• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5e8ec4935449ccafc7d216c562214b0a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong></strong></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u7479/yoghurt2.jpg\" height=\"199\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มาของภาพ  <a href=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\">http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong>โรคแพ้นมวัว...คืออะไร</strong> </span> <span style=\"background-color: #ffff00\"><br />\n</span> โรคแพ้นมวัว หรือ Cow’s Milk Allergy เกิดจากการที่ระบบภูมิคุ้มกันของเด็กเกิดความผิดปกติ โดยจะมีปฏิกิริยาต่อโปรตีนที่เป็นส่วนประกอบในนมวัว ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้ในเด็กทารก<br />\nซึ่งการแพ้นมวัวสามารถเกิดได้ทั้งในเด็กที่กินนมแม่อย่างเดียว หรือเด็กที่กินนมผงดัดแปลงสำหรับทารกตั้งแต่แรกเกิด โดยในเด็กที่กินนมแม่สามารถแพ้นมวัวได้จากการที่แม่ดื่มนมวัวหรือรับประทานอาหารที่มีส่วนผสมของผลิตภัณฑ์จากนม จึงมีโปรตีนนมวัวผสมออกมาในน้ำนมแม่ ซึ่งจะไปกระตุ้นให้ลูกเกิดอาการแพ้นมได้ \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong> อาการแพ้นมวัว...พบบ่อยแค่ไหน</strong></span> <br />\n ในบรรดาเด็กๆ ที่แพ้อาหาร โรคแพ้นมวัวเป็นปัญหาที่พบบ่อยที่สุด โดยมีรายงานว่า พบเด็กที่มีอาการแพ้นมวัวประมาณ 5-7% ของเด็กทั้งหมด ซึ่งเด็กๆ ส่วนใหญ่จะหายจากโรคนี้ และสามารถกลับมากินนมวัวได้เกือบทุกคน ทั้งนี้มีเด็กที่แพ้นมวัวเพียงจำนวนน้อยที่โตแล้วก็ยังกินนมวัวไม่ได้\n</p>\n<p>\n <span style=\"background-color: #ffff00\"><strong>อาการแพ้แบบไหน...ที่คุณต้องใส่ใจ</strong></span>\n</p>\n<p>\nแพ้นมวัวแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ\n</p>\n<p>\nการแพ้แบบปฏิกิริยาไอจีอี (IgE mediated type) คือ เมื่อเด็กได้รับนมวัวเข้าไป โปรตีนจากนมวัวจะกระตุ้นให้มีการสร้างภูมิคุ้มกันไอจีอีขึ้นในร่างกาย ทำให้เกิดอาการของโรคภูมิแพ้ตามมา เช่น ผื่นแพ้ ลมพิษ บวม ไอจาม หอบ หืด ช็อก เป็นต้น <br />\nการแพ้แบบปฏิกิริยาที่ไม่ผ่านไอจีอี (Non-IgE mediated type) คือ เมื่อเด็กได้รับโปรตีนจากนมวัวโปรตีนดังกล่าวจะไปกระตุ้นเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันทำให้ร่างกายเกิดอาการแพ้ เช่น ผื่นแพ้ ตุ่มแดง ปวดท้องเป็นๆ หายๆ อาเจียน ท้องร่วง เป็นต้น <br />\n  <br />\n<strong><span style=\"background-color: #ffff00\">สาเหตุไหน...ทำให้ลูกแพ้นมวัว</span> <br />\n</strong> อาการแพ้นมวัวเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุด้วยกัน เช่น...\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">พันธุกรรม</span> พบว่า เด็กที่มีพ่อหรือแม่ที่มีประวัติเป็นโรคภูมิแพ้ จะมีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคแพ้นมวัวด้วย <br />\nระบบทางเดินอากรหรือลำไส้ยังมีการพัฒนาไม่สมบูรณ์ ทำให้โปรตีนนมวัวซึ่งมีขนาดใหญ่ผ่านเข้าไปในระบบหมุนเวียนเลือด ก่อให้เกิดอาการแพ้ หรืออาจเกิดจากการที่ร่างกายของเด็กขาดเอ็นไซม์ ทำให้ไม่สามารถย่อยน้ำตาลแลกโตสได้ เมื่อกินนมที่มีน้ำตาลแลกโตส จึงยิ่งทำให้มีอาการท้องเสียมากขึ้น <br />\n<span style=\"color: #ff0000\">ระบบภูมิคุ้มกันของเด็กเกิดความผิดปกติ</span> <br />\nขณะตั้งครรภ์คุณแม่อาจดื่มนมวัวในปริมาณที่มากกว่าปกติ โปรตีนในนมวัวจึงอาจไปกระตุ้นให้ลูกเริ่มมีการแพ้นมวัวได้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ <br />\nช่วงหลังคลอด คุณแม่ดื่มนมวัวหรือรับประทานอาหารที่มีนมวัวเป็นส่วนผสม รวมถึงผลิตภัณฑ์จากนมวัว ในปริมาณที่มาก ทำให้ลูกน้อยได้รับโปรตีนจากนมวัวด้วย เนื่องจากโปรตีนในนมวัวสามารถผ่านทางน้ำนมแม่ไปสู่ลูกน้อยได้ จากการศึกษาพบว่า แม่ที่ดื่มนมวัว 53-63 ราย ในจำนวน 100 ราย จะตรวจพบโปรตีนนมวัวในน้ำนมแม่หลังดื่มนมวัว 1-6 ชั่วโมง ดังนั้น เมื่อลูกกินนมแม่ที่มีโปรตีนนมวัวปะปนอยู่ ก็อาจไปกระตุ้นให้ลูกเกิดอาการแพ้นมวัวได้ <br />\n<span style=\"color: #ff0000\">การให้ลูกหย่านมแม่เร็วกว่ากำหนด</span> ก็อาจมีผลทำให้ลุกแพ้โปรตีนนมวัวได้เช่นกัน