• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บล็อกของ pncploypatcha', 'blog/55951', '', '3.147.67.48', 0, '4e7fb1fc7a6ea84299eea3ee4d539166', 524, 1716703845) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0bb415106ecb39660394e58b13a84348' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก.เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส (<a href=\"http://www.area.co.xn--th%29%20-ctztxzb/\">www.area.co.th) ได้</a>เผยแพร่คลิปเพื่อกระตุ้นว่า “รถไฟฟ้าบีทีเอสน่าจะลดราคาครั้งใหญ่หลังหมดสัมปทาน” ดังรายละเอียดต่อไปนี้:</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<div><span><a href=\"https://youtu.be/QFq3Jo4G3r0\" target=\"_blank\">รถไฟฟ้าบีทีเอสน่าจะลดราคาครั้งใหญ่หลังหมดสัมปทาน</a></span><br /><a href=\"https://youtu.be/QFq3Jo4G3r0\" target=\"_blank\">https://youtu.be/QFq3Jo4G3r0</a><a href=\"https://youtu.be/QFq3Jo4G3r0\" target=\"_blank\"><img src=\"https://soponpornchokchai.files.wordpress.com/2020/12/63-743.jpg\" alt=\"\" /></a></div>\n<div id=\"bannerPressID\" class=\"no-print col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12\">\n<div class=\"embed-responsive embed-responsive-16by9\"><iframe src=\"https://www.area.co.th/thai/area_announce/__area_press_popup_placebody_2_1.php?get=[18,0]\" scrolling=\"no\" width=\"320\" height=\"240\"></iframe></div>\n</div>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ค่าบริการรถไฟฟ้าบีทีเอสของเราแสนแพงจริงๆ เรามาเปรียบเทียบกันดู และมาดูว่าความจริงควรมีส่วนลดอย่างไรบ้างสำหรับรถไฟฟ้าบีทีเอสในอนาคต</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จากการศึกษาเปรียบเทียบพบว่า</p>\n<ol>\n<li>ที่กรุงมะนิลา ค่ารถไฟฟ้าอยู่ที่ 15-30 peso (10-20 บาท)</li>\n<li>ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ คิดค่าโดยสาร 0.8-7.2 ringgit (6-53 บาท) แต่กัวลาลัมเปอร์มีค่าครองชีพแพงกว่าไทย ดังนั้นจึงควรมีราคาไม่เกิน 35 บาทเท่านั้น</li>\n<li>ที่กรุงจาการ์ตา คิด 3,000-14,000 rupiah (7-30 บาท) หรือถ้าคิดในแง่ค่าครองชีพไทย ราคาก็ไม่เกิน 25 บาทต่อเที่ยว</li>\n<li>ที่สิงคโปร์ ค่าบริการตก 0.92 - 2.03 ดอลลาร์สิงคโปร์ (21-46 บาท) แต่สิงคโปร์มีค่าครองชีพมากกว่าเรา 3 เท่า ก็คงเป็นเงินไม่เกินเที่ยวละ 18 บาท</li>\n<li>ที่กรุงโตเกียว ตั๋ววันคิด 800 yen (233 บาท หากขึ้นไปกลับก็ตกเที่ยวละ 116 ถ้าค่าครองชีพญี่ปุ่นแพงกว่าไทย 4 เท่า ก็เท่ากับ 29 บาทเท่านั้น) ก็ถูกกว่าไทยอีกแล้ว</li>\n<li>ที่นครนิวยอร์ก ค่าโดยสารประมาณ 2.75 USD (83 บาท ถ้าคิดว่าค่าครองชีพไทยต่ำกว่า 4 เท่า ก็เท่ากับ 21 บาทเท่านั้น) ซึ่งก็ยังถูกกว่าไทยอยู่ดี และยังนั่งได้ทั้งรถเมล์อีกต่างหาก<br />&nbsp;</li>\n</ol>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าค่าโดยสารบีทีเอส “แพงหูฉี่” จริงๆ เทียบกับรถประจำทางแล้วแพงกว่ากันหลายเท่า ถ้านั่งแท็กซี่จากสนามบินสุวรรณภูมิเข้าเมือง นั่งแท็กซี่ยังคุ้มกว่า ยิ่งถ้า 2 คนขึ้นไปยิ่งคุ้มมาก</p>\n<div><img src=\"https://soponpornchokchai.files.wordpress.com/2020/11/63-697.jpg\" alt=\"\" /></div>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เรามาลองดูค่าโดยสารรถไฟฟ้าบีทีเอสว่าควรลดเท่าไหร่</p>\n<ol>\n<li>บีทีเอสมีกำไร