• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ คุณครูเดือนฉาย หนูแสนดี ง31101 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 ภาคเรียนที่ 1/2554', 'node/100081', '', '3.19.67.5', 0, 'e384f25effe860746ab7f977c481439f', 2669, 1716494133) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:cf5007513ff0ecedf83b195c3eb537e3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ต้นไม้มีมูลค่าทั้งต้นไม้ยักษ์ใจกลางเมือง และทรัพยากรป่าไม้ทั้งป่า โดยเฉพาะต้นไม้ขนาดใหญ่ที่อยู่ในเมืองมีค่ามากกว่าที่คิด ป่าเขาจะประเมินค่าอย่างไร เป็นสิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องต้องทราบ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในกรุงเทพมหานคร มีต้นไม้ขนาดใหญ่นับพันต้น&nbsp; และที่ผ่านมาเคยมีการจัดประกวดต้นไม้ยักษ์ โดยกลุ่มโซเชียลมีเดีย “บิ๊กทรี” (BigTrees Project) ร่วมกันหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นหลายแห่ง&nbsp; และปรากฏว่ามีต้นไม้ที่ชนะการประกวด เช่น ต้นไม้ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพมหานคร (มีเส้นรอบวงตั้งแต่ 2 เมตรขึ้นไป) รางวัลชนะเลิศ&nbsp; คือต้น “ไทรย้อย” (ขนาดเส้นรอบวง 16.5 เมตร) ในโรงเรียนพระรามหกเทคโนโลยี ถนนจรัญสนิทวงศ์ เขตบางพลัด ส่วนรองชนะเลิศอันดับ 1 คือ “ต้นกร่าง” (ขนาดเส้นรอบวง 15.67 เมตร) ตั้งอยู่ในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ถนนเจริญกรุง ซอยเจริญกรุง 57 และรองชนะเลิศอันดับ 2 ต้นไทร (ขนาดเส้นรอบวง 13.77 เมตร) ขึ้นอยู่บนเชิงสะพานบางขุนเทียน ถนนจอมทอง</p>\n<div id=\"bannerPressID\" class=\"no-print col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12\">\n<div class=\"embed-responsive embed-responsive-16by9\"><iframe src=\"https://www.area.co.th/thai/area_announce/__area_press_popup_placebody_2_1.php?get=[0,20]\" scrolling=\"no\" width=\"320\" height=\"240\"></iframe></div>\n</div>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประเภทที่ 2 ต้นไม้ที่สูงสุดในกรุงเทพมหานคร ชนะเลิศ คือ “ต้นยางนา” (สูง 33.24 เมตร) อยู่ในพื้นที่ของโรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดน้อยใน) ในพระราชูปถัมภ์ฯ แขวงตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน ส่วนรองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ “ต้นโพธิ์” (สูง 30.18 เมตร) สถานที่ตั้งอยู่ในสุดซอยมังกร 2 ถนนมังกร&nbsp; เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และรองชนะเลิศอันดับ 2 คือ “ต้นสมพง” (สูง 30.03 เมตร) อยู่ในโรงแรมสวิสโฮเต็ล ปาร์คนายเลิศ ถนนวิทยุ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประเภทที่ 3 ต้นไม้ที่สมบูรณ์สุดในกรุงเทพมหานคร โดยวัดจากโหวตในสังคมออนไลน์ ปรากฏว่า “ต้นประดู่”&nbsp;&nbsp; ในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย&nbsp; ในซอยเจริญกรุง 57 ถนนเจริญกรุง คว้ารางวัลชนะเลิศด้วยผลโหวต 828 คะแนน และ “ต้นมะฮอกกานี” ในถนนหลัก หมู่บ้านนวธานี ถนนเสรีไทย เขตบึงกุ่ม ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ&nbsp;&nbsp; ด้วยคะแนน 229 คะแนน และ “ต้นจามจุรี” ในบ้านเลขที่ 212 ซอยรามอินทรา 46 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ส่วน “ต้นไทร” บริเวณปากซอยวิภาวดี 29 ริมทางคู่ขนานวิภาวดีรังสิตคว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับประเภทที่ 4 ต้นไม้ทรงคุณค่าที่สุดในกรุงเทพมหานคร ที่คัดเลือกโดยการโหวตเช่นกันคือ “ต้นไกร” ในธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย ถนนโยธา ได้รางวัลชนะเลิศ และ “ต้นโพธิ์” บริเวณหน้าธนาคารไทยพาณิชย์ สำนักงานใหญ่ (รัชโยธิน) ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ขณะที่ต้นไทรในสวนวชิรเบญจทัศหรือสวนรถไฟ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ต้นไม้ในเมืองเหล่านี้ไม่ได้มีมูลค่าจาการขายเนื้อไม้ หรือผลิตผลจากไม้ (เช่น ยางไม้) เพราะมูลค่าเหล่านี้มีไม่มากนัก เช่น&nbsp; ถ้าต้นยางนาสูง 33 เมตร เมื่อริดกิ่งแล้วสมมติเหลือลำต้นยาว 25 เมตร มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง สมมติมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 เมตร จะได้ปริมาณเนื้อไม้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; = (22/7 * r ยกกำลัง 2) * ความยาว</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; = (22/7 * 1.5 *1.5 * 25)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; = 176.7857 ลบ.