เนื่องจากนมแม่มีคุณสมบัติช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับลูก ที่สำคัญยังมีกลไกช่วยป้องกันการแพ้อาหาร อ้างอิงข้อมูล <a href=\"http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php\" title=\"http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php\">http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\n <span style=\"background-color: #ffff00\"><strong>สังเกตอาการผิดปกติเมื่อเกิดอาการแพ้นมวัวได้ดังนี้</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">ทางผิวหนัง</span></span> คือ เกิดผื่นผิวหนังอักเสบขึ้นตามร่างกาย เช่น บริเวณคอ ข้อพับ ขาพับ โดยลักษณะผื่นจะมีหลากหลายรูปแบบ เช่น ผื่นแดงเหมือนลมพิษ ผื่นแดงไม่มีตุ่มใส หรือผื่นภูมิแพ้ มีอาการคันเป็นๆ หายๆ อย่างเรื้อรัง <br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">ทางระบบหายใจ</span></span> เด็กที่แพ้นมวัวอาจมีอาการทางเดินหายใจติดขัด มีเสมหะมากในคอและหลอดลม ทำให้ลูกหายใจเสียงดังครืดคราดเป็นๆ หายๆ ทั้งยังหอบเหนื่อยเป็นประจำ ไอจาม คัดจมูก น้ำมูกไหล ฯลฯ <br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">ทางเดินอาหาร</span></span> อาจะเกิดอาการปวดท้อง ท้องเสีย ท้องผูก ท้องร่วงแบบเรื้อรัง ถ่ายมีเลือดปน หรืออาจมีอาการถ่ายเหลวร่วมด้วย <br />\nร้องกวนงอแง ไม่ค่อยยอมกินนมโดยไม่ทราบสาเหตุ น้ำหนักตัวขึ้นช้า การเจริญเติบโตไม่รุดหน้า ซีดและอ่อนเพลีย<br />\nทั้งนี้ อาการข้างต้นอาจเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน หรืออาจมีอาการเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">นอกจากนี้ยังมีอาการแพ้นมวัวอย่างรุนแรง ในทางการแพทย์เรียกว่า อนาฟัยแลกซิส (Anaphylaxis) ซึ่งพบได้น้อยมากแต่มีอันตรายถึงแก่ชีวิต โดยเด็กจะมีอาการหน้าบวม ปากบวม ลิ้นบวม หลังได้รับโปรตีนจากนมวัวทันที และอาจเกิดผื่นลมพิษ อาเจียน ท้องร่วง หอบ หืด ช็อกและชักตามมาอย่างรวดเร็ว ซึ่งหากรักษาไม่ทันอาจทำให้เด็กเสียชีวิตได้</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff00\">จะรู้ได้อย่างไร...ว่าลูกแพ้นมวัว</span> <br />\n</strong> หากสังเกตเห็นว่าลูกมีการต่างๆ เช่น <span style=\"color: #ff0000\">เป็นผื่นแดง ไอจาม น้ำมูกไหล ท้องเสียเรื้อรัง ร้องไห้งอแง ฯลฯ หลังจากกินนมวัว</span> นั่นอาจเป็นสัญญาณว่าลูกมีอาการแพ้นมวัวเข้าให้แล้ว คุณแม่อาจรักษาตามอาการก่อน เช่น หากลูกมีผื่นคันก็ให้เช็ดตัวด้วยน้ำเย็น และอย่าให้ลูกเกาบริเวณผื่นแดงนั้น เพราะจะยิ่งทำให้ผื่นแพ้ลุกลามได้\n</p>\n<p>\nจากนั้นคุณแม่ควรพาไปปรึกษากุมารแพทย์หรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับโรคภูมิแพ้ เพื่อทำการตรวจและวินิจฉัยโรค เช่น การตรวจหา IgE ต่อโปรตีนในนมวัว ด้วยวิธีการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังหรือการตรวจเลือด เพื่อให้ทราบแน่ชัดว่าลูกแพ้โปรตีนจากนมวัวหรือไม่ จะได้หาแนวทางในการรักษาอย่างถูกวิธีต่อไป\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff00\">เช็คกันหน่อย...ลูกน้อยเสี่ยงเป็นโรคแพ้นมวัวหรือไม่</span></strong><br />\nหากไม่แน่ใจว่าลูกน้อยอยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคแพ้นมวัวหรือไม่ คุณพ่อคุณแม่ลองตอบปัญหาดังต่อไปนี้ดู เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการรับมือและป้องกันอาการแพ้ได้...\n</p>\n<p>\n<br />\n1. คุณพ่อคุณแม่มีประวัติเป็นโรคภูมิแพ้ เช่น หอบ หืด แพ้อากาศ แพ้อาหาร <br />\n   ใช่  ไม่ใช่ <br />\n      <br />\n2. คุณพ่อคุณแม่มีลูกคนก่อนที่มีประวัติแพ้นมวัว <br />\n   ใช่  ไม่ใช่ <br />\n      <br />\n3. ขณะตั้งครรภ์คุณแม่ดื่มนมวัวปริมาณมากเป็นประจำ <br />\n   ใช่  ไม่ใช่ <br />\n  <br />\n4. คุณแม่ดื่มนมวัวปริมาณมากเป็นประจำ ขณะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ <br />\n   ใช่  ไม่ใช่ <br />\n      <br />\n5. คุณแม่ให้ลูกกินนมวัวตั้งแต่แรกเกิด <br />\n   ใช่  ไม่ใช่ <br />\n  <br />\n6. คุณแม่ให้ลูกกินนมวัวทันทีตั้งแต่เลิกกินนมแม่ <br />\n   ใช่  ไม่ใช่ <br />\n      <br />\n7. เจ้าตัวเล็กเคยมีประวัติปวดท้อง ร้องกวนแบบโคลิก <br />\n   ใช่  ไม่ใช่ <br />\n      <br />\n8. ลูกรักของคุณแสดงอาการเป็นๆ หายๆ ต่อปัญหาข้างต้น <br />\n   ใช่  ไม่ใช่ <br />\n     \n</p>\n<p>\nหากคำตอบคือ ”ใช่” ในข้อ 8 ร่วมกับ “ใช่” ในข้ออื่นๆ มากกว่า 2 ข้อขึ้นไป ก็มีแนวโน้มว่าลูกน้อยของคุณอาจมีโอกาสที่จะแพ้นมวัวได้มาก คุณพ่อคุณแม่ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อจะได้วินิจฉัยและหาแนวทางรักษาอย่างถูกต้องต่อไป อ้างอิงข้อมูล <a href=\"http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php\" title=\"http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php\">http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php</a>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" /> <img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" /><img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u7479/2470000413.gif\" height=\"345\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มาของภาพ  <a href=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\">http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong>เมื่อลูกแพ้...แม่มีทางออกอย่างไร <br />\n</strong></span>เมื่อลูกมีอาการแพ้นมวัว วิธีที่ดีที่สุดคือให้ลูกงดกินนมวัวและผลิตภัณฑ์ที่มีนมวัวเป็นส่วนประกอบ เช่น <span style=\"color: #ff0000\">เนย ชีส คุกกี้ ช็อกโกแลตนม ฯลฯ</span> ที่สำคัญ ควรให้นมอื่นที่มีสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการในแต่ละช่วงวัยของลูกน้อย เช่น\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">นมถั่วเหลือง</span><br />\n</span>เด็กที่แพ้นมวัวส่วนใหญ่สามารถรับประทานนมถั่วเหลืองได้ โดยคุณแม่ควรเลือกนมถั่วเหลืองชนิดที่มีการพัฒนาสูตรแล้ว (Soy Formula) ซึ่งเป็นนมที่มีสารอาหารจำเป็นครบถ้วน สามารถใช้ทดแทนนมวัวได้ดี<br />\nและมีผลวิจัยทางการแพทย์มากมายยืนยันว่า เด็กที่ได้รับนมถั่วเหลืองที่พัฒนาสูตรแล้ว มีการเจริญเติบโต และพัฒนาการทางร่างกายและสมองอยางต่อเนื่อง ไม่ต่างจากเด็กที่กินนมวัวและสามารถสร้างภูมิคุ้มกันใกล้เคียงกับเด็กที่กินนมแม่ ที่สำคัญลูกน้อยยังได้อิ่มอร่อยกับรสชาตินมถั่วเหลือง ส่วนราคาก็ยังถูกกว่านมชนิดอื่นอีกด้วย\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">นมวัวชนิดที่ผ่านการย่อยอย่างเต็มที่ (Extensively Hydrolyzed Formula)<br />\n</span></span>เป็นนมที่ผ่านกระบวนการลดขนาดโปนตีนนมวัว ทำให้ปริมาณโปรตีนก่อแพ้ในนมวัวลดน้อยลงมาก หรือหมดสภาพการเป็นสารก่อภูมิแพ้ แต่จะมีราคาสูง รสชาติไม่ดี และหาซื้อได้ยาก\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">นมวัวชนิดที่ผ่านการย่อยโปรตีนเพียงบางส่วน (Partially Hydrolyzed Formula)<br />\n</span></span>เป็นนมวัวที่มีการย่อยโปรตีนเพียงบางส่วน โดยอาจมีผลในการป้องกันมากกว่ารักษา และไม่เหมาะสมสำหรับเด็กที่แพ้นมวัว เพราะยังมีโปรตีนขนาดใหญ่ในปริมาณที่สามารถกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ได้ ซึ่งถ้าเลือกนมชนิดนี้ให้ลูกที่มีอาการแพ้นมวัว ก็อาจทำให้อาการภูมิแพ้กำเริบได้ถึง 50%\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">นมพิเศษชนิด Amino Acid Formula</span></span><br />\nเป็นนมสูตรพิเศษที่ใช้กรดอะมิโนเป็นแหล่งของโปรตีน นมชนิดนี้มีข้อดีตรงที่ไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้เลย และรสชาติไม่ดีนัก ที่สำคัญปัจจุบันยังไม่มีจำหน่ายในเมืองไทย <br />\nทั้งนี้การประเมินว่าจะเลือกนมชนิดใดให้ลูก ก็ขึ้นอยู่กับอาการและความรุนแรงของอาการแพ้ของเด็ก ซึ่งคุณหมอจะเป็นผู้แนะนำว่าให้ใช้นมนั้นต่อไปจนกว่าจะหายจากอาการแพ้นมวัว\n</p>\n<p>\nในกรณีที่ลูกวัยแรกคลอดมีอาการแพ้นมวัว ก็สามารถที่จะให้ลูกกลับไปกินนมแม่ได้ โดยควรให้ลูกกินนมแม่อย่างเดียวเป็นเวลาอย่างน้อย 6 เดือน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย ซึ่งจะช่วยลดโอกาสในการเกิดโรคภูมิแพ้ได้\n</p>\n<p>\nอย่างไรก็ตามคุณแม่ที่ให้ลูกกินนมแม่ควรงดเว้นการดื่มนมวัว หรือผลิตภัณฑ์จากนมวัวจำพวกชีส โยเกิร์ต เนยเทียม ไอศกรีม ฯลฯ เพราะโปรตีนจากนมวัวที่คุณแม่ดื่มเข้าไปสามารถผ่านทางน้ำนมแม่ไปสู่ลูก ทำให้ลูกเกิดอาการแพ้ขึ้นได้อีก\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"420\" src=\"/files/u7479/56510.jpg\" height=\"290\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ  <a href=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\">http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm</a>\n</div>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong>หากลูกแพ้...