กำไรปี 2562-3 (ล้านบาท) จำนวน 8,162.5 ล้านบาท</li>\n<li>ถ้าอัตราเพิ่มของกำไรใน 10 ปีล่าสุด (ดูจากอัตราเพิ่มของผู้ใช้บริการ) ก็อาจเป็น 5.79%</li>\n<li>ดังนั้นกำไรที่คาดว่าจะเป็นในปี 2572 เมื่อหมดสัมปทานช่วงแรก จึงควรเป็น 14,337.2 ล้านบาท</li>\n<li>ประมาณการกำไรเฉพาะส่วนสัมปทานเดิม มีกำไรเป็น 60% ของกำไรทั้งหมด</li>\n<li>กำไรจากเฉพาะสัมปทานเดิม จึงเป็นเงินประมาณ 8,602.34 ล้านบาท</li>\n<li>จำนวนผู้โดยสาร ณ ปี 2562 มี 247.6 ล้านเที่ยว</li>\n<li>จำนวนผู้โดยสารในอีก 10 ปีข้างหน้า ถ้าเพิ่มขึ้น 5.79% ก็น่าจะเป็น 434.9 ล้านเที่ยว</li>\n<li>ถ้าเอา 8,602.34 ล้านมาหารด้วย 434.9 ล้านเที่ยว ก็จะได้เงินคืนแก่ผู้โดยสารทั้งระบบถึง 19.8 บาท หรือราว 20 บาท ณ ปี 2572 นั่นเอง</li>\n<li>แต่ถ้าทอนมาเป็นการลดค่าโดยสารจากในอนาคต ก็อาจลดได้ประมาณ 20 บาทต่อเที่ยวจากปัจจุบัน</li>\n</ol>\n<p><span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กิจการรถไฟฟ้าอาจจะกลายเป็นกิจการผูกขาดในอนาคต สัมปทานก็ไม่รู้จักหมดต่อออกไปเรื่อยๆ ทำให้รัฐหรือภาคประชาชนเสียเปรียบหรือไม่ ต้องไตร่ตรองดู</span></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span style=\"text-decoration: underline;\">การค้นหาจากเว็บ</span></p>\n<p>Manila 15-30 peso (10-20 บาท)&nbsp;<a href=\"https://lrmc.com.ph/light-rail-manila-one/\" target=\"_blank\">https://lrmc.com.ph/light-rail-manila-one/</a></p>\n<p>Kuala Lumpur 0.8-7.2 ringgit (6-53 บาท)<br /><a href=\"https://www.myrapid.com.my/clients/Myrapid_Prasarana_37CB56E7-2301-4302-9B98-DFC127DD17E9/contentms/img/faretable_2017/25072017-FareTable-CashlessTnGo.png\" target=\"_blank\">https://www.myrapid.com.my/clients/Myrapid_Prasarana_37CB56E7-2301-4302-9B98-DFC127DD17E9/contentms/img/faretable_2017/25072017-FareTable-CashlessTnGo.png</a></p>\n<p>Singapore 0.92 - 2.03 (21-46 บาท)&nbsp;<a href=\"https://mrt.sg/fare\" target=\"_blank\">https://mrt.sg/fare</a></p>\n<p>Jakarta 3,000-14,000 rupiah (7-30 บาท)&nbsp;<a href=\"https://jakartaglobe.id/context/jakarta-sets-mrt-ticket-price/\" target=\"_blank\">https://jakartaglobe.id/context/jakarta-sets-mrt-ticket-price/</a></p>\n<p>Tokyo ทั้งวัน 800 yen (233 บาท หากขึ้นไปกลับก็ตกเที่ยวละ 116 ถ้าค่าครองชีพญี่ปุ่นแพงกว่าไทย 4 เท่า ก็เท่ากับ 29 บาทเท่านั้น)&nbsp;<a href=\"https://www.tokyometro.jp/th/ticket/travel/index.html\" target=\"_blank\">https://www.tokyometro.jp/th/ticket/travel/index.html</a></p>\n<p>New York 2.75 USD (83 บาท ถ้าคิดว่าค่าครองชีพไทยต่ำกว่า 4 เท่า ก็เท่ากับ 21 บาทเท่านั้น)&nbsp;<a href=\"https://new.mta.info/fares\" target=\"_blank\">https://new.mta.info/fares</a></p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1716703855, expire = 1716790255, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0bb415106ecb39660394e58b13a84348' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รถไฟฟ้าบีทีเอสน่าจะลดราคาครั้งใหญ่หลังหมดสัมปทาน

