• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:72d8f72b0a3d785ce98e8b45f86f6a60' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><strong>เพลงพระราชนิพนธ์ 10 เพลง</strong><img title=\"Embarassed\" src=\"/sites/all/libraries/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/img/smiley-embarassed.gif\" alt=\"Embarassed\" border=\"0\" /></strong></p>\n<p><strong>1.เพลงใกล้รุ่ง</strong>&nbsp;ป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่&nbsp;4&nbsp;ทรงพระราชนิพนธ์ใน พ.ศ.&nbsp;2489&nbsp;ขณะทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร&nbsp;ประพันธ์คำร้องภาษาไทย ส่วนคำร้องภาษาอังกฤษ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา&nbsp;ประพันธ์ พระราชทานให้วงดนตรีสุนทราภรณ์&nbsp;นำออกบรรเลงครั้งแรก ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงกรมโฆษณาการ (ปัจจุบันคือกรมประชาสัมพันธ์) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ.&nbsp;2489 &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</p>\n<p><strong>เนื้อเพลงใกล้รุ่ง : &nbsp;</strong></p>\n<p>ได้ยินเสียงแว่วดังแผ่วมาแต่ ไกล ไกล<br />ชุ่มชื่นฤทัย หวานใดจะปาน<br />ฟังเสียงบรรเลง ขับเพลงประสาน<br />จากทิพย์วิมาน ประทานกล่อมใจ<br />ใกล้ยามเมื่อแสง ทอง ส่อง<br />ฉันคอยมองจ้อง ฟ้าเรืองรำไร<br />ลมโบกโบยมา หนาว ใจ<br />รอช้าเพียงไร ตะวันจะมา<br />เพลิดเพลินฤทัย ฟังไก่ประสานเสียงกัน<br />ดอกมะลิวัลย์ อวลกลิ่นระคนมณฑา<br />โอ้ในยามนี้ เพลิน หนักหนา<br />แสงทองนวลผ่องนภา แสนเพลินอุราสำราญ<br />หมู่มวลวิหคบินผกมาแต่ รัง นอน<br />เข้าเชยชิดช้อน ลิ้มชมบัวบาน<br />ยินเสียงบรรเลง ดังเพลงขับขาน<br />สอดคล้องกังวาน ซาบซ่านจับใจ<br /><br />ใกล้ยามเมื่อแสง ทอง ส่อง<br />ฉันคอยมองจ้อง ฟ้าเรืองรำไร<br />ลมโบกโบยมา หนาว ใจ<br />รอช้าเพียงไร ตะวันจะมา<br />เพลิดเพลินฤทัย ฟังไก่ประสานเสียงกัน<br />ดอกมะลิวัลย์ อวลกลิ่นระคนมณฑา<br />โอ้ในยามนี้ เพลิน หนักหนา<br />แสงทองนวลผ่องนภา แสนเพลินอุราสำราญ<br />หมู่มวลวิหคบินผกมาแต่ รัง นอน<br />เข้าเชยชิดช้อน ลิ้มชมบัวบาน<br />ยินเสียงบรรเลง ดังเพลงขับขาน<br />สอดคล้องกังวาน ซาบซ่านจับใจ..</p>\n<p><strong>2.เพลงลมหนาว &nbsp;</strong>เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่&nbsp;19&nbsp;ทรงพระราชนิพนธ์ใน พ.ศ.&nbsp;2497&nbsp;ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ&nbsp;นิพนธ์คำร้องภาษาอังกฤษ และได้พระราชทานเพลงนี้ ออกบรรเลงครั้งแรก ในงานประจำปีของสมาคมนักเรียนเก่าอังกฤษ&nbsp;ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ เวทีลีลาศสวนลุมพินีเมื่อวันเสาร์ที่&nbsp;6&nbsp;กุมภาพันธ์ พ.ศ.&nbsp;2497&nbsp;ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา&nbsp;แต่งคำร้องภาษาไทยถวาย</p>\n<p><strong>เนื้อเพลงลมหนาว :</strong><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p>ยามลมหนาว พัดโบกโบยโชยชื่น<br />เหล่าสกุณร้องรื่นรมย์<br />หมู่ดอกไม้ชวนภมรร่อนชม<br />ช่างสุขสมเพลินตาน่าดูชูใจ<br />โอ้รักเจ้าเอ๋ย<br />ยามรักสมดังฤทัย<br />พิศดูสิ่งใด<br />ก็แลวิไลแจ่มใสครัน<br />อันความรักมักจะพาใจฝัน<br />เมื่อรักนั้นสุขสมจิตปอง<br />ยามลมฝน พัดโบกโบยกระหน่ำ<br />หยดหยาดนำน้ำหลั่งนอง<br />ผึ้งภู่ทั้งวิหคเหงาเศร้าหมอง<br />เกลื่อนกลาดผองมาลีร่วงโรยลงดิน<br />เหมือนรักผิดหวัง<br />เปรียบดังหัวใจพังภินท์<br />น้ำตาหลั่งริน<br />และลามไหลเพียงหยาดฝนปราย<br />อันความรักแม้นไม่เป็นดังหมาย<br />ตราบวันตาย&nbsp;<br />ชีพขมขื่นเอย</p>\n<div>3.&nbsp;<strong>เพลงชะตาชีวิต &nbsp;</strong>เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๕ ทรงพระราชนิพนธ์หลังจากเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติ และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์&nbsp;ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ&nbsp;ทรงพระนิพนธ์คำร้องภาษาอังกฤษ ในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครบ ๒๐ พรรษา ในพ.