• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ง. 30249 งานเขียนเว็ปไซต์ ด้วยภารษา HTML ', 'node/135214', '', '3.147.76.89', 0, 'f644ee1746a32a4bfbd8633bb612af39', 172, 1716736389) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:711c3eb45a4337082ef58b1b837f3cf8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><img src=\"/files/u30426/2_0.jpg\" alt=\"\" width=\"500\" height=\"333\" /></strong></p>\n<p><strong>เครือข่ายมหาวิทยาลัยพื้นที่ บพท. กวาด 5 รางวัลงานวิจัยประจำปี 2565</strong></p>\n<p><strong>5 ผลงานวิจัยจาก 5 สถาบันอุดมศึกษา ที่ได้รับทุนสนับสนุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาพื้นที่ (บพท.) ช่วยต่อยอดองค์ความรู้จากงานวิจัย ไปใช้ประโยชน์ในการสร้างความอยู่ดีกินดี และสร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจฐานราก ได้รับรางวัลงานวิจัยดีเด่นประจำปี 2565&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (</strong><strong>Thailand Research Expo Award 2022)&nbsp; ในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติประจำปี 2565 </strong></p>\n<p>มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติประจำปี 2565 ซึ่งสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม พร้อมด้วยหน่วยงานเครือข่ายในระบบวิจัย และเครือข่ายมหาวิทยาลัย รวมทั้งหน่วยงานบริหารจัดการทุนวิจัยและนวัตกรรม ตลอดจนหน่วยงานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมกันจัดขึ้น ได้มีการมอบรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นแก่สถาบันอุดมศึกษารวม 35 รางวัล จากจำนวนผลงานวิจัยกว่า 160 องค์กรทั่วประเทศ&nbsp; โดย 5 ผลงานที่ได้รับรางวัล เป็นผลงานที่ได้รับสนับสนุนทุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุน ด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)</p>\n<p>ในจำนวนผลงานที่ได้รับรางวัล ซึ่ง บพท.ให้การสนับสนุนทุนวิจัยทั้ง 5 รางวัลประกอบไปด้วย</p>\n<p>1.รางวัลผลงานวิจัยยอดเยี่ยม&nbsp; Platinum Award ได้แก่&nbsp; มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ กับผลงาน “การจัดการทุนทางวัฒนธรรมขับเคลื่อน เศรษฐกิจฐานรากพื้นที่เส้นทางการค้าโบราณ จังหวัดบุรีรัมย์” ได้รับถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พร้อมเงินรางวัล รางวัลละ 120,000 บาท และเกียรติบัตร</p>\n<p>หัวใจสำคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ เป็นการการใช้งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ผนวกเข้ากับทุนทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน เกิดเป็นผลิตภัณฑ์และกิจกรรมที่มีคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม ก่อให้เกิดแรงดึงดูดด้านการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น เป็นการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจฐานรากของจังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งจะเป็นพลังสำคัญในการสร้างความเข้มแข็ง มั่นคง และยั่งยืนแก่เศรษฐกิจฐานราก</p>\n<p>2.รางวัล Silver Award&nbsp; ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช กับผลงาน “มหัศจรรย์ \"ป่าประ\" เขาหลวง นครศรีธรรมราช” ได้รับถ้วยรางวัลจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พร้อมเงินรางวัล รางวัลละ 50,000 บาท และเกียรติบัตร</p>\n<p>งานวิจัยชิ้นนี้ เป็นการนำองค์ความรู้และนวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเมล็ดประ พืชท้องถิ่นของจังหวัดนครศรีธรรมราชให้มีมาตรฐานความปลอดภัยทางอาหาร สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงเชิงพาณิชย์ และเป็นสินค้าเอกลักษณ์ของจังหวัดที่หลากหลาย รวมทั้งการนำเปลือกเมล็ดประ ไปทำเป็นสีของผ้ามัดย้อม เกิดประโยชน์จากเมล็ดประด้านมิติสังคมและเศรษฐกิจในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช</p>\n<p>3.รางวัล Bronze Award ได้แก่ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กับผลงาน “การพัฒนาขีดความสามารถของเกษตรกร และผู้ประกอบการกาแฟอาราบิก้าในชุมชนจังหวัดเชียงรายตลอดห่วงโซ่อุปทาน” ได้รับถ้วยรางวัลจากปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พร้อมเงินรางวัล รางวัลละ 30,000 บาท และเกียรติบัตร</p>\n<p>งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่และพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางด้านธุรกิจของผู้ประกอบการกาแฟ อาราบิก้าในชุมชนจังหวัดเชียงรายให้ดีขึ้นกว่าเดิม ด้วยการให้องค์ความรู้ทั้งด้านกระบวนการผลิตเพื่อยกระดับคุณภาพตามมาตรฐานโลก รวมถึงการพัฒนากระบวนการบริหารเชิงธุรกิจ สามารถวางแผนการผลิตและการจัดการด้านการเงินอย่างเป็นระบบ ควบคู่กับการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ที่มีศักยภาพเพื่อเป็นช่องทางการตลาดในรูปแบบใหม่ ยกระดับการซื้อขายเมล็ดกาแฟคุณภาพสู่สากลมากขึ้นสร้างความยั่งยืน โดยมุ่งหวังที่จะเพิ่มมูลค่าสูงขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่า 10% เพิ่มยอดขายไม่น้อยกว่า 15%</p>\n<p>นอกจากนี้ ยังมีรางวัลชมเชย อีก 2 รางวัล จาก มหาวิทยาลัยทักษิณ กับผลงาน “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างเบ็ดเสร็จและแม่นยำในจังหวัดพัทลุง และมหาวิทยาลัยพะเยา กับผลงาน “การผลิตโคเนื้อคุณภาพเพื่อเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร จังหวัดพะเยา” ได้รับเงินรางวัล 10,000 บาท และเกียรติบัตร</p>\n<p>หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) มีบทบาทในขับเคลื่อนการพัฒนาบนฐานความรู้ด้วยการวิจัยและสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ประสานความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยและภาคีในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อประสานองค์ความรู้ของนักวิชาการเข้ากับภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้ตอบสนองความต้องการของแต่ละพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่เพื่อเป็นเครื่องประกันความยั่งยืน</p>\n<p align=\"center\">----------------------------------------------------------</p>\n<p><em>รายละเอียดเพิ่มเติม โปรดติดต่อ</em></p>\n<p><em>หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)</em></p>\n<p><em>น.ส.อุษณี เอ่งล่อง โทรศัพท์&nbsp; 089-473-3389</em></p>\n', created = 1716736399, expire = 1716822799, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:711c3eb45a4337082ef58b1b837f3cf8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เครือข่ายมหาวิทยาลัยพื้นที่ บพท. กวาด 5 รางวัลงานวิจัยประจำปี 2565