ม.</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ถ้าราคาหน้าโรงงาน สมมติเป็นเงินตันละ 2,400 บาท ราคาต้นยางนายักษ์ ก็จะเป็นเงิน 424,286 บาท และเมื่อหักค่าแรงทำไม้ประมาณ 30% ก็จะเป็นเงินสุทธิประมาณ 297,000 บาท</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ตามต้นยางนายักษ์ในเมืองมีมูลค่ามากกว่านั้น เพราะยังมีมูลค่าจาก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. การให้เข้าชม ซึ่งเป็นรายได้ทางหนึ่ง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. การเช่าใช้สถานที่ เช่น การถ่ายทำละคร</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. รายได้เกี่ยวเนื่อง เช่น การวิจัย การขายสินค้าและบริการในพื้นที่</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. การใช้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เช่น การสร้างอาคารให้สอดรับกับต้นไม้นั้นๆ ซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่าของอาคารให้สูงกว่าปกติ เป็นต้น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5. การมีส่วนเกื้อหนุน (Contribution) ต่อ (วิสาหกิจ) เจ้าของสถานที่ที่ครอบครอบต้นไม้นี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับป่าผืนหนึ่งมีมูลค่าเท่าไหร่ จะประเมินค่าเป็นตัวเงินได้อย่างไรบ้าง การประเมินนี้มีไว้เพื่อการวางแผนการจัดการป่าไม้เป็นสำคัญนั้น ในประเทศไทย และในต่างประเทศมีการศึกษาเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าป่าไม้เพื่อการวางแผนการจัดการทรัพยากรป่าไม้ เช่นทางองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ หรือทางราชการของญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อาจกล่าวได้ว่า มูลค่าของทรัพยากรป่าไม้มาจากมูลค่าของสิ่งที่สามารถซื้อ-ขายได้โดยตรง อันได้แก่</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. ต้นไม้ (เช่น การขุดล้อมต้นไม้) เนื้อไม้ที่ใช้ในเชิงพาณิชย์ เช่น เป็นวัสดุก่อสร้าง หรือใช้เพื่อการเฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. ของป่าที่จะหาได้จากป่าไม้นั้นๆ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. สัตว์ป่า</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. รายได้จากการท่องเที่ยวที่เกี่ยวกับป่าไม้ รวมทั้งที่พัก ที่สันทนาการ ประชุมสัมมนาในพื้นที่เขตป่าหรือเขตอุทยานแห่งชาติ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นอกจากนี้ยังมีมูลค่าของทรัพย์สินในกรณีของการดำรงอยู่ของป่าไม้ เช่น ป่าไม้ช่วยป้องกันพายุ โดยวัดจากความเสียหายหากไม่มีป่าไม้ การป้องกันการพังทลายของดิน การดูดซับแก๊สพิษต่างๆ&nbsp; การเป็นแหล่งต้นน้ำของสายธารหรือแม่น้ำลำคลองต่างๆ&nbsp;&nbsp; ถ้าขาดป่าไม้ผืนนี้จะทำให้เกิดความเสียหายประการใดบ้าง ซึ่งสามารถตีค่าเป็นจำนวนเงิน เพื่อการวัดคุณค่าของป่าไม้นั้นๆ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ตามในการวัดค่าจริงๆ บางครั้งอาจไม่มีข้อมูลราคาซื้อขายจริง ก็อาจสมมติเป็นราคาซื้อขายสินค้าที่เทียบเคียงกันได้ เช่น ถ้าไม่มีไม้ อาจต้องใช้พลาสติกแทน หรือวัสดุก่อสร้างอื่น หรือถ้าไม่มีข้อมูลตลาดของการซื้อขาย ก็อาจใช้ต้นทุนการก่อร่างสร้างป่า ลบด้วยมูลค่าที่พึงได้ หรืออาจพิจารณาถึงปัจจัยอื่นๆ&nbsp; ที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณีของป่าแต่ละพื้นที่และป่าแต่ละประเภท&nbsp; ผู้ประเมินค่าต้นไม้ใหญ่หรือกระทั่งทรัพยากรป่าไม้จึงต้องสำรวจข้อมูลให้ชัดเจนจากแหล่งต่างๆ ให้ครอบคลุมให้มากที่สุดและอาศัยเครื่องมือทางการเงินมาทำการวิเคราะห์ต่อไป</p>\n<p><span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ต้นไม้และป่าไม้มีมูลค่าอเนกอนันต์ สามารถตีค่าเป็นเงินได้เสมอ</span></p>\n<div><span>ที่มา</span><span>:&nbsp;<a href=\"http://pixabay.com/th/photos/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89-%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B0-%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87-1122363/\">pixabay.com/th/photos/ต้นไม้-สวนสาธารณะ-ในเมือง-1122363/</a><br /><img src=\"https://bongphotoblog.files.wordpress.com/2020/09/63-582.jpg\" alt=\"\" /></span></div>\n', created = 1716494150, expire = 1716580550, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:cf5007513ff0ecedf83b195c3eb537e3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การประเมินค่าต้นไม้ยักษ์ในเมืองและทรัพยากรป่าไม้