ศ. ๒๔๙๐ ข้าราชการ นักเรียนและคนไทยในสวิตเซอร์แลนด์ ร่วมกันจัดงานเฉลิมฉลองติดต่อกันหลายวัน ในวันเสาร์ที่ ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ มาตั้งวงเล่นดนตรีที่พระตำหนักวิลลาวัฒนา&nbsp;พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดนตรีด้วย ในงานมีการทายชื่อเพลงพระราชนิพนธ์ใหม่&nbsp;H.M.Blues&nbsp;ว่า&nbsp;H.M.&nbsp;แปลว่าอะไร ผู้ที่จะทาย ต้องซื้อกระดาษสำหรับเขียนคำทายใบละครึ่งฟรังซ์ จุดประสงค์เพื่อระดมทุนสำหรับช่วยเหลือคนจน โดยวงดนตรีบรรเลงเพลงให้ผู้ร่วมงานเต้นรำโดยไม่หยุดพัก ระหว่างเลี้ยงอาหารว่างตอนดึก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริร้องเพลงพระราชนิพนธ์เพลงใหม่&nbsp;H.M. Blues&nbsp;เนื้อเพลงมีใจความว่า \"คนอื่น ๆ ที่ไม่ได้เล่นดนตรี ต่างก็อิ่มหนำสำราญกัน แต่พวกเราที่กำลังเล่นดนตรีต่างก็หิวโหย และไม่มีแรงจะเล่นต่อไปอีกแล้ว\" ในงานไม่มีผู้ใดทายชื่อถูกเลยสักคนเดียว เพราะทุกคนต่างคิดว่า&nbsp;H.M. Blues&nbsp;ย่อมาจาก&nbsp;His Majesty \'s Blues&nbsp;ซึ่งแปลว่าเพลงแนวบลูส์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แต่แท้ที่จริงแล้วH.M.Blues&nbsp;ย่อมาจาก&nbsp;Hungry Men\'s Blues&nbsp;แปลว่าเพลงแนวบลูส์ของผู้ที่หิวโหยต่างหาก คำร้องภาษาไทย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร&nbsp;เป็นผู้ประพันธ์ แต่เนื่องจากในเวลานั้นคำร้องภาษาอังกฤษ ไม่ได้พระราชทานลงมา และเพราะต้นฉบับอยู่ที่สวิตเซอร์แลนด์ ดร.ประเสริฐ จึงใส่คำร้องภาษาไทย ที่มีความหมายออกมาคนละแบบ</div>\n<div><strong>เนื้อเพลงชะตาชีวิต :</strong><strong>&nbsp;</strong>&nbsp;นกน้อยคล้อยบินตามเดียวดาย<br />คิดคิดมิวายกังวลให้หม่นฤทัยหมอง<br />ขาดมวลมิตรไร้คนสนิทคู่เคียงครอง<br />หลงใหลหมายปองคนปรานี&nbsp;<br />ขาดเรือนแหล่งพักพำนักนอน&nbsp;<br />ขาดญาติบิดรและน้องพี่&nbsp;<br />บาปกรรมคงมี&nbsp;<br />จำทนระทมท้องฟ้าสายัณห์ตะวันเลือน&nbsp;<br />แสงลับนับวันจะเตือนให้ใจต้องขื่นขม&nbsp;<br />หากเย็นลงฟ้าคงยิ่งมืดยิ่งตรอมตรม&nbsp;<br />ชีวิตระทมเพราะรอมา&nbsp;<br />จวบจันทร์แจ่มฟ้านภาผ่อง<br />เฝ้ามองให้เดือนชุบวิญญาณ์&nbsp;<br />สักวันบุญมา&nbsp;<br />ชะตาคงดี</div>\n<div><strong>4.&nbsp;เพลงสายฝน</strong>&nbsp;&nbsp;เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๓ ทรงพระราชนิพนธ์ใน พ.ศ. ๒๔๘๙ ขณะทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะวอลท์ซ&nbsp;ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ&nbsp;นิพนธ์คำร้องภาษาไทย ส่วนภาษาอังกฤษ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ทรงแต่งร่วมกับท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา&nbsp;เพลงพระราชนิพนธ์สายฝนนี้บรรเลงครั้งแรกที่เวทีลีลาศสวนอัมพร&nbsp;เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ในงานรื่นเริงของ สมาคมส่งเสริมการเลี้ยงไก่แห่งประเทศไทย บรรเลงโดยวงสุนทราภรณ์&nbsp;ขับร้องโดย&nbsp;เพ็ญศรี พุ่มชูศรี&nbsp;ในเวลาต่อมาเพลงนี้นำมาขับร้องใหม่โดย&nbsp;รุ่งฤดี แพ่งผ่องใส&nbsp;,&nbsp;นภา หวังในธรรม,&nbsp;สวลี ผกาพันธ์\n<div>&nbsp;<strong>เนื้อเพลงสายฝน :</strong><strong>&nbsp;</strong>เมื่อลมฝนบนฟ้ามาลิ่ว<br />ต้นไม้พลิ้วลู่กิ่งใบ<br />เหมือนจะเอนรากคลอนถอนไป<br />แต่เหล่าไม้ยิ่งกลับงาม<br />พระพรหมท่านบันดาลให้ฝนหลั่ง&nbsp;<br />เพื่อประทังชีวิตมิทราม<br />น้ำทิพย์สาดเป็นสายพรายพลิ้วทิวงาม<br />ทั่วเขตคามชุ่มธารา<br />สาดเป็นสายพรายพลิ้วทิวทุ่ง&nbsp;<br />แดดทอหรุ้งอร่ามตา<br />รุ้งเลื่อมลายพร่างพรายนภา<br />ยามเมื่อฝนมาแต่ไกล<br />พระพรหมช่วยอำนวยให้ชื่นฉ่ำ<br />เพื่อจะนำดับความร้อนใจ<br />น้ำฝนหลั่งลงมาจากฟ้าแดนไกล&nbsp;<br />พืชพรรณไม้ชื่นยืนยง</div>\n<div><strong>5.