ให้กินนมวัวครั้งละน้อยๆ จะดีขึ้นหรือไม่</strong></span> <br />\n โดยปกติผู้เชี่ยวชาญด้านโรคภูมิแพ้ในเด็กไม่แนะนำให้ใช้วิธีนี้ เพราะนอกจากลูกจะไม่หายจากอาการแพ้แล้ว การให้ลูกกินนมวัวต่อไปเรื่อยๆ เป็นเวลานาน ยิ่งจะเป็นการทำร้ายลำไส้น้อยๆ ของลูก เพราะลำไส้จะเกิดการอักเสบจากปฏิกิริยาแพ้ตลอดเวลา ทางที่ดีควรงดนมวัวทันที เพื่อช่วยให้ลำไส้ทำงานได้ดีขึ้น<br />\n \n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong> ลูกแพ้นมวัว....ให้อาหารเสริมได้หรือไม่</strong></span> <br />\n คุณพ่อคุณแม่ควรชะลอการให้อาหารเสริมไปจนกว่าลูกจะอายุครบ 6 เดือน เพื่อให้กระเพาะอาหารและลำไส้มีพัฒนาการของระบบย่อยอาหารที่สมบูรณ์ และทำงานประสานกันได้ดี พร้อมรับอาหารที่หลากหลายขึ้น ที่สำคัญควรงดการให้นมวัวและอาหารที่มีนมวัวเป็นส่วนผสมไปจนอายุครบ 1 ปี และควรงดการให้ไข่และอาหารที่มีไข่เป็นส่วนประกอบไปจนอายุครบ 2 ปี\n</p>\n<p>\nมีการศึกษาพบว่า ถ้าจะป้องกันภูมิแพ้หลังคลอด การให้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน (Exclusive Breast feeding) จะช่วยลดโอกาสเกิดผื่นภูมิแพ้ และแพ้อาหารได้ เพราะลูกน้อยจะไม่ได้รับโปรตีนแปลกปลอมจากสัตว์อื่นมากระตุ้นให้เกิดภูมิแพ้\n</p>\n<p>\nนอกจากนมแม่แล้ว งานวิจัยในต่างประเทศยังพบว่า เด็กที่เริ่มอาหารเสริมเร็ว และกินหลากหลายชนิด จะเป็นกลุ่มที่แพ้อาหารได้มากกว่ากลุ่มที่เริ่มอาหารเสริมช้า เพราะเด็กยังมีข้อจำกัดในการย่อยและสลายโปรตีนแปลกปลอม มีช่องว่างระหว่างเซลล์เยื่อบุทางเดินอาหารกว้างกว่าปกติ และภูมิคุ้มกันบริเวณเยื่อบุลำไส้ ที่คอยดักจับสารแปลกปลอมยังพัฒนาไม่เต็มที่ ทำให้โปรตีนแปลกปลอมมีโอกาสหลุดเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย<br />\nอ้างอิงข้อมูล <a href=\"http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php\" title=\"http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php\">http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php</a>  </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff00\">อาหารแบบไหน...เด็กแพ้นมวัวต้องเลี่ยง</span> <br />\n</strong> อาการแพ้นมวัวไม่ได้เกิดจากการกินนมวัวเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นจากการรับประทานอาหารที่มีนมวัวเป็นส่วนประกอบด้วย ดังนั้น นอกจากจะต้องเลือกนมที่เหมาะสมแล้ว ในอาหารเสริมของลูกจึงควรหลีกเลี่ยงอาหารที่จะไปกระตุ้นให้เกิดการแพ้ เช่น\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">อาหารจำพวกชีส โยเกิร์ต ไอศกรีม เนย เนยเทียม ช็อคโกแลตนม</span></span> เป็นต้น เนื่องจากอาหารเหล่านี้มีนมวัวเป็นส่วนผสม หากนำมาเป็นส่วนประกอบในอาหารเสริมหรือให้เด็กที่แพ้นมวัวรับประทานเข้าไป อาจกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ได้ <br />\nอาหารทะเลหรือไข่ เพราะอาหารเหล่านี้อาจกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ได้เช่นกัน <br />\n \n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong> แพ้นมวัว...กินเนื้อวัวได้หรือไม่</strong></span> <br />\n คุณแม่หลายท่านอาจสงสัยว่าเด็กที่แพ้นมวัวจะแพ้เนื้อวัวด้วยหรือไม่ ความจริงแล้วโปรตีนจากเนื้อวัวและโปรตีนจากนมวัวเป็นโปรตีนคนละชนิดกัน ดังนั้นเด็กที่แพ้นมวัวจึงสามารถรับประทานเนื้อวัวได้ โดยคุณแม่ต้องนำเนื้อวัวมาปรุงให้สุกทุกครั้งก่อนให้ลูกรับประทาน<br />\n \n</p>\n<p>\n <strong><span style=\"background-color: #ffff00\">แพ้นมวัว...