รูปภาพของ pornchokchai

            ต้นไม้มีมูลค่าทั้งต้นไม้ยักษ์ใจกลางเมือง และทรัพยากรป่าไม้ทั้งป่า โดยเฉพาะต้นไม้ขนาดใหญ่ที่อยู่ในเมืองมีค่ามากกว่าที่คิด ป่าเขาจะประเมินค่าอย่างไร เป็นสิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องต้องทราบ

            ในกรุงเทพมหานคร มีต้นไม้ขนาดใหญ่นับพันต้น  และที่ผ่านมาเคยมีการจัดประกวดต้นไม้ยักษ์ โดยกลุ่มโซเชียลมีเดีย “บิ๊กทรี” (BigTrees Project) ร่วมกันหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นหลายแห่ง  และปรากฏว่ามีต้นไม้ที่ชนะการประกวด เช่น ต้นไม้ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพมหานคร (มีเส้นรอบวงตั้งแต่ 2 เมตรขึ้นไป) รางวัลชนะเลิศ  คือต้น “ไทรย้อย” (ขนาดเส้นรอบวง 16.5 เมตร) ในโรงเรียนพระรามหกเทคโนโลยี ถนนจรัญสนิทวงศ์ เขตบางพลัด ส่วนรองชนะเลิศอันดับ 1 คือ “ต้นกร่าง” (ขนาดเส้นรอบวง 15.67 เมตร) ตั้งอยู่ในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ถนนเจริญกรุง ซอยเจริญกรุง 57 และรองชนะเลิศอันดับ 2 ต้นไทร (ขนาดเส้นรอบวง 13.77 เมตร) ขึ้นอยู่บนเชิงสะพานบางขุนเทียน ถนนจอมทอง