เพลงเราสู้</strong>&nbsp;เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๔๔ ทรงพระราชนิพนธ์ใน พ.ศ. ๒๕๑๖ นายสมภพ จันทรประภา&nbsp;ได้ประพันธ์กลอนสุภาพ ๔ บท จากพระราชดำรัสที่พระราชทานแก่สมาชิกสภานิติบัญญัติที่เข้าเฝ้าฯ ณ&nbsp;พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน&nbsp;มาเขียนเป็นคำกลอนถวาย เมื่อทรงเกิดแรงบันดาลพระราชหฤทัย ที่จะทรงพระราชนิพนธ์เพลง&nbsp;<strong>\"เราสู้\"</strong>&nbsp;พระราชทานให้เป็นของขวัญปีใหม่แก่ทหาร อาสาสมัครและตำรวจชายแดน ทรงหยิบซองจดหมายใกล้พระหัตถ์มาตีบรรทัด ๕ เส้น เพื่อทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง เสร็จแล้วพระราชทานให้&nbsp;วง อ.ส. วันศุกร์&nbsp;ซึ่งกำลังบรรเลงอยู่ในงานวันขึ้นปีใหม่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๗ นำออกบรรเลง ณ&nbsp;พระราชวังบางปะอิน&nbsp;จากนั้นได้ทรงนำกลับไปแก้ไขก่อนจะพระราชทานออกมาให้วงดนตรี อ.ส.วันศุกร์ บรรเลง และทรงแก้ไขอีกจนพอพระราชหฤทัย</div>\n<div><strong>เนื้อเพลงเราสู้ :</strong>&nbsp;&nbsp;บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณ ปกบ้านป้องเมืองคุ้มเหย้า เสียเลือดเสียเนื้อมิใช่เบา หน้าที่เรารักษาสืบไป ลูกหลานเหลนโหลนภายหน้า จะได้มีพสุธาอาศัย อนาคตจะต้องมีประเทศไทย มิยอมให้ผู้ใดมาทำลาย ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น จะสู้กันไม่หลบหนีหาย สู้ตรงนี้สู้ที่นี่สู้จนตาย ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู บ้านเมืองเราเราต้องรักษา อยากทำลายเชิญมาเราสู้ เกียรติศักดิ์ของเราเราเชิดชู เราสู้ไม่ถอยจนก้าวเดียว..</div>\n<div><strong>6.เพลงยิ้มสู้</strong><strong>&nbsp;</strong><strong>หรือ</strong><strong>&nbsp;Smiles</strong>&nbsp;เป็นเพลงพระราชนิพนธ์&nbsp;ลำดับที่ ๑๖ ทรงพระราชนิพนธ์ใน พ.ศ. ๒๔๙๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ&nbsp;นิพนธ์คำร้องภาษาไทย เพื่อเป็นการปลอบขวัญและให้กำลังใจแก่คนตาบอด แล้วพระราชทานให้นำไปบรรเลง ในงานสมาคมช่วยคนตาบอด&nbsp;ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ เวทีลีลาศสวนอัมพร&nbsp;เมื่อวันเสาร์ที่ ๑ มีนาคม ๒๔๙๕ ส่วนคำร้องภาษาอังกฤษ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ทรงนิพนธ์ในปีต่อมา</div>\n<div>&nbsp;<strong>เนื้อเพลงยิ้มสู้ :</strong>โลกจะสุขสบายนั้นเป็นได้หลายทาง<br />ต้องหลบสิ่งกีดขวางหนทางให้พ้นไป<br />จะสบความสุขสันต์สำคัญที่ใจ<br />สุขและทุกข์อย่างไรเพราะใจตนเอง<br />ฝ่าลู่ทางชีวิตต้องคิดเฝ้าย้อมใจ<br />โลกมืดมนเพียงใดหัวใจอย่าคร้ามเกรง<br />ตั้งหน้าชื่นเอาไว้ย้อมใจด้วยเพลง<br />ไยนึกกลัวหวาดเกรงยิ้มสู้<br />คนเป็นคนจะจนหรือมี<br />ร้ายหรือดีคงมีหวังอยู่<br />ยามปวงมารมาพาลลบหลู่<br />ยิ้มละมัยใจสู้หมู่มวลเภทภัย<br />ใฝ่กระทำความดีให้มีจิตโสภา<br />สร้างแต่ความเมตตาหาความสุขสันต์ไป<br />จะสบความสุขสันต์สำคัญที่ใจ<br />เฝ้าแต่ยิ้มสู้ไปแล้วใจชื่นบาน\n<div>7.&nbsp;<strong>ความฝันอันสูงสุด</strong>&nbsp;เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่&nbsp;43&nbsp;ทรงพระราชนิพนธ์ใน พ.ศ.&nbsp;2514&nbsp;เมื่อ พ.ศ.&nbsp;2512&nbsp;ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค&nbsp;ได้รับพระราชเสาวนีย์จาก&nbsp;สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ&nbsp;ให้เขียนบทกลอนแสดงความนิยมส่งเสริมคนดีให้มีกำลังใจทำงานเพื่ออุดมคติเพื่อประเทศชาติ ออกมาเป็นกลอน&nbsp;5&nbsp;บท สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถโปรดให้พิมพ์บทกลอนนี้ลงในกระดาษการ์ดแผ่นเล็ก ๆ พระราชทานแก่ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ พลเรือน และผู้ทำงานเพื่อประเทศชาติ เตือนสติมิให้ท้อถอยในการทำความดี ต่อมา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถได้กราบบังคมทูลพระกรุณาขอให้&nbsp;พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว&nbsp;ทรงใส่ทำนองเพลงในคำกลอน&nbsp;</div>\n<div><strong>8.