เครือข่ายมหาวิทยาลัยพื้นที่ บพท. กวาด 5 รางวัลงานวิจัยประจำปี 2565

5 ผลงานวิจัยจาก 5 สถาบันอุดมศึกษา ที่ได้รับทุนสนับสนุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาพื้นที่ (บพท.) ช่วยต่อยอดองค์ความรู้จากงานวิจัย ไปใช้ประโยชน์ในการสร้างความอยู่ดีกินดี และสร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจฐานราก ได้รับรางวัลงานวิจัยดีเด่นประจำปี 2565         (Thailand Research Expo Award 2022)  ในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติประจำปี 2565

มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติประจำปี 2565 ซึ่งสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม พร้อมด้วยหน่วยงานเครือข่ายในระบบวิจัย และเครือข่ายมหาวิทยาลัย รวมทั้งหน่วยงานบริหารจัดการทุนวิจัยและนวัตกรรม ตลอดจนหน่วยงานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมกันจัดขึ้น ได้มีการมอบรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นแก่สถาบันอุดมศึกษารวม 35 รางวัล จากจำนวนผลงานวิจัยกว่า 160 องค์กรทั่วประเทศ  โดย 5 ผลงานที่ได้รับรางวัล เป็นผลงานที่ได้รับสนับสนุนทุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุน ด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

ในจำนวนผลงานที่ได้รับรางวัล ซึ่ง บพท.ให้การสนับสนุนทุนวิจัยทั้ง 5 รางวัลประกอบไปด้วย

