้านำสมัยจากต่างประเทศ เป็นเสมือนย่านถนนออร์ชาร์ดของสิงคโปร์ที่รวมห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้าอยู่รวมกันมากมาย รวมทั้งโรงแรมที่จะอำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไป  ยิ่งมีรถไฟฟ้าขยายตัวออกนอกเมืองเท่าไหร่ ก็ยิ่งจะดึงดูดให้คนเข้ามาในใจกลางเมืองได้มากขึ้น ทำเลนี้จึงทวีความโดดเด่น

            อันดับที่ 2 วิทยุ ก็มีราคาพอ ๆ กับย่านไทม์สแควร์แยกอโศก คือราคาตารางวาละ 2.95 ล้านบาท หรือไร่ละ 1,180 ล้านบาท ทั้งนี้แม้จะไม่มีรถไฟฟ้าผ่าน แต่ก็อยู่ในย่านความเจริญที่มีทั้งอาคารสำนักงาน โรงแรม 5 ดาว และในอนาคตอาจมีการพัฒนาที่ดินแปลงใหญ่ๆ ขึ้นมาอีก

            อันดับที่ 3 ไทม์สแควร์อโศก แถวนี้ทั้งที่อยู่รอบสถานีรถไฟฟ้า BTS และสถานี MRT ราคาตารางวาละ 2.8 ล้านบาท หรือไร่ละ 1,120 ล้านบาท จะเห็นได้ว่าความเจริญกระจายมาตามรถไฟฟ้า BTS และย่านนี้เป็นย่านคนรวย หรือเป็นย่าน Beverly Hills ในลอสแอนเจลิสของประเทศไทย เจ้าของที่ดินในซอยหรือตามปากซอยที่เคยเป็นของเศรษฐีเก่าก็เปลี่ยนมือเป็นของนักลงทุนข้ามชาติมากขึ้น มีการขึ้นโรงแรมขนาด 5-6 ดาวหลายแห่ง

            อันดับ 4 สุขุมวิท 21 อย่างไรก็ตามแม้แยกอโศก ถือเป็นจุดที่ราคาที่ดินสูงเป็นอันดับที่ 5 (ตารางวาละ 2.8 ล้านบาท) แต่ถ้าเป็นกลางซอย (ถนน) สุขุมวิท 21 กลับเป็นอันดับที่ 4 มีราคาตารางวาละ 2.53 ล้านบาท หรือไร่ละ 1,012 ล้านบาท ทั้งนี้เพราะไม่ใช่จุดตัดของการพัฒนา (TOD) เช่นเดียวกับทำเลที่ 5 แม้จะมีรถไฟฟ้า MRT อยู่ใต้ดินก็ตาม

            อันดับที่ 5 สีลม ราคาตารางวาละ 2.55 ล้านบาท หรือไร่ละ 1,020 ล้านบาท  แม้สีลมจะเป็นย่านที่เป็นศูนย์กลางทางการเงิน มีสำนักงานใหญ่ของสถาบันการเงินอยู่เป็นจำนวนมาก แต่โดยที่พื้นที่สำนักงานเช่าได้ในราคาที่ต่ำกว่าการเช่าพื้นที่ค้าปลีก และโดยที่มีรถไฟฟ้าผ่านเพียง 1 สาย (BTS) จึงทำให้ราคาที่ดินตกเป็นเงินตารางวาละเพียง 2.55 ล้านบาท ถือเป็นอันดับที่ 5 ของกรุงเทพมหานคร

            ส่วนอันดับที่ 6 ก็คือ สาทร ที่มีราคาที่ดินเป็นเงินตารางวาละ 2.25 ล้านบาท หรือไร่ละ 900 ล้านบาท เพราะเป็นถนนที่มีรถไฟฟ้า BTS ผ่านส่วนหนึ่งแต่การพัฒนาที่ดินยังไม่เข้มข้นเท่ากับสีลม จึงทำให้ราคาที่ดินต่ำกว่าเล็กน้อย

 