\"ความฝันอันสูงสุด\"</strong>&nbsp;ใน พ.ศ.&nbsp;2514&nbsp;ขับร้องโดย ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค &nbsp;<strong>เนื้อเพลงความฝันอันสูงสุด</strong>&nbsp;:&nbsp;ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ ขอสู้ศึกทุกเมื่อไม่หวั่นไหว ขอทนทุกข์รุกโรมโหมกายใจ ขอฝ่าฟันผองภัยด้วยใจทะนง จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด จะรักชาติจนชีวิตเป็นผุยผง จะยอมตายหมายให้เกียรติดำรง จะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา ไม่ท้อถอยคอยสร้างสิ่งที่ควร ไม่เรรวนพะว้าพะวังคิดกังขา ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป นี่คือปณิธานที่หาญมุ่ง หมายผดุงยุติธรรม์อันสดใส ถึงทนทุกข์ทรมานนานเท่าใด ยังมั่นใจรักชาติองอาจครัน โลกมนุษย์ย่อมจะดีกว่านี้แน่ เพราะมีผู้ไม่ยอมแพ้แม้ถูกหยัน คงยืนหยัดสู้ไปใฝ่ประจัญ ยอมอาสัญก็เพราะปองเทิดผองไทย\n<div>&nbsp;9.<strong>เพลงแสงเดือน</strong><strong>&nbsp;</strong>เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๗ ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๐๑ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ&nbsp;นิพนธ์คำร้องทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย เพลงพระราชนิพนธ์นี้มีลีลาชดช้อย อ่อนหวาน สง่างาม เหมาะสำหรับประกอบการเต้นบัลเล่ต์ จึงได้พระราชทานให้อัญเชิญไปประกอบการแสดงบัลเล่ต์ในงานสมาคมนักเรียนเก่าอังกฤษในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ เวทีลีลาศสวนอัมพร&nbsp;เมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๑ ต่อมาได้นำออกบรรเลงในงานสมาคมนักเรียนเก่าสหรัฐอเมริกาในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๑</div>\n<div><strong>เนื้อเพลงแสงเดือน</strong>&nbsp;:&nbsp;นวล...แสงนวลผ่องงามตา แสงจันทรา...ส่องเรืองฟากฟ้าไกล งาม...แสงงามผ่องอำไพ ย้อมดวงใจ...ให้คงคลั่งใคล้เดือนชมแล้วชมเล่า เฝ้าชะแง้แลดู เพลินพิศเพลินอยู่ ไม่รู้ลืมเลือน เดือน...แสงเดือนผ่องวันเพ็ญ &nbsp;แสงจันทร์เพ็ญ...เด่นงามใดจะเหมือน โฉมงามเทียบ เปรียบเดือนแสงงาม &nbsp;<strong>เพลงแสงเทียน</strong>&nbsp;เป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรก ทรงพระราชนิพนธ์ในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ครั้งดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะบลูส์&nbsp;ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ&nbsp;นิพนธ์คำร้องภาษาไทย แต่เนื่องจากมีพระราชประสงค์ ที่จะทรงแก้ไขทำนอง และคอร์ดบางตอน จึงยังไม่โปรดเกล้าฯ พระราชทานให้นำออกมา บรรเลงในเวลานั้น ต่อมา ได้พระราชทานให้นำออกบรรเลงครั้งแรก พ.ศ. ๒๔๙๐ และใน พ.ศ. ๒๔๙๖ นางสาวสดใส วานิชวัฒนา (รองศาสตราจารย์&nbsp;สดใส พันธุมโกมล) ประพันธ์คำร้องภาษาอังกฤษถวายจุดเทียนบวงสรวงปวงเทพเจ้า<br />สวดมนต์ค่ำเช้าถึงคราวระทมทน<br />โอ้ชีวิตหนอล้วนรอความตายทุกคน<br />หลีกไปไม่พ้นทุกข์ทนอาทรร้อนใจ<br />ต่างคนเกิดแล้วตายไป<br />ชดใช้เวรกรรมจากจร<br />นิจจังสังขารนั้นไม่เที่ยงเสี่ยงบุญกรรม<br />ทุกคนเคยทำกรรมไว้ก่อน<br />เชิญปวงเทวดาข้าไหว้วอน<br />ขอพรคุ้มไปชีวิตหน้า<br />ทนทรมานมามากแล้วจะกราบลา<br />หนีปวงโรคาที่เบียดเบียน<br />แสงแววชีวาเปรียบแสงเทียน<br />เปรียบเทียนสิ้นแสงยามแรงลมเป่า<br />ชีพดับอับเฉาเหมือนเงาไร้ดวงเทียน<br />จุดเทียนถวายหมายบนบูชาร้องเรียน<br />โรคภัยเบียดเบียนแสงเทียนทานลมพัดโบย<br />โรครุมเร่าร้อนแรงโรย<br />หวนโหยอาวรณ์อ่อนใจ<br />ทำบุญทำทานกันไว้เถิดเกิดเป็นคน<br />ไว้เตรียมผจญชีวิตใหม่<br />เคยทำบุญทำคุณปางก่อนใด<br />ขอบุญคุ้มไปชีวิตหน้า<br />ทนทรมานมามากแล้วจะกราบลา<br />แสงเทียนบูชาจะดับพลัน<br />แสงเทียนบูชาดับลับไป\n<div><strong>.10..