1.รางวัลผลงานวิจัยยอดเยี่ยม  Platinum Award ได้แก่  มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ กับผลงาน “การจัดการทุนทางวัฒนธรรมขับเคลื่อน เศรษฐกิจฐานรากพื้นที่เส้นทางการค้าโบราณ จังหวัดบุรีรัมย์” ได้รับถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พร้อมเงินรางวัล รางวัลละ 120,000 บาท และเกียรติบัตร

หัวใจสำคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ เป็นการการใช้งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ผนวกเข้ากับทุนทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน เกิดเป็นผลิตภัณฑ์และกิจกรรมที่มีคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม ก่อให้เกิดแรงดึงดูดด้านการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น เป็นการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจฐานรากของจังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งจะเป็นพลังสำคัญในการสร้างความเข้มแข็ง มั่นคง และยั่งยืนแก่เศรษฐกิจฐานราก

2.รางวัล Silver Award  ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช กับผลงาน “มหัศจรรย์ "ป่าประ" เขาหลวง นครศรีธรรมราช” ได้รับถ้วยรางวัลจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พร้อมเงินรางวัล รางวัลละ 50,000 บาท และเกียรติบัตร

งานวิจัยชิ้นนี้ เป็นการนำองค์ความรู้และนวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเมล็ดประ พืชท้องถิ่นของจังหวัดนครศรีธรรมราชให้มีมาตรฐานความปลอดภัยทางอาหาร สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงเชิงพาณิชย์ และเป็นสินค้าเอกลักษณ์ของจังหวัดที่หลากหลาย รวมทั้งการนำเปลือกเมล็ดประ ไปทำเป็นสีของผ้ามัดย้อม เกิดประโยชน์จากเมล็ดประด้านมิติสังคมและเศรษฐกิจในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช

3.รางวัล Bronze Award ได้แก่ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กับผลงาน “การพัฒนาขีดความสามารถของเกษตรกร และผู้ประกอบการกาแฟอาราบิก้าในชุมชนจังหวัดเชียงรายตลอดห่วงโซ่อุปทาน” ได้รับถ้วยรางวัลจากปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พร้อมเงินรางวัล รางวัลละ 30,000 บาท และเกียรติบัตร

งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่และพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางด้านธุรกิจของผู้ประกอบการกาแฟ อาราบิก้าในชุมชนจังหวัดเชียงรายให้ดีขึ้นกว่าเดิม ด้วยการให้องค์ความรู้ทั้งด้านกระบวนการผลิตเพื่อยกระดับคุณภาพตามมาตรฐานโลก รวมถึงการพัฒนากระบวนการบริหารเชิงธุรกิจ สามารถวางแผนการผลิตและการจัดการด้านการเงินอย่างเป็นระบบ ควบคู่กับการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ที่มีศักยภาพเพื่อเป็นช่องทางการตลาดในรูปแบบใหม่ ยกระดับการซื้อขายเมล็ดกาแฟคุณภาพสู่สากลมากขึ้นสร้างความยั่งยืน โดยมุ่งหวังที่จะเพิ่มมูลค่าสูงขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่า 10% เพิ่มยอดขายไม่น้อยกว่า 15%

นอกจากนี้ ยังมีรางวัลชมเชย อีก 2 รางวัล จาก มหาวิทยาลัยทักษิณ กับผลงาน “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างเบ็ดเสร็จและแม่นยำในจังหวัดพัทลุง และมหาวิทยาลัยพะเยา กับผลงาน “การผลิตโคเนื้อคุณภาพเพื่อเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร จังหวัดพะเยา” ได้รับเงินรางวัล 10,000 บาท และเกียรติบัตร

หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) มีบทบาทในขับเคลื่อนการพัฒนาบนฐานความรู้ด้วยการวิจัยและสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ประสานความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยและภาคีในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อประสานองค์ความรู้ของนักวิชาการเข้ากับภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้ตอบสนองความต้องการของแต่ละพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่เพื่อเป็นเครื่องประกันความยั่งยืน

----------------------------------------------------------

รายละเอียดเพิ่มเติม โปรดติดต่อ

หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

น.ส.อุษณี เอ่งล่อง โทรศัพท์  089-473-3389

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 265 คน กำลังออนไลน์