รูปภาพของ pornchokchai

ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก.เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส (www.area.co.th) ได้เผยแพร่คลิปเพื่อกระตุ้นว่า “รถไฟฟ้าบีทีเอสน่าจะลดราคาครั้งใหญ่หลังหมดสัมปทาน” ดังรายละเอียดต่อไปนี้:

 

 

           ค่าบริการรถไฟฟ้าบีทีเอสของเราแสนแพงจริงๆ เรามาเปรียบเทียบกันดู และมาดูว่าความจริงควรมีส่วนลดอย่างไรบ้างสำหรับรถไฟฟ้าบีทีเอสในอนาคต

            จากการศึกษาเปรียบเทียบพบว่า

  1. ที่กรุงมะนิลา ค่ารถไฟฟ้าอยู่ที่ 15-30 peso (10-20 บาท)
  2. ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ คิดค่าโดยสาร 0.8-7.2 ringgit (6-53 บาท) แต่กัวลาลัมเปอร์มีค่าครองชีพแพงกว่าไทย ดังนั้นจึงควรมีราคาไม่เกิน 35 บาทเท่านั้น
  3. ที่กรุงจาการ์ตา คิด 3,000-14,000 rupiah (7-30 บาท) หรือถ้าคิดในแง่ค่าครองชีพไทย ราคาก็ไม่เกิน 25 บาทต่อเที่ยว
  4. ที่สิงคโปร์ ค่าบริการตก 0.92 - 2.03 ดอลลาร์สิงคโปร์ (21-46 บาท) แต่สิงคโปร์มีค่าครองชีพมากกว่าเรา 3 เท่า ก็คงเป็นเงินไม่เกินเที่ยวละ 18 บาท
  5. ที่กรุงโตเกียว ตั๋ววันคิด 800 yen (233 บาท หากขึ้นไปกลับก็ตกเที่ยวละ 116 ถ้าค่าครองชีพญี่ปุ่นแพงกว่าไทย 4 เท่า ก็เท่ากับ 29 บาทเท่านั้น) ก็ถูกกว่าไทยอีกแล้ว
  6. ที่นครนิวยอร์ก ค่าโดยสารประมาณ 2.75 USD (83 บาท ถ้าคิดว่าค่าครองชีพไทยต่ำกว่า 4 เท่า ก็เท่ากับ 21 บาทเท่านั้น) ซึ่งก็ยังถูกกว่าไทยอยู่ดี และยังนั่งได้ทั้งรถเมล์อีกต่างหาก
     

            ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าค่าโดยสารบีทีเอส “แพงหูฉี่” จริงๆ เทียบกับรถประจำทางแล้วแพงกว่ากันหลายเท่า ถ้านั่งแท็กซี่จากสนามบินสุวรรณภูมิเข้าเมือง นั่งแท็กซี่ยังคุ้มกว่า ยิ่งถ้า 2 คนขึ้นไปยิ่งคุ้มมาก

 

            เรามาลองดูค่าโดยสารรถไฟฟ้าบีทีเอสว่าควรลดเท่าไหร่

  1. บีทีเอสมีกำไร กำไรปี 2562-3 (ล้านบาท) จำนวน 8,162.5 ล้านบาท
  2. ถ้าอัตราเพิ่มของกำไรใน 10 ปีล่าสุด (ดูจากอัตราเพิ่มของผู้ใช้บริการ) ก็อาจเป็น 5.79%
  3. ดังนั้นกำไรที่คาดว่าจะเป็นในปี 2572 เมื่อหมดสัมปทานช่วงแรก จึงควรเป็น 14,337.2 ล้านบาท
  4. ประมาณการกำไรเฉพาะส่วนสัมปทานเดิม มีกำไรเป็น 60% ของกำไรทั้งหมด
  5. กำไรจากเฉพาะสัมปทานเดิม จึงเป็นเงินประมาณ 8,602.34 ล้านบาท
  6. จำนวนผู้โดยสาร ณ ปี 2562 มี 247.6 ล้านเที่ยว
  7. จำนวนผู้โดยสารในอีก 10 ปีข้างหน้า ถ้าเพิ่มขึ้น 5.79% ก็น่าจะเป็น 434.9 ล้านเที่ยว
  8. ถ้าเอา 8,602.34 ล้านมาหารด้วย 434.9 ล้านเที่ยว ก็จะได้เงินคืนแก่ผู้โดยสารทั้งระบบถึง 19.8 บาท หรือราว 20 บาท ณ ปี 2572 นั่นเอง
  9. แต่ถ้าทอนมาเป็นการลดค่าโดยสารจากในอนาคต ก็อาจลดได้ประมาณ 20 บาทต่อเที่ยวจากปัจจุบัน

            กิจการรถไฟฟ้าอาจจะกลายเป็นกิจการผูกขาดในอนาคต สัมปทานก็ไม่รู้จักหมดต่อออกไปเรื่อยๆ ทำให้รัฐหรือภาคประชาชนเสียเปรียบหรือไม่ ต้องไตร่ตรองดู

 

การค้นหาจากเว็บ

Manila 15-30 peso (10-20 บาท) https://lrmc.com.ph/light-rail-manila-one/

Kuala Lumpur 0.8-7.2 ringgit (6-53 บาท)
https://www.myrapid.com.my/clients/Myrapid_Prasarana_37CB56E7-2301-4302-9B98-DFC127DD17E9/contentms/img/faretable_2017/25072017-FareTable-CashlessTnGo.png

Singapore 0.92 - 2.03 (21-46 บาท) https://mrt.sg/fare

Jakarta 3,000-14,000 rupiah (7-30 บาท) https://jakartaglobe.id/context/jakarta-sets-mrt-ticket-price/

Tokyo ทั้งวัน 800 yen (233 บาท หากขึ้นไปกลับก็ตกเที่ยวละ 116 ถ้าค่าครองชีพญี่ปุ่นแพงกว่าไทย 4 เท่า ก็เท่ากับ 29 บาทเท่านั้น) https://www.tokyometro.jp/th/ticket/travel/index.html

New York 2.75 USD (83 บาท ถ้าคิดว่าค่าครองชีพไทยต่ำกว่า 4 เท่า ก็เท่ากับ 21 บาทเท่านั้น) https://new.mta.info/fares

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 234 คน กำลังออนไลน์