เพลงยามเย็น&nbsp;&nbsp;</strong>เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒ ทรงพระราชนิพนธ์ ใน พ.ศ. ๒๔๘๙ ขณะยังทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะฟ็อกซ์ทร็อต&nbsp;ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ&nbsp;นิพนธ์คำร้องภาษาไทย และท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา&nbsp;แต่งคำร้องภาษาอังกฤษ แล้วพระราชทานเพลงพระราชนิพนธ์ที่มีคำต้องสมบูรณ์ให้นายเอื้อ สุนทรสนาน&nbsp;นำออกบรรเลงในงานของสมาคมปราบวัณโรค ณ เวทีลีลาศสวนอัมพร&nbsp;เมื่อวันเสาร์ที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ นับเป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรกที่นำออกบรรเลงสู่ประชาชน เป็นเพลงที่ร่าเริงแจ่มใสเหมาะสำหรับการเต้นรำในสมัยนั้น จึงเป็นเพลงยอดนิยมของพสกนิกรไทยทันที\n<div>&nbsp;แดดรอนรอน<br />เมื่อทินกรจะลับเหลี่ยมเมฆา<br />ทอแสงเรืองอร่ามช่างงามตา<br />ในนภาสลับจับอัมพร<br />แดดรอนรอน<br />เมื่อทินกรจะลาโลกไปไกล<br />ยามนี้จำต้องพรากจากดวงใจ<br />ไกลแสนไกลสุดห่วงยอดดวงตา<br />แต่ก่อนเคยคลอเคลียกัน<br />ทุกวันคืนรื่นอุรา<br />ต้องอยู่เดียวเปลี่ยนวิญญาณ์&nbsp;<br />เหมือนดังนภาไร้ทินกร<br />แดดรอนรอน&nbsp;<br />หากทินกรจะลาโลกไปไกล<br />ความรักเราคงอยู่คู่กันไป&nbsp;<br />ในหัวใจคงอยู่คู่เชยชม<br />แดดรอนรอน&nbsp;<br />หมู่มวลภมรบินลอยล่องตามลม<br />คลอเคล้าพฤกษาชาติชื่นเชยชม&nbsp;<br />ชมสมตามอารมณ์ล่องเลยไป<br />ลิ่วลมโชย&nbsp;<br />กลิ่นพรรณไม้โปรยโรยร่วงห่วงอาลัย<br />ยามสายัณห์พลันพรากจากดวงใจ&nbsp;<br />คอยแสงทองวันใหม่กลับคืนมา<br />แต่ก่อนเคยคลอเคลียกัน<br />ทุกวันคืนชื่นอุรา<br />ต้องอยู่เดียวเปลี่ยววิญญาณ์&nbsp;<br />เหมือนดังนภาไร้ทินกร<br />โอ้ยามเย็น&nbsp;<br />จวบยามนี้เป็นเวลาสุดอาวรณ์<br />ยามไร้ความสว่างห่างทินกร&nbsp;<br />ยามรักจำจะจรจากกันไป</div>\n<div>&nbsp;</div>\n</div>\n</div>\n</div>\n</div>\n</div>\n', created = 1728210122, expire = 1728296522, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:72d8f72b0a3d785ce98e8b45f86f6a60' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เพลงพระราชนิพนธ์ 10 เพลง

รูปภาพของ nankittiyaporn11997

เพลงพระราชนิพนธ์ 10 เพลงEmbarassed

1.เพลงใกล้รุ่ง ป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 4 ทรงพระราชนิพนธ์ใน พ.ศ. 2489 ขณะทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร ประพันธ์คำร้องภาษาไทย ส่วนคำร้องภาษาอังกฤษ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา ประพันธ์ พระราชทานให้วงดนตรีสุนทราภรณ์ นำออกบรรเลงครั้งแรก ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงกรมโฆษณาการ (ปัจจุบันคือกรมประชาสัมพันธ์) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2489       

เนื้อเพลงใกล้รุ่ง :  

ได้ยินเสียงแว่วดังแผ่วมาแต่ ไกล ไกล
ชุ่มชื่นฤทัย หวานใดจะปาน
ฟังเสียงบรรเลง ขับเพลงประสาน
จากทิพย์วิมาน ประทานกล่อมใจ
ใกล้ยามเมื่อแสง ทอง ส่อง
ฉันคอยมองจ้อง ฟ้าเรืองรำไร
ลมโบกโบยมา หนาว ใจ
รอช้าเพียงไร ตะวันจะมา
เพลิดเพลินฤทัย ฟังไก่ประสานเสียงกัน
ดอกมะลิวัลย์ อวลกลิ่นระคนมณฑา
โอ้ในยามนี้ เพลิน หนักหนา
แสงทองนวลผ่องนภา แสนเพลินอุราสำราญ
หมู่มวลวิหคบินผกมาแต่ รัง นอน
เข้าเชยชิดช้อน ลิ้มชมบัวบาน
ยินเสียงบรรเลง ดังเพลงขับขาน
สอดคล้องกังวาน ซาบซ่านจับใจ

ใกล้ยามเมื่อแสง ทอง ส่อง
ฉันคอยมองจ้อง ฟ้าเรืองรำไร
ลมโบกโบยมา หนาว ใจ
รอช้าเพียงไร ตะวันจะมา
เพลิดเพลินฤทัย ฟังไก่ประสานเสียงกัน
ดอกมะลิวัลย์ อวลกลิ่นระคนมณฑา
โอ้ในยามนี้ เพลิน หนักหนา
แสงทองนวลผ่องนภา แสนเพลินอุราสำราญ
หมู่มวลวิหคบินผกมาแต่ รัง นอน
เข้าเชยชิดช้อน ลิ้มชมบัวบาน
ยินเสียงบรรเลง ดังเพลงขับขาน
สอดคล้องกังวาน ซาบซ่านจับใจ..

