• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ปัญหา \'access denied\'', 'node/16901', '', '18.219.71.16', 0, '35a5eb64d7c5f522c3f67b8cc15389ee', 131, 1717094483) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:98ee9319da98337582031fc0f0cfcb0b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffff\">ถ่ายภาพเบื้องต้น หรือ จะ ถ่ายรูปเบื้องต้น กล้องมือใหม่ เริ่มตรงนี้ครับ ..</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #ffcc00\"><span style=\"color: #008000\"><strong>ข้อผิดพลาดของมือใหม่ 10 ประการ                                                                                                              <br />\n</strong>            ผู้มีกล้องทุกคนจะลดข้อผิดพลาดในการถ่ายภาพได้มาก หากอ่าน 10 ข้อนี้                                                            <br />\nเริ่มต้นตรงนี้ได้เลยครับ สำหรับผู้ที่พึ่งซื้อกล้องมาเป็นครั้งแรก หรือ ซื้อมาแล้วยังไม่ได้ฝึกฝนผมได้รวมรวม 10 ข้อผิดพลาดที่มือใหม่ทุก  ท่านควรเรียนรู้ ทั้งหมดนี้ไม่ยากเกินไปครับ....                                                                                                        <br />\n     หลายท่านซื้อกล้องมาแล้ว ใช้ไม่เป็น บางท่านกล้องดีมาก ๆ เลยใช้แค่ปุ่ม Auto เท่านั้น ที่น่าเสียดายยิ่งกว่า คือ  โอกาสสำคัญ ที่เราไปเที่ยวเสียค่าเดินทาง นับ 1000  บางครั้งไปต่างประเทศจ่ายเป็น 10000  ถึง หลายหมื่นบาท แต่ถ่ายภาพมาไม่ได้ดังใจเลย การ กลับไปถ่ายใหม่ก็ไม่ง่ายเสียด้วยสิ...</span>                                                                                                                   </span></span> \n</p>\n<p align=\"center\">\n         <strong>       <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\">1 ไม่ยอมใช้ขาตั้งกล้องเมื่อมีแสงน้อย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffcc\">  </span><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\"><span style=\"background-color: #ccffcc\">  </span> ลำดับแรกที่มือใหม่ ไม่ค่อยนึกถึง เลย คือขาตั้งกล้องครับ หลายคนนึกว่าเราใช้ ขาตั้งกล้อง เฉพาะตอนถ่ายภาพตัวเองเท่านั้น เป็น อย่างนี้จริง ๆ คือไม่นึกว่าจะใช้ทำไม จริง ๆ แล้ว เราใช้ขาตั้งกล้อง เพื่อให้กล้องนิ่ง ขณะกดชัตเตอร์ ครับ ภาพจะได้คมชัด ไม่ต้องตกใจ ว่าทำไม ช่างภาพหลายคนถึงแบกขาตั้งกล้องติดตัวไปด้วยเสมอ    แม้บางครั้ง กลางวันแดดออกดี เขาก็ยังใช้ขาตั้งกล้อง กันเลย ก็    เพราะว่าบางสถานะการ เราต้องบังคับให้กล้องถ่ายภาพด้วยความเร็วชัตเตอร์ต่ำ แม้มีแสงสว่างมากพอ                                     </span><span style=\"background-color: #ccffcc\">  </span>\n</p>\n<p>\n                      <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB01A.jpg\" height=\"225\" /><br />\n      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                    <strong>      <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\">ภาพที่ 1</span></strong>\n</p>\n<p>\n    <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\"> ภาพนี้ถ่ายโดยไม่ใช้ขาตั้งกล้อง ผลคือภาพเบลอ</span>\n</p>\n<p>\n      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB01B.jpg\" height=\"225\" />\n</p>\n<p>\n                      \n</p>\n<p>\n                         \n</p>\n<p>\n                          <strong> <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\">ภาพที่ 2</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\">ผมยอมเสียเวลา ประกอบกับคนไม่มากนัก ก็เลยใช้ขาตั้งกล้องได้สะดวก เห็นไหมครับว่า คุ้มค่าเพียงใด</span>\n</p>\n<p>\n              \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffcc\">     </span><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\"> <strong>สรุป