ราคาประเมินราชการแสนถูก

            ในขณะที่ราคาตลาดของที่ดินใจกลางเมืองสูงถึง 3.6 ล้านบาทต่อตารางวา แต่ราคาประเมินทุนทรัพย์เพื่อการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในกรุงเทพมหานคร กลับมีราคาสูงสุดเพียง 1 ล้านบาทต่อตารางวา และราคานี้ก็ใช้มานานแล้ว  ในขณะที่ราคาตลาดอยู่ที่ 1 ล้านบาทต่อตารางวามาตั้งแต่ปี 2552 หรือราว 14 ปีก่อน  ราคาที่ดินตามราคาประเมินของทางราชการจึงต่ำกว่าราคาตลาดถึง 3 เท่า  อย่างไรก็ตามในกรณีห้องชุดพักอาศัย ราคาประเมินของทางราชการกับราคาตลาดอาจแตกต่างกันไม่มาก หรืออาจใกล้เคียงกับราคาตลาด

            อาจกล่าวได้ว่าราคาประเมินของทางราชการต่ำกว่าราคาตลาด อาจถือเป็นการเอื้อประโยชน์แก่เจ้าของที่ดินรายใหญ่ หรือนายทุนรายใหญ่ๆ ให้เสียภาษีแต่น้อยก็เป็นได้  ซึ่งปรากฏการณ์นี้ก็คล้ายกับการเปิดช่องโหว่ในกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ให้ (อภิ)มหาเศรษฐีทั้งหลายสามารถแสร้งปลูกกล้วยเพื่อเลี่ยงภาษี หรือการเปิดช่องโหว่ในกฎหมายมรดก ที่จะเสียภาษีก็ต่อเมื่อมีมรดกเป็นเงินสูงถึง 100 ล้านบาท หากค่อยๆ ทยอยโอนทรัพย์สินให้กับทายาทในขณะมีชีวิตอยู่ก็ไม่ต้องเสียภาษี เป็นต้น

            อาจกล่าวได้ว่าราคาตลาดของที่ดินในกรุงเทพมหานครจะไม่ลดลงหากไม่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจจนทำให้สถาบันการเงินล้มระเนระนาดเช่นในปี 2540 แต่ในขณะนี้สถาบันการเงินต่างๆ ยิ่งเข้มแข็ง โอกาสที่ราคาที่ดินจะลดจึงไม่มี และมีแต่จะเพิ่มขึ้น เพราะตลาดเป็นของผู้ขายที่ไม่มีภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมา “รนก้น” เช่นในนานาอารยประเทศนั่นเอง

            รัฐบาลควรประเมินราคาให้สอดคล้องกับตลาดเพื่อประชาชนจะได้ใช้ข้อมูลเพื่อการซื้อขายได้อย่างโปร่งใส โดยรัฐบาลอาจลดภาษีและค่าธรรมเนียมโอนให้ต่ำๆ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนแจ้งตามความเป็นจริง จะได้มีฐานข้อมูลเพื่อการประเมินค่าทรัพย์สินที่ถูกต้องต่อไป

 

หมายเหตุ: ตีพิมม์ในฐานเศรษฐกิจ 7-9 กันยายน 2566 หน้า 20

 

 

ผู้แถลง:
ดร.โสภณ พรโชคชัย (sopon@area.co.th) ประธาน ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก. เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส หรือ AREA (www.area.co.th): ซึ่งเป็นองค์กรที่มีฐานข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ภาคสนามขนาดใหญ่ที่สุดและปรับปรุงให้ทันสมัยที่สุดในประเทศไทย และดำเนินการเก็บข้อมูลต่อเนื่องมาตั้งแต่ พ.ศ.2537 เป็นศูนย์ข้อมูลที่มีความเป็นกลางทางวิชาการ และเป็นอิสระทางวิชาชีพ โดยไม่ถูกครอบงำโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใด ๆ สมาชิกของศูนย์ข้อมูลฯ ได้รับข้อมูลที่เป็น First-hand information ในเวลาเดียวกัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 538 คน กำลังออนไลน์