2.เพลงลมหนาว  เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 19 ทรงพระราชนิพนธ์ใน พ.ศ. 2497 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ นิพนธ์คำร้องภาษาอังกฤษ และได้พระราชทานเพลงนี้ ออกบรรเลงครั้งแรก ในงานประจำปีของสมาคมนักเรียนเก่าอังกฤษ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ เวทีลีลาศสวนลุมพินีเมื่อวันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา แต่งคำร้องภาษาไทยถวาย

เนื้อเพลงลมหนาว : 

ยามลมหนาว พัดโบกโบยโชยชื่น
เหล่าสกุณร้องรื่นรมย์
หมู่ดอกไม้ชวนภมรร่อนชม
ช่างสุขสมเพลินตาน่าดูชูใจ
โอ้รักเจ้าเอ๋ย
ยามรักสมดังฤทัย
พิศดูสิ่งใด
ก็แลวิไลแจ่มใสครัน
อันความรักมักจะพาใจฝัน
เมื่อรักนั้นสุขสมจิตปอง
ยามลมฝน พัดโบกโบยกระหน่ำ
หยดหยาดนำน้ำหลั่งนอง
ผึ้งภู่ทั้งวิหคเหงาเศร้าหมอง
เกลื่อนกลาดผองมาลีร่วงโรยลงดิน
เหมือนรักผิดหวัง
เปรียบดังหัวใจพังภินท์
น้ำตาหลั่งริน
และลามไหลเพียงหยาดฝนปราย
อันความรักแม้นไม่เป็นดังหมาย
ตราบวันตาย 
ชีพขมขื่นเอย

3. เพลงชะตาชีวิต  เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๕ ทรงพระราชนิพนธ์หลังจากเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติ และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ทรงพระนิพนธ์คำร้องภาษาอังกฤษ ในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครบ ๒๐ พรรษา ในพ.ศ. ๒๔๙๐ ข้าราชการ นักเรียนและคนไทยในสวิตเซอร์แลนด์ ร่วมกันจัดงานเฉลิมฉลองติดต่อกันหลายวัน ในวันเสาร์ที่ ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ มาตั้งวงเล่นดนตรีที่พระตำหนักวิลลาวัฒนา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดนตรีด้วย ในงานมีการทายชื่อเพลงพระราชนิพนธ์ใหม่ H.M.Blues ว่า H.M. แปลว่าอะไร ผู้ที่จะทาย ต้องซื้อกระดาษสำหรับเขียนคำทายใบละครึ่งฟรังซ์ จุดประสงค์เพื่อระดมทุนสำหรับช่วยเหลือคนจน โดยวงดนตรีบรรเลงเพลงให้ผู้ร่วมงานเต้นรำโดยไม่หยุดพัก ระหว่างเลี้ยงอาหารว่างตอนดึก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริร้องเพลงพระราชนิพนธ์เพลงใหม่ H.M. Blues เนื้อเพลงมีใจความว่า "คนอื่น ๆ ที่ไม่ได้เล่นดนตรี ต่างก็อิ่มหนำสำราญกัน แต่พวกเราที่กำลังเล่นดนตรีต่างก็หิวโหย และไม่มีแรงจะเล่นต่อไปอีกแล้ว" ในงานไม่มีผู้ใดทายชื่อถูกเลยสักคนเดียว เพราะทุกคนต่างคิดว่า H.M. Blues ย่อมาจาก His Majesty 's Blues ซึ่งแปลว่าเพลงแนวบลูส์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แต่แท้ที่จริงแล้วH.M.Blues ย่อมาจาก Hungry Men's Blues แปลว่าเพลงแนวบลูส์ของผู้ที่หิวโหยต่างหาก คำร้องภาษาไทย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร เป็นผู้ประพันธ์ แต่เนื่องจากในเวลานั้นคำร้องภาษาอังกฤษ ไม่ได้พระราชทานลงมา และเพราะต้นฉบับอยู่ที่สวิตเซอร์แลนด์ ดร.ประเสริฐ จึงใส่คำร้องภาษาไทย ที่มีความหมายออกมาคนละแบบ
เนื้อเพลงชะตาชีวิต :  นกน้อยคล้อยบินตามเดียวดาย
คิดคิดมิวายกังวลให้หม่นฤทัยหมอง
ขาดมวลมิตรไร้คนสนิทคู่เคียงครอง
หลงใหลหมายปองคนปรานี 
ขาดเรือนแหล่งพักพำนักนอน 
ขาดญาติบิดรและน้องพี่ 
บาปกรรมคงมี 
จำทนระทมท้องฟ้าสายัณห์ตะวันเลือน 
แสงลับนับวันจะเตือนให้ใจต้องขื่นขม 
หากเย็นลงฟ้าคงยิ่งมืดยิ่งตรอมตรม 
ชีวิตระทมเพราะรอมา 
จวบจันทร์แจ่มฟ้านภาผ่อง
เฝ้ามองให้เดือนชุบวิญญาณ์ 
สักวันบุญมา 
ชะตาคงดี
4. เพลงสายฝน  เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๓ ทรงพระราชนิพนธ์ใน พ.ศ. ๒๔๘๙ ขณะทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะวอลท์ซ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ นิพนธ์คำร้องภาษาไทย ส่วนภาษาอังกฤษ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ทรงแต่งร่วมกับท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา เพลงพระราชนิพนธ์สายฝนนี้บรรเลงครั้งแรกที่เวทีลีลาศสวนอัมพร เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ในงานรื่นเริงของ สมาคมส่งเสริมการเลี้ยงไก่แห่งประเทศไทย บรรเลงโดยวงสุนทราภรณ์ ขับร้องโดย เพ็ญศรี พุ่มชูศรี ในเวลาต่อมาเพลงนี้นำมาขับร้องใหม่โดย รุ่งฤดี แพ่งผ่องใส , นภา หวังในธรรม, สวลี ผกาพันธ์
 เนื้อเพลงสายฝน : เมื่อลมฝนบนฟ้ามาลิ่ว
ต้นไม้พลิ้วลู่กิ่งใบ
เหมือนจะเอนรากคลอนถอนไป
แต่เหล่าไม้ยิ่งกลับงาม
พระพรหมท่านบันดาลให้ฝนหลั่ง 
เพื่อประทังชีวิตมิทราม
น้ำทิพย์สาดเป็นสายพรายพลิ้วทิวงาม
ทั่วเขตคามชุ่มธารา
สาดเป็นสายพรายพลิ้วทิวทุ่ง 
แดดทอหรุ้งอร่ามตา
รุ้งเลื่อมลายพร่างพรายนภา
ยามเมื่อฝนมาแต่ไกล
พระพรหมช่วยอำนวยให้ชื่นฉ่ำ
เพื่อจะนำดับความร้อนใจ
น้ำฝนหลั่งลงมาจากฟ้าแดนไกล 
พืชพรรณไม้ชื่นยืนยง
5.เพลงเราสู้ เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๔๔ ทรงพระราชนิพนธ์ใน พ.ศ. ๒๕๑๖ นายสมภพ จันทรประภา ได้ประพันธ์กลอนสุภาพ ๔ บท จากพระราชดำรัสที่พระราชทานแก่สมาชิกสภานิติบัญญัติที่เข้าเฝ้าฯ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน มาเขียนเป็นคำกลอนถวาย เมื่อทรงเกิดแรงบันดาลพระราชหฤทัย ที่จะทรงพระราชนิพนธ์เพลง "เราสู้" พระราชทานให้เป็นของขวัญปีใหม่แก่ทหาร อาสาสมัครและตำรวจชายแดน ทรงหยิบซองจดหมายใกล้พระหัตถ์มาตีบรรทัด ๕ เส้น เพื่อทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง เสร็จแล้วพระราชทานให้ วง อ.ส. วันศุกร์ ซึ่งกำลังบรรเลงอยู่ในงานวันขึ้นปีใหม่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๗ นำออกบรรเลง ณ พระราชวังบางปะอิน จากนั้นได้ทรงนำกลับไปแก้ไขก่อนจะพระราชทานออกมาให้วงดนตรี อ.ส.วันศุกร์ บรรเลง และทรงแก้ไขอีกจนพอพระราชหฤทัย
เนื้อเพลงเราสู้ :  บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณ ปกบ้านป้องเมืองคุ้มเหย้า เสียเลือดเสียเนื้อมิใช่เบา หน้าที่เรารักษาสืบไป ลูกหลานเหลนโหลนภายหน้า จะได้มีพสุธาอาศัย อนาคตจะต้องมีประเทศไทย มิยอมให้ผู้ใดมาทำลาย ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น จะสู้กันไม่หลบหนีหาย สู้ตรงนี้สู้ที่นี่สู้จนตาย ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู บ้านเมืองเราเราต้องรักษา อยากทำลายเชิญมาเราสู้ เกียรติศักดิ์ของเราเราเชิดชู เราสู้ไม่ถอยจนก้าวเดียว..