เราได้อะไรจากบทนี้                                                      </strong><br />\n        1. หากพบว่าในที่ที่เราจะถ่ายภาพมีแสงน้อย ควรใช้ขาตั้งกล้องเสมอ    <br />\n        2. หากให้นิ่งยิ่งขึ้น ก็ควรใช้การลั่นชัตเตอร์แบบตั้งเวลาอัติโนมัติ นะครับ</span><br />\n          \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #000000; background-color: #ccffff\"> 2 ถ่ายรูปแล้วแบน ไม่มีมิติ มือใหม่ส่วนใหญ่ถ่ายรูปแบบนี้</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ccffff\">ภาพแบน หมายถึงอะไร ลองดูตัวอย่างด้านล่างซิครับ</span>\n</p>\n<p>\n                      <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB02B.jpg\" height=\"200\" /><br />\n       \n</p>\n<p>\n                                                       \n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>                                                                                                       <span style=\"color: #000000; background-color: #ccffff\">ภาพที่ 1</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000; background-color: #ccffff\">          เราก็ถ่ายภาพพระเอกของสถานที่มาแล้วเชียว แต่ภาพนี้ ดู   แล้ว ขาดมิติ คือ อุตส่าห์ไปเที่ยวมาแล้ว ลองดูภาพด้านล่างเปรียบ  เทียบจะ  เข้าใจมากขึ้นครับ...  ว่าทำไมจึงเรียกว่าขาดมิติ หรือ ภาพแบน                                                                           </span> \n</p>\n<p>\n                     \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                                                                                        \n</p>\n<p>\n                             <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB02AA.jpg\" height=\"200\" />                                                                               <strong>  </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong> <span style=\"background-color: #ccffff\">ภาพที่ 2</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000; background-color: #ccffff\">     จะพบว่า ภาพเดียวกัน แต่มีความรู้สึกที่แตกต่าง ออกไป เพราะ     <br />\nภาพนี้มีฉากหน้า คือหมู่มวลดอกไม้ แล้วมองลึกเข้าไปถึงเห็น หอรัช    มงคล ซึ่งเป็น พระเอก ดูมีมิติ ตื้นลึก มากกว่า เราจะเห็นภาพที่เขาถ่าย โฆษณา และ ภาพสวย ๆ ส่วนใหญ่ที่ลง ตามวารสาร มักจะเป็นภาพที่มี มิติ แบบนี้ทั้งสิ้นครับ ลองฝึกดูนะครับ จะได้ถ่ายภาพแล้วไม่แบน         <br />\nส่วนการให้ฟ้า สีฟ้าสวยสดใส ในเบื้องต้นแนะนำว่า ไม่ควรถ่ายภาพย้อน แสง ควรหันหลังให้ดวงอาทิตย์ครับ แล้วฟ้าจะสวยขึ้น                     </span><br />\n                  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n      <strong><span style=\"color: #000000; background-color: #ccffff\">สรุป เราได้อะไรจากบทนี้</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n                                                                 <span style=\"color: #000000; background-color: #ccffff\"> 1. ถ่ายภาพให้มี ฉากหน้า และ ฉากหลัง ด้วย ทำให้ภาพมีมิติมากขึ้น<br />\n<span style=\"background-color: #ffffff\">                                                                  </span> 2. ศึกษาภาพเก่า ๆ ที่เราเคยถ่ายไป แล้วพัฒนาฝีมือขึ้นนะครับ       </span> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">3 ไม่รู้จะทำอย่างไร เมื่อถ่ายย้อนแสง ภาพออกมามืดหมดเลย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">         ภาพแบบนี้มือใหม่ พบกันมากเลย แล้วก็ไม่รู้จะแก้ไขอย่างไรด้วย คือ ถ่ายภาพออกมาแล้ว ออกดำ มืด อย่างรูปข้างล่างนี้หมด  เลย และเป็นบ่อย ๆ ด้วย สำคัญที่สุดคือ พยายามอย่าถ่ายรูปย้อนแสง ถ้าไม่สามารถแก้ไขได้จริง ๆ ก็ให้ดูแนวทางตามรูปที่ 1 และ 2 