กินนมแพะได้หรือไม่</span></strong> <br />\n จากสถิติทางการแพทย์พบว่า 50-75% ของเด็กที่แพ้นมวัวจะแพ้นมแพะด้วย ซึ่งข้อมูลจาก The Food Allergy &amp; Anaphylaxis Network (องค์กรใหญ่ระดับโลกเกี่ยวกับการแพ้อาหารจากอเมริกา) ระบุว่า นมแพะมีโปรตีนก่อแพ้เป็นส่วนประกอบที่คล้ายกับนมวัว จึงทำให้เกิดอาการแพ้ได้เหมือนกัน แม้ลักษณะโครงสร้างของไขมันที่มีในนมแพะจะย่อยง่าย แต่นมแพะก็ใช้ได้กับเด็กบางคนเท่านั้น<br />\nหากต้องการให้เด็กที่แพ้นมวัวเปลี่ยนมาดื่มนมแพะ ต้องเปลี่ยนด้วยความระมัดระวัง โยจะต้องมีการตรวจประเมินจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อยืนยันความปลอดภัย ให้แน่ใจได้ว่าเด็กจะสามารถทานนมแพะได้<br />\n \n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff00\"> ลูกจะแพ้นมวัวนานแค่ไหน</span> <br />\n</strong> เด็กที่มีอาการแพ้นมวัวประมาณ 50% จะหายจากอาการแพ้เมื่ออายุครบ 1 ปี 70% จะหายเมื่อมีอายุ 2 ปี และปริมาณ 90% จะหายจากอาการแพ้เมื่อมีอายุเกิน 3 ปี จะมีเด็กเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่อาจมีอาการแพ้นมวัวต่อเนื่องไปจนโต<br />\nในกรณีที่คุณแม่ไม่แน่ใจว่าลูกน้อยหายขาดจากอาการแพ้นมวัวแล้วหรือไม่นั้น ควรขอคำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด\n</p>\n<p><span style=\"background-color: #ffff00\"></span><span style=\"background-color: #ffff00\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7479/55163_002.jpg\" height=\"358\" /></strong>\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000; background-color: #f0f8ff\">ที่มาของภาพ  <a href=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\">http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm</a></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>นมแม่...วัคซีนสำคัญป้องกันภูมิแพ้</strong>\n</p>\n<p></p>\n<p>\nนมแม่มีสาระสำคัญบางอย่าง ได้แก่ TGF beta, IL6, IL10 ซึ่งจะทำหน้าที่กระตุ้นเม็ดเลือดขาวของลูก ให้สร้างภูมิต้านทาน (Secretory IgA) เป็นโปรตีนที่ทนต่อการย่อยของกรดในกระเพาะอาหาร จึงสามารถผ่านไปสู่ลำไส้และเคลือบเยื่อบุลำไส้ไว้ ซึ่งจะทำหน้าที่ในการดักจับแบคทีเรียก่อโรคและโปรตีนโมเลกุลใหญ่ๆ ที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ไม่ให้ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายลูกน้อย ขณะเดียวกันก็จะกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง Secretory IgA ขึ้นเองด้วย ทำให้ลดโอกาสการเกิดภูมิแพ้ได้ <br />\nนมแม่มี Polyamines สูง ซึ่งมีส่วนสำคัญในการส่งเสริมให้ระบบภูมิต้านทานทำงานได้อย่างเหมาะสม <br />\nนมแม่มีนิวคลีโอไทด์ประมาณ 72 มก./ลิตร (TPAN) ซึ่งมีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อต่างๆ ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายลูกน้อย <br />\nนมแม่อุดมไปด้วยภูมิต้านทานต่อเชื้อโรคหลายชนิด จึงช่วยให้ลูกไม่ติดเชื้อง่าย ไม่มีการทำลายของเยื่อบุในทางเดินอาหารที่อาจเกิดขึ้นภายหลังการติดเชื้อ (เพราะถ้าเยื่อบุถูกทำลาย สารก่อภูมิแพ้จากอาหารที่ลูกกินเข้าไปก็จะซึมผ่านเยื่อบุลำไส้ได้มาก) <br />\nนมแม่มีใยอาหาร (Prebiotics) ที่ช่วยเสริมสร้างการเจริญเติบโตของแบคทีเรียชนิดที่ดี (Probiotics) ในลำไส้เด็ก เช่น lactobacilli, bifidobacteria เด็กที่กินนมแม่จึงมีภูมิคุ้มกันที่ดี <br />\nดังนั้น หากคุณแม่หรือสมาชิกในครอบครัวมีประวัติเป็นโรคภูมิแพ้หรือแพ้นมวัว ในช่วงแรกคลอดควรให้ลูกน้อยได้กินน้ำนมเหลือง (โคลอสตรัม) ซึ่งร่างกายของแม่จะผลิตขึ้นในช่วง 2-3 วัน แรกหลังคลอด เพราะน้ำนมเหลืองจะช่วยให้มีภูมิต้านทานโรคได้ดี ไม่ติดเชื้อง่าย และลดปัญหาเรื่องโรคภูมิแพ้ อ้างอิงข้อมูล <a href=\"http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php\" title=\"http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php\">http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php</a>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\nนอกจากการแพ้นมวัวแล้วก็ยังมีสารปนเปื้อนในนมที่ตกเป็นข่าวดังในรอบปีที่ผ่านมาอีกด้วย เจ้าสารนั้นที่เราคุ้นหูกันว่า สารเมลามีน\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong>เรามารู้จักเจ้าสารนี้กันดีกว่า</strong></span>\n</p>\n<p>\n