6.เพลงยิ้มสู้ หรือ Smiles เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ ลำดับที่ ๑๖ ทรงพระราชนิพนธ์ใน พ.ศ. ๒๔๙๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ นิพนธ์คำร้องภาษาไทย เพื่อเป็นการปลอบขวัญและให้กำลังใจแก่คนตาบอด แล้วพระราชทานให้นำไปบรรเลง ในงานสมาคมช่วยคนตาบอด ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ เวทีลีลาศสวนอัมพร เมื่อวันเสาร์ที่ ๑ มีนาคม ๒๔๙๕ ส่วนคำร้องภาษาอังกฤษ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ทรงนิพนธ์ในปีต่อมา
 เนื้อเพลงยิ้มสู้ :โลกจะสุขสบายนั้นเป็นได้หลายทาง
ต้องหลบสิ่งกีดขวางหนทางให้พ้นไป
จะสบความสุขสันต์สำคัญที่ใจ
สุขและทุกข์อย่างไรเพราะใจตนเอง
ฝ่าลู่ทางชีวิตต้องคิดเฝ้าย้อมใจ
โลกมืดมนเพียงใดหัวใจอย่าคร้ามเกรง
ตั้งหน้าชื่นเอาไว้ย้อมใจด้วยเพลง
ไยนึกกลัวหวาดเกรงยิ้มสู้
คนเป็นคนจะจนหรือมี
ร้ายหรือดีคงมีหวังอยู่
ยามปวงมารมาพาลลบหลู่
ยิ้มละมัยใจสู้หมู่มวลเภทภัย
ใฝ่กระทำความดีให้มีจิตโสภา
สร้างแต่ความเมตตาหาความสุขสันต์ไป
จะสบความสุขสันต์สำคัญที่ใจ
เฝ้าแต่ยิ้มสู้ไปแล้วใจชื่นบาน
7. ความฝันอันสูงสุด เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 43 ทรงพระราชนิพนธ์ใน พ.ศ. 2514 เมื่อ พ.ศ. 2512 ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค ได้รับพระราชเสาวนีย์จาก สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ให้เขียนบทกลอนแสดงความนิยมส่งเสริมคนดีให้มีกำลังใจทำงานเพื่ออุดมคติเพื่อประเทศชาติ ออกมาเป็นกลอน 5 บท สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถโปรดให้พิมพ์บทกลอนนี้ลงในกระดาษการ์ดแผ่นเล็ก ๆ พระราชทานแก่ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ พลเรือน และผู้ทำงานเพื่อประเทศชาติ เตือนสติมิให้ท้อถอยในการทำความดี ต่อมา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถได้กราบบังคมทูลพระกรุณาขอให้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงใส่ทำนองเพลงในคำกลอน 
8."ความฝันอันสูงสุด" ใน พ.ศ. 2514 ขับร้องโดย ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค  เนื้อเพลงความฝันอันสูงสุด : ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ ขอสู้ศึกทุกเมื่อไม่หวั่นไหว ขอทนทุกข์รุกโรมโหมกายใจ ขอฝ่าฟันผองภัยด้วยใจทะนง จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด จะรักชาติจนชีวิตเป็นผุยผง จะยอมตายหมายให้เกียรติดำรง จะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา ไม่ท้อถอยคอยสร้างสิ่งที่ควร ไม่เรรวนพะว้าพะวังคิดกังขา ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป นี่คือปณิธานที่หาญมุ่ง หมายผดุงยุติธรรม์อันสดใส ถึงทนทุกข์ทรมานนานเท่าใด ยังมั่นใจรักชาติองอาจครัน โลกมนุษย์ย่อมจะดีกว่านี้แน่ เพราะมีผู้ไม่ยอมแพ้แม้ถูกหยัน คงยืนหยัดสู้ไปใฝ่ประจัญ ยอมอาสัญก็เพราะปองเทิดผองไทย
 9.เพลงแสงเดือน เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๗ ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๐๑ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ นิพนธ์คำร้องทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย เพลงพระราชนิพนธ์นี้มีลีลาชดช้อย อ่อนหวาน สง่างาม เหมาะสำหรับประกอบการเต้นบัลเล่ต์ จึงได้พระราชทานให้อัญเชิญไปประกอบการแสดงบัลเล่ต์ในงานสมาคมนักเรียนเก่าอังกฤษในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ เวทีลีลาศสวนอัมพร เมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๑ ต่อมาได้นำออกบรรเลงในงานสมาคมนักเรียนเก่าสหรัฐอเมริกาในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๑