            ประเภทที่ 2 ต้นไม้ที่สูงสุดในกรุงเทพมหานคร ชนะเลิศ คือ “ต้นยางนา” (สูง 33.24 เมตร) อยู่ในพื้นที่ของโรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดน้อยใน) ในพระราชูปถัมภ์ฯ แขวงตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน ส่วนรองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ “ต้นโพธิ์” (สูง 30.18 เมตร) สถานที่ตั้งอยู่ในสุดซอยมังกร 2 ถนนมังกร  เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และรองชนะเลิศอันดับ 2 คือ “ต้นสมพง” (สูง 30.03 เมตร) อยู่ในโรงแรมสวิสโฮเต็ล ปาร์คนายเลิศ ถนนวิทยุ

            ประเภทที่ 3 ต้นไม้ที่สมบูรณ์สุดในกรุงเทพมหานคร โดยวัดจากโหวตในสังคมออนไลน์ ปรากฏว่า “ต้นประดู่”   ในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย  ในซอยเจริญกรุง 57 ถนนเจริญกรุง คว้ารางวัลชนะเลิศด้วยผลโหวต 828 คะแนน และ “ต้นมะฮอกกานี” ในถนนหลัก หมู่บ้านนวธานี ถนนเสรีไทย เขตบึงกุ่ม ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ   ด้วยคะแนน 229 คะแนน และ “ต้นจามจุรี” ในบ้านเลขที่ 212 ซอยรามอินทรา 46 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ส่วน “ต้นไทร” บริเวณปากซอยวิภาวดี 29 ริมทางคู่ขนานวิภาวดีรังสิตคว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2

            สำหรับประเภทที่ 4 ต้นไม้ทรงคุณค่าที่สุดในกรุงเทพมหานคร ที่คัดเลือกโดยการโหวตเช่นกันคือ “ต้นไกร” ในธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย ถนนโยธา ได้รางวัลชนะเลิศ และ “ต้นโพธิ์” บริเวณหน้าธนาคารไทยพาณิชย์ สำนักงานใหญ่ (รัชโยธิน) ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ขณะที่ต้นไทรในสวนวชิรเบญจทัศหรือสวนรถไฟ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2

            ต้นไม้ในเมืองเหล่านี้ไม่ได้มีมูลค่าจาการขายเนื้อไม้ หรือผลิตผลจากไม้ (เช่น ยางไม้) เพราะมูลค่าเหล่านี้มีไม่มากนัก เช่น  ถ้าต้นยางนาสูง 33 เมตร เมื่อริดกิ่งแล้วสมมติเหลือลำต้นยาว 25 เมตร มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง สมมติมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 เมตร จะได้ปริมาณเนื้อไม้

            = (22/7 * r ยกกำลัง 2) * ความยาว

            = (22/7 * 1.5 *1.5 * 25)

            = 176.7857 ลบ.ม.

            ถ้าราคาหน้าโรงงาน สมมติเป็นเงินตันละ 2,400 บาท ราคาต้นยางนายักษ์ ก็จะเป็นเงิน 424,286 บาท และเมื่อหักค่าแรงทำไม้ประมาณ 30% ก็จะเป็นเงินสุทธิประมาณ 297,000 บาท