ด้านล่างครับ                                                                                                                                             </span><br />\n                       \n</p>\n<p>\n                     <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB03A_0.jpg\" height=\"200\" /><br />\n                        \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                              <strong>  <span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">ภาพที่ 1</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">จะเห็นว่าฉากหลังมีความสว่างมาก ทำให้การถ่ายภาพของเราเป็นการ  ย้อนแสง และ ภาพแบบนี้ก็ไม่สามารถใช้ แฟลชช่วยได้ เพราะภาพขนาดใหญ่ และ อยู่ห่างไกล                                                         </span> \n</p>\n<p>\n                     \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB03B.jpg\" height=\"200\" />\n</p>\n<p>\n      \n</p>\n<p>\n                            <strong>    <span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">ภาพที่ 2</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">การถ่ายภาพแบบนี้ให้ลองค้นดูในกล้อง เรื่องระบบวัดแสงให้เปลี่ยนมา  ใช้ระบบวัดแสงเฉพาะจุด ตามรูปแล้ววัดแสงไปที่ตัวอาคาร พระที่นั่ง ผลก็คือเราจะได้ภาพที่เห็นรายละเอียดมากขึ้น แต่ท้องฟ้าก็จะขาวไปบ้าง  เป็นธรรมดา เพราะกล้องจะวัดแสงและชดเชยค่าโดยยึดเอาจุดที่เราเล็งโฟกัส เป็นสำคัญ                                                               <br />\n    ลองดูนะครับ กล้องส่วนใหญ่ในยุคนี้มีระบบวัดแสงเฉพาะจุดมาให้    แล้วทั้งสิ้น ที่สำคัญอย่าลืมเปลี่ยนค่ากลับไปเป็นระบบวัดแสงแบบ      ปรกติ ด้วยนะครับ ไม่งั้นภาพถ่ายอื่นๆ จะเสียได้เพราะวัดแสงผิด          </span><br />\n                    \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">  <strong>สรุป เราได้อะไรจากบทนี้                                                 </strong><br />\n        1. ไม่จำเป็นไม่ควรถ่ายภาพย้อนแสง                                <br />\n        2. หากต้องถ่ายจริง ๆ ก็ให้ใช้ระบบวัดแสงเฉพาะจุด              <br />\n           และ ต้องไม่ลืมเปลี่ยนค่ากลับไปเป็นระบบเดิม ด้วย            </span> \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\">4 เปิดแฟลซแล้ว ฉากหลังหายไปหมด เห็นแต่คน เสียดายจัง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\">    เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นบ่อยมาก ๆ โดยเฉพาะในการถ่ายภาพเวลากลางคืน ผมขอคุยซ้ำอีกทีนะครับ คือถ่ายมาแล้ว ฉากหลังสวย ๆ ไม่เห็นอะไรเลย ได้แต่คน กับ ฉากหลังดำ ๆ                                                                                                                    </span> \n</p>\n<p>\n                      <br />\n                             <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"201\" src=\"/files/u6520/AB04A.jpg\" height=\"300\" />      \n</p>\n<p>\n      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                    <strong> <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\"> ภาพที่ 1</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\">เปิดแฟลชถ่ายภาพ ตอนกลางคืน ทำให้ ฉากหลังหายไปหมดเลย เสียดายมากเพราะ<br />\n ฉากหลังสวยมากๆ แก้ไขอย่างไร ดูภาพที่ 2 ได้ครับ                                     </span> \n</p>\n<p>\n       \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n               <br />\n                                                           \n</p>\n<p>\n             <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"201\" src=\"/files/u6520/AB04B.jpg\" height=\"300\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n                                <strong>      <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\">ภาพที่ 2</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\"> ถ้ากล้องมีระบบ Slow Sync Flash ให้ใช้ตอนนี้เลยครับ แล้วลองถ่ายภาพดูอีกครั้ง ที่สำคัญ Slow Sync Flash คือการถ่ายภาพที่ความเร็วชัตเตอร์ต่ำ ผลคือถ้ามือไม่นิ่งภาพจะสั่นได้ ต้องระวังอย่าให้มือสั่นนะครับถ้าหากไม่รู้ว่าจะหา Slow Sync Flash ได้อย่างไร ก็ให้หมุนกล้อง มาที่โหมด S แล้วตั้งค่าความเร็วให้อยู่ที่ 30-60 ส่วนวินาทีดูครับ ตั้งต่ำกว่านี้ก็ได้แต่ควรใช้ ขาตั้งกล้อง ก็จะได้ภาพคนพร้อมกับฉากหลังที่สวยงามอย่างในรูปครับ                          </span><br />\n                     <br />\n      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                                      <span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>สรุป เราได้อะไรจากบทนี้</strong><br />\n</span></span>                                                          <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\"> 1. ถ่ายภาพกลางคืนแล้วต้องการให้เห็นฉากหลังใช้ Slow Sync Flash                  <br />\n<span style=\"background-color: #ffffff\">                                                          </span> 2. แต่ให้ระวังกล้องสั่น หรือ ควรใช้ขาตั้งกล้อง                                              <br />\n<span style=\"background-color: #ffffff\">                                                          </span> 3. หากไม่รู้จะตั้งระบบแฟลช อย่างไร ตั้งกล้องไปที่โหมด S ก็ได้ แล้วลดเวลาลงครับ  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">5 พบสถานที่ห้ามใช้แฟลซ แล้วถ่ายภาพไม่ได้เลย ทำอย่างไรดี</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">     เหตุการณ์นี้เจอบ่อย ๆ เหมือนกันเวลาไปเที่ยว คือ เขาห้ามใช้แฟลช อย่างตัวอย่างในภาพไปเที่ยวที่เชียงใหม่ ไนท์ซาฟารี ไกด์    ห้ามใช้แฟลชเด็ดขาด หรืออย่างบางที่ เช่นสวนสัตว์เชียงใหม่ เวลาดู หมีแพนด้า ทางสวนสัตว์ เขาจะเอาสติกเกอร์มาปิดแฟลซเราไว้เลยทีเดียว มือใหม่ ทั้งหลาย หากจะต้องการถ่ายภาพให้ได้อยู่ ต้องตั้งค่าความไวแสง คือ ISO ของกล้องให้สูงขึ้น แต่อย่าลืมตั้งกลับมาเป็น 100 เหมือนเดิมหลังจากออกจากบริเวณแล้วนะครับ</span> <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB05A.jpg\" height=\"201\" />\n</p>\n<p>\n                     <br />\n      \n</p>\n<p>\n<br />\n                        <strong>   <span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\"> ภาพที่ 1</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">เนื่องจากแทบไม่มีแสงสว่างเลย ใช้ ISO 400 ยังไม่สามารถมองอะไรเห็น                                                                             </span> \n</p>\n<p>\n                     <br />\n      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                              <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB05B.jpg\" height=\"201\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n                            <strong><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">ภาพที่ 2</span></strong>\n</p>\n<p>\n   <span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\"> พอเราตั้งเป็น ISO 800 ก็จะเริ่มเห็นแล้วว่ามีกวางอยู่ 1 ตัว</span>\n</p>\n<p>\n                     <br />\n      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB05C.jpg\" alt=\"อย่ามองนาน นะตัวเอง เขาอายนะยะ\" height=\"201\" />\n</p>\n<p>\n                                <strong><span style=\"background-color: #ccffcc\">ภาพที่ 3</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">รูปนี้ตั้ง ISO ถึง 1600 ครับ จึงได้เห็นทั้งกวาง และ ลูกหมูป่า หากิน  ดินโป่ง ในเวลากลางคืน ซึ่งน่ารักมาก และ ไม่ค่อยเห็น                  ภาพอย่าง