เนื้อเพลงแสงเดือน : นวล...แสงนวลผ่องงามตา แสงจันทรา...ส่องเรืองฟากฟ้าไกล งาม...แสงงามผ่องอำไพ ย้อมดวงใจ...ให้คงคลั่งใคล้เดือนชมแล้วชมเล่า เฝ้าชะแง้แลดู เพลินพิศเพลินอยู่ ไม่รู้ลืมเลือน เดือน...แสงเดือนผ่องวันเพ็ญ  แสงจันทร์เพ็ญ...เด่นงามใดจะเหมือน โฉมงามเทียบ เปรียบเดือนแสงงาม  เพลงแสงเทียน เป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรก ทรงพระราชนิพนธ์ในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ครั้งดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะบลูส์ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ นิพนธ์คำร้องภาษาไทย แต่เนื่องจากมีพระราชประสงค์ ที่จะทรงแก้ไขทำนอง และคอร์ดบางตอน จึงยังไม่โปรดเกล้าฯ พระราชทานให้นำออกมา บรรเลงในเวลานั้น ต่อมา ได้พระราชทานให้นำออกบรรเลงครั้งแรก พ.ศ. ๒๔๙๐ และใน พ.ศ. ๒๔๙๖ นางสาวสดใส วานิชวัฒนา (รองศาสตราจารย์ สดใส พันธุมโกมล) ประพันธ์คำร้องภาษาอังกฤษถวายจุดเทียนบวงสรวงปวงเทพเจ้า
สวดมนต์ค่ำเช้าถึงคราวระทมทน
โอ้ชีวิตหนอล้วนรอความตายทุกคน
หลีกไปไม่พ้นทุกข์ทนอาทรร้อนใจ
ต่างคนเกิดแล้วตายไป
ชดใช้เวรกรรมจากจร
นิจจังสังขารนั้นไม่เที่ยงเสี่ยงบุญกรรม
ทุกคนเคยทำกรรมไว้ก่อน
เชิญปวงเทวดาข้าไหว้วอน
ขอพรคุ้มไปชีวิตหน้า
ทนทรมานมามากแล้วจะกราบลา
หนีปวงโรคาที่เบียดเบียน
แสงแววชีวาเปรียบแสงเทียน
เปรียบเทียนสิ้นแสงยามแรงลมเป่า
ชีพดับอับเฉาเหมือนเงาไร้ดวงเทียน
จุดเทียนถวายหมายบนบูชาร้องเรียน
โรคภัยเบียดเบียนแสงเทียนทานลมพัดโบย
โรครุมเร่าร้อนแรงโรย
หวนโหยอาวรณ์อ่อนใจ
ทำบุญทำทานกันไว้เถิดเกิดเป็นคน
ไว้เตรียมผจญชีวิตใหม่
เคยทำบุญทำคุณปางก่อนใด
ขอบุญคุ้มไปชีวิตหน้า
ทนทรมานมามากแล้วจะกราบลา
แสงเทียนบูชาจะดับพลัน
แสงเทียนบูชาดับลับไป
.10..เพลงยามเย็น  เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒ ทรงพระราชนิพนธ์ ใน พ.ศ. ๒๔๘๙ ขณะยังทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะฟ็อกซ์ทร็อต ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ นิพนธ์คำร้องภาษาไทย และท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา แต่งคำร้องภาษาอังกฤษ แล้วพระราชทานเพลงพระราชนิพนธ์ที่มีคำต้องสมบูรณ์ให้นายเอื้อ สุนทรสนาน นำออกบรรเลงในงานของสมาคมปราบวัณโรค ณ เวทีลีลาศสวนอัมพร เมื่อวันเสาร์ที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ นับเป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรกที่นำออกบรรเลงสู่ประชาชน เป็นเพลงที่ร่าเริงแจ่มใสเหมาะสำหรับการเต้นรำในสมัยนั้น จึงเป็นเพลงยอดนิยมของพสกนิกรไทยทันที
 แดดรอนรอน
เมื่อทินกรจะลับเหลี่ยมเมฆา
ทอแสงเรืองอร่ามช่างงามตา
ในนภาสลับจับอัมพร
แดดรอนรอน
เมื่อทินกรจะลาโลกไปไกล
ยามนี้จำต้องพรากจากดวงใจ
ไกลแสนไกลสุดห่วงยอดดวงตา
แต่ก่อนเคยคลอเคลียกัน
ทุกวันคืนรื่นอุรา
ต้องอยู่เดียวเปลี่ยนวิญญาณ์ 
เหมือนดังนภาไร้ทินกร
แดดรอนรอน 
หากทินกรจะลาโลกไปไกล
ความรักเราคงอยู่คู่กันไป 
ในหัวใจคงอยู่คู่เชยชม
แดดรอนรอน 
หมู่มวลภมรบินลอยล่องตามลม
คลอเคล้าพฤกษาชาติชื่นเชยชม 
ชมสมตามอารมณ์ล่องเลยไป
ลิ่วลมโชย 
กลิ่นพรรณไม้โปรยโรยร่วงห่วงอาลัย
ยามสายัณห์พลันพรากจากดวงใจ 
คอยแสงทองวันใหม่กลับคืนมา
แต่ก่อนเคยคลอเคลียกัน
ทุกวันคืนชื่นอุรา
ต้องอยู่เดียวเปลี่ยววิญญาณ์ 
เหมือนดังนภาไร้ทินกร
โอ้ยามเย็น 
จวบยามนี้เป็นเวลาสุดอาวรณ์
ยามไร้ความสว่างห่างทินกร 
ยามรักจำจะจรจากกันไป
 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 431 คน กำลังออนไลน์