            อย่างไรก็ตามต้นยางนายักษ์ในเมืองมีมูลค่ามากกว่านั้น เพราะยังมีมูลค่าจาก

            1. การให้เข้าชม ซึ่งเป็นรายได้ทางหนึ่ง

            2. การเช่าใช้สถานที่ เช่น การถ่ายทำละคร

            3. รายได้เกี่ยวเนื่อง เช่น การวิจัย การขายสินค้าและบริการในพื้นที่

            4. การใช้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เช่น การสร้างอาคารให้สอดรับกับต้นไม้นั้นๆ ซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่าของอาคารให้สูงกว่าปกติ เป็นต้น

            5. การมีส่วนเกื้อหนุน (Contribution) ต่อ (วิสาหกิจ) เจ้าของสถานที่ที่ครอบครอบต้นไม้นี้

            สำหรับป่าผืนหนึ่งมีมูลค่าเท่าไหร่ จะประเมินค่าเป็นตัวเงินได้อย่างไรบ้าง การประเมินนี้มีไว้เพื่อการวางแผนการจัดการป่าไม้เป็นสำคัญนั้น ในประเทศไทย และในต่างประเทศมีการศึกษาเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าป่าไม้เพื่อการวางแผนการจัดการทรัพยากรป่าไม้ เช่นทางองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ หรือทางราชการของญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา

            อาจกล่าวได้ว่า มูลค่าของทรัพยากรป่าไม้มาจากมูลค่าของสิ่งที่สามารถซื้อ-ขายได้โดยตรง อันได้แก่

            1. ต้นไม้ (เช่น การขุดล้อมต้นไม้) เนื้อไม้ที่ใช้ในเชิงพาณิชย์ เช่น เป็นวัสดุก่อสร้าง หรือใช้เพื่อการเฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น 

            2. ของป่าที่จะหาได้จากป่าไม้นั้นๆ

            3. สัตว์ป่า

            4. รายได้จากการท่องเที่ยวที่เกี่ยวกับป่าไม้ รวมทั้งที่พัก ที่สันทนาการ ประชุมสัมมนาในพื้นที่เขตป่าหรือเขตอุทยานแห่งชาติ

            นอกจากนี้ยังมีมูลค่าของทรัพย์สินในกรณีของการดำรงอยู่ของป่าไม้ เช่น ป่าไม้ช่วยป้องกันพายุ โดยวัดจากความเสียหายหากไม่มีป่าไม้ การป้องกันการพังทลายของดิน การดูดซับแก๊สพิษต่างๆ  การเป็นแหล่งต้นน้ำของสายธารหรือแม่น้ำลำคลองต่างๆ   ถ้าขาดป่าไม้ผืนนี้จะทำให้เกิดความเสียหายประการใดบ้าง ซึ่งสามารถตีค่าเป็นจำนวนเงิน เพื่อการวัดคุณค่าของป่าไม้นั้นๆ

            อย่างไรก็ตามในการวัดค่าจริงๆ บางครั้งอาจไม่มีข้อมูลราคาซื้อขายจริง ก็อาจสมมติเป็นราคาซื้อขายสินค้าที่เทียบเคียงกันได้ เช่น ถ้าไม่มีไม้ อาจต้องใช้พลาสติกแทน หรือวัสดุก่อสร้างอื่น หรือถ้าไม่มีข้อมูลตลาดของการซื้อขาย ก็อาจใช้ต้นทุนการก่อร่างสร้างป่า ลบด้วยมูลค่าที่พึงได้ หรืออาจพิจารณาถึงปัจจัยอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณีของป่าแต่ละพื้นที่และป่าแต่ละประเภท  ผู้ประเมินค่าต้นไม้ใหญ่หรือกระทั่งทรัพยากรป่าไม้จึงต้องสำรวจข้อมูลให้ชัดเจนจากแหล่งต่างๆ ให้ครอบคลุมให้มากที่สุดและอาศัยเครื่องมือทางการเงินมาทำการวิเคราะห์ต่อไป

            ต้นไม้และป่าไม้มีมูลค่าอเนกอนันต์ สามารถตีค่าเป็นเงินได้เสมอ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 228 คน กำลังออนไลน์