สารเมลามีนนี้จัดเป็นสารอินทรีย์ มีสารฟอร์มาลดีไฮด์ หรือที่เรารู้จักกันว่า ฟอร์มาลีน เป็นส่วนประกอบมีไนโตรเจนสูงถึง 66% เป็นผงสีขาว ลักษณะคล้ายนมผงจนแยกไม่ออก เมื่อนำไปละลายน้ำ หรือผสมในนมจะตรวจพบปริมาณไนโตรเจนสูง ซึ่งการจะตรวจว่าน้ำนมนั้นมีโปรตีนสูงหรือไม่ จะวัดจากค่าของไนโตรเจน ดังนั้นถ้าผสมสารเมลามีนซึ่งมีไนโตรเจนสูงเข้าไปในน้ำนม จะถูกทำให้เข้าใจว่า น้ำนมมีโปรตีนสูง ซึ่งไม่เป็นความจริง\n</p>\n<p>\n  นี่จึงเป็นช่องทางให้ผู้ประกอบการชาวจีนที่เห็นแก่ตัว และตั้งใจนำสารเมลามีนมาผสมกับนมผง เพื่อให้นมมีความเข้มข้นขึ้น เป็นการเพิ่มปริมาณโปรตีนให้ได้ตามที่มาตรฐานกำหนด\n</p>\n<p>\n  ฤทธิ์ของสารเมลามีนนั้น ไม่จำเป็นต้องรับประทานเข้าไปโดยตรง เพียงแค่สูดดมเข้าไป หรือผิวหนังสัมผัสก็ทำให้เกิดการระคายเคือง จนส่งผลให้ผิวหนังอักเสบได้แล้ว ฉะนั้นยิ่งไม่ต้องพูดถึงว่า ถ้ารับประทานเข้าไป จะเกิดอะไรขึ้น เพราะร่างกายเราไม่สามารถย่อยสารเมลามีนได้ ไตจึงไม่สามารถขับสารพิษออกมาทางปัสสาวะ \n</p>\n<p>\n   ดังนั้นเมื่อสารนี้เข้าสู่ร่างกายจะเข้าไปสะสม จนกลายเป็นนิ่วในท่อปัสสาวะ และไต ก่อให้เกิดมะเร็งที่ท่อปัสสาวะ ทำลายระบบสืบพันธุ์ และทำให้ไตวายได้อย่างเฉียบพลัน เช่นเดียวกับเด็กทารกชาวจีนทั้ง 4 คนที่เสียชีวิต เพราะรักษาไม่ทันการณ์ ขณะที่ยังมีเด็กอีกกว่า 53,000 คน ทั้งชาวจีน ฮ่องกง ไต้หวัน และมาเก๊า กำลังป่วยเป็นนิ่วในไตอันเป็นผลพวงมาจากสารเมลามีนนี้\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff00\">เมลามีนไปอยู่ในนมผงได้ยังไง?</span></strong><br />\nนมผงทำจากนมวัว ส่วนสำคัญที่สุดของนมวัวก็คือ โปรตีน<br />\nเมลามีน มีลักษณะโครงสร้างเหมือน โปรตีนของนมวัว ดังนั้น โรงงานผลิตนม<br />\nจึงนิยมเติม เมลามีนลงไป เพื่อลดต้นทุน ซึ่งเมลามีนไม่มีกลิ่น เมื่อผสมกับ<br />\nนมผงแล้ว ไม่สามารถมองเห็นความแตกต่าง จึงตรวจพบยาก\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff00\">นี่คือเว็ปข่าวสารที่ลงเกี่ยวกับสารเมลามีนที่พบในนมผง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.prachatai.com/journal/2008/09/18316\">http://www.prachatai.com/journal/2008/09/18316</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.fda.moph.go.th/www_fda/fda_melamine/index-melamine.php\">http://www.fda.moph.go.th/www_fda/fda_melamine/index-melamine.php</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://ora.kku.ac.th/board_news/News_View.asp?QID=53\">http://ora.kku.ac.th/board_news/News_View.asp?QID=53</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.lpnh.go.th/group/index.php?topic=78.0\">http://www.lpnh.go.th/group/index.php?topic=78.0</a>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7479/nom.jpg\" height=\"299\" />\n</p>\n<p>\nอ้างอิงรูปภาพ <a href=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\">http://thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm</a>\n</p>\n<p>\nอ้างอิงข้อมูล  <a href=\"http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php\">http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://hilight.kapook.com/view/29339\">http://hilight.kapook.com/view/29339</a>\n</p>\n', created = 1719230326, expire = 1719316726, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5e8ec4935449ccafc7d216c562214b0a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:79545e22e63e603835a7b3fc2a82d4f0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong></strong></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u7479/yoghurt2.jpg\" height=\"199\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มาของภาพ  <a href=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\">http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong>โรคแพ้นมวัว...คืออะไร</strong> </span> <span style=\"background-color: #ffff00\"><br />\n</span> โรคแพ้นมวัว หรือ Cow’s Milk Allergy เกิดจากการที่ระบบภูมิคุ้มกันของเด็กเกิดความผิดปกติ โดยจะมีปฏิกิริยาต่อโปรตีนที่เป็นส่วนประกอบในนมวัว ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้ในเด็กทารก<br />\nซึ่งการแพ้นมวัวสามารถเกิดได้ทั้งในเด็กที่กินนมแม่อย่างเดียว หรือเด็กที่กินนมผงดัดแปลงสำหรับทารกตั้งแต่แรกเกิด โดยในเด็กที่กินนมแม่สามารถแพ้นมวัวได้จากการที่แม่ดื่มนมวัวหรือรับประทานอาหารที่มีส่วนผสมของผลิตภัณฑ์จากนม จึงมีโปรตีนนมวัวผสมออกมาในน้ำนมแม่ ซึ่งจะไปกระตุ้นให้ลูกเกิดอาการแพ้นมได้ \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong> อาการแพ้นมวัว...พบบ่อยแค่ไหน</strong></span> <br />\n ในบรรดาเด็กๆ ที่แพ้อาหาร โรคแพ้นมวัวเป็นปัญหาที่พบบ่อยที่สุด โดยมีรายงานว่า พบเด็กที่มีอาการแพ้นมวัวประมาณ 5-7% ของเด็กทั้งหมด ซึ่งเด็กๆ ส่วนใหญ่จะหายจากโรคนี้ และสามารถกลับมากินนมวัวได้เกือบทุกคน ทั้งนี้มีเด็กที่แพ้นมวัวเพียงจำนวนน้อยที่โตแล้วก็ยังกินนมวัวไม่ได้\n</p>\n<p>\n <span style=\"background-color: #ffff00\"><strong>อาการแพ้แบบไหน...ที่คุณต้องใส่ใจ</strong></span>\n</p>\n<p>\nแพ้นมวัวแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ\n</p>\n<p>\nการแพ้แบบปฏิกิริยาไอจีอี (IgE mediated type) คือ เมื่อเด็กได้รับนมวัวเข้าไป โปรตีนจากนมวัวจะกระตุ้นให้มีการสร้างภูมิคุ้มกันไอจีอีขึ้นในร่างกาย ทำให้เกิดอาการของโรคภูมิแพ้ตามมา เช่น ผื่นแพ้ ลมพิษ บวม ไอจาม หอบ หืด ช็อก เป็นต้น <br />\nการแพ้แบบปฏิกิริยาที่ไม่ผ่านไอจีอี (Non-IgE mediated type) คือ เมื่อเด็กได้รับโปรตีนจากนมวัวโปรตีนดังกล่าวจะไปกระตุ้นเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันทำให้ร่างกายเกิดอาการแพ้ เช่น ผื่นแพ้ ตุ่มแดง ปวดท้องเป็นๆ หายๆ อาเจียน ท้องร่วง เป็นต้น <br />\n  <br />\n<strong><span style=\"background-color: #ffff00\">สาเหตุไหน...ทำให้ลูกแพ้นมวัว</span> <br />\n</strong> อาการแพ้นมวัวเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุด้วยกัน เช่น...\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">พันธุกรรม</span> พบว่า เด็กที่มีพ่อหรือแม่ที่มีประวัติเป็นโรคภูมิแพ้ จะมีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคแพ้นมวัวด้วย <br />\nระบบทางเดินอากรหรือลำไส้ยังมีการพัฒนาไม่สมบูรณ์ ทำให้โปรตีนนมวัวซึ่งมีขนาดใหญ่ผ่านเข้าไปในระบบหมุนเวียนเลือด ก่อให้เกิดอาการแพ้ หรืออาจเกิดจากการที่ร่างกายของเด็กขาดเอ็นไซม์ ทำให้ไม่สามารถย่อยน้ำตาลแลกโตสได้ เมื่อกินนมที่มีน้ำตาลแลกโตส จึงยิ่งทำให้มีอาการท้องเสียมากขึ้น <br />\n<span style=\"color: #ff0000\">ระบบภูมิคุ้มกันของเด็กเกิดความผิดปกติ</span> <br />\nขณะตั้งครรภ์คุณแม่อาจดื่มนมวัวในปริมาณที่มากกว่าปกติ โปรตีนในนมวัวจึงอาจไปกระตุ้นให้ลูกเริ่มมีการแพ้นมวัวได้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ <br />\nช่วงหลังคลอด คุณแม่ดื่มนมวัวหรือรับประทานอาหารที่มีนมวัวเป็นส่วนผสม รวมถึงผลิตภัณฑ์จากนมวัว ในปริมาณที่มาก ทำให้ลูกน้อยได้รับโปรตีนจากนมวัวด้วย เนื่องจากโปรตีนในนมวัวสามารถผ่านทางน้ำนมแม่ไปสู่ลูกน้อยได้ จากการศึกษาพบว่า แม่ที่ดื่มนมวัว 53-63 ราย ในจำนวน 100 ราย จะตรวจพบโปรตีนนมวัวในน้ำนมแม่หลังดื่มนมวัว 1-6 ชั่วโมง ดังนั้น เมื่อลูกกินนมแม่ที่มีโปรตีนนมวัวปะปนอยู่ ก็อาจไปกระตุ้นให้ลูกเกิดอาการแพ้นมวัวได้ <br />\n<span style=\"color: #ff0000\">การให้ลูกหย่านมแม่เร็วกว่ากำหนด</span> ก็อาจมีผลทำให้ลุกแพ้โปรตีนนมวัวได้เช่นกัน เนื่องจากนมแม่มีคุณสมบัติช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับลูก ที่สำคัญยังมีกลไกช่วยป้องกันการแพ้อาหาร อ้างอิงข้อมูล <a href=\"http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php\" title=\"http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php\">http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>', created = 1719230326, expire = 1719316726, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:79545e22e63e603835a7b3fc2a82d4f0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคแพ้นมวัว

รูปภาพของ sss28360

ที่มาของภาพ  http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm

โรคแพ้นมวัว...คืออะไร  
 โรคแพ้นมวัว หรือ Cow’s Milk Allergy เกิดจากการที่ระบบภูมิคุ้มกันของเด็กเกิดความผิดปกติ โดยจะมีปฏิกิริยาต่อโปรตีนที่เป็นส่วนประกอบในนมวัว ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้ในเด็กทารก
ซึ่งการแพ้นมวัวสามารถเกิดได้ทั้งในเด็กที่กินนมแม่อย่างเดียว หรือเด็กที่กินนมผงดัดแปลงสำหรับทารกตั้งแต่แรกเกิด โดยในเด็กที่กินนมแม่สามารถแพ้นมวัวได้จากการที่แม่ดื่มนมวัวหรือรับประทานอาหารที่มีส่วนผสมของผลิตภัณฑ์จากนม จึงมีโปรตีนนมวัวผสมออกมาในน้ำนมแม่ ซึ่งจะไปกระตุ้นให้ลูกเกิดอาการแพ้นมได้ 

 

 อาการแพ้นมวัว...พบบ่อยแค่ไหน 
 ในบรรดาเด็กๆ ที่แพ้อาหาร โรคแพ้นมวัวเป็นปัญหาที่พบบ่อยที่สุด โดยมีรายงานว่า พบเด็กที่มีอาการแพ้นมวัวประมาณ 5-7% ของเด็กทั้งหมด ซึ่งเด็กๆ ส่วนใหญ่จะหายจากโรคนี้ และสามารถกลับมากินนมวัวได้เกือบทุกคน ทั้งนี้มีเด็กที่แพ้นมวัวเพียงจำนวนน้อยที่โตแล้วก็ยังกินนมวัวไม่ได้

 อาการแพ้แบบไหน...ที่คุณต้องใส่ใจ

แพ้นมวัวแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

การแพ้แบบปฏิกิริยาไอจีอี (IgE mediated type) คือ เมื่อเด็กได้รับนมวัวเข้าไป โปรตีนจากนมวัวจะกระตุ้นให้มีการสร้างภูมิคุ้มกันไอจีอีขึ้นในร่างกาย ทำให้เกิดอาการของโรคภูมิแพ้ตามมา เช่น ผื่นแพ้ ลมพิษ บวม ไอจาม หอบ หืด ช็อก เป็นต้น
การแพ้แบบปฏิกิริยาที่ไม่ผ่านไอจีอี (Non-IgE mediated type) คือ เมื่อเด็กได้รับโปรตีนจากนมวัวโปรตีนดังกล่าวจะไปกระตุ้นเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันทำให้ร่างกายเกิดอาการแพ้ เช่น ผื่นแพ้ ตุ่มแดง ปวดท้องเป็นๆ หายๆ อาเจียน ท้องร่วง เป็นต้น 
 
สาเหตุไหน...ทำให้ลูกแพ้นมวัว
 อาการแพ้นมวัวเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุด้วยกัน เช่น...

พันธุกรรม พบว่า เด็กที่มีพ่อหรือแม่ที่มีประวัติเป็นโรคภูมิแพ้ จะมีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคแพ้นมวัวด้วย
ระบบทางเดินอากรหรือลำไส้ยังมีการพัฒนาไม่สมบูรณ์ ทำให้โปรตีนนมวัวซึ่งมีขนาดใหญ่ผ่านเข้าไปในระบบหมุนเวียนเลือด ก่อให้เกิดอาการแพ้ หรืออาจเกิดจากการที่ร่างกายของเด็กขาดเอ็นไซม์ ทำให้ไม่สามารถย่อยน้ำตาลแลกโตสได้ เมื่อกินนมที่มีน้ำตาลแลกโตส จึงยิ่งทำให้มีอาการท้องเสียมากขึ้น
ระบบภูมิคุ้มกันของเด็กเกิดความผิดปกติ
ขณะตั้งครรภ์คุณแม่อาจดื่มนมวัวในปริมาณที่มากกว่าปกติ โปรตีนในนมวัวจึงอาจไปกระตุ้นให้ลูกเริ่มมีการแพ้นมวัวได้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์
ช่วงหลังคลอด คุณแม่ดื่มนมวัวหรือรับประทานอาหารที่มีนมวัวเป็นส่วนผสม รวมถึงผลิตภัณฑ์จากนมวัว ในปริมาณที่มาก ทำให้ลูกน้อยได้รับโปรตีนจากนมวัวด้วย เนื่องจากโปรตีนในนมวัวสามารถผ่านทางน้ำนมแม่ไปสู่ลูกน้อยได้ จากการศึกษาพบว่า แม่ที่ดื่มนมวัว 53-63 ราย ในจำนวน 100 ราย จะตรวจพบโปรตีนนมวัวในน้ำนมแม่หลังดื่มนมวัว 1-6 ชั่วโมง ดังนั้น เมื่อลูกกินนมแม่ที่มีโปรตีนนมวัวปะปนอยู่ ก็อาจไปกระตุ้นให้ลูกเกิดอาการแพ้นมวัวได้
การให้ลูกหย่านมแม่เร็วกว่ากำหนด ก็อาจมีผลทำให้ลุกแพ้โปรตีนนมวัวได้เช่นกัน เนื่องจากนมแม่มีคุณสมบัติช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับลูก ที่สำคัญยังมีกลไกช่วยป้องกันการแพ้อาหาร อ้างอิงข้อมูล http://www.abbott.co.th/cma_qa08.php

 

รูปภาพของ ssspoonsak

ดีแล้วละ แต่ขออีกนิด การอ้างอิง ต้องอ้างอิงทุกหน้า ตรวจดูอีกทีนะ จะเป็นกำลังใจให้ แล้วจะมาดูอีกครั้ง

อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

รูปภาพของ sss27444

โห พลอย... ทำเสร็จละ ? เก่ง ๆ ความรู้ดีนะเนี่ย

อันนี้กำลังไปขุดจากหลุมขึ้นมาอยู่อีก 10 ปีได้ ฮ่าๆ


Can you Imagine ?

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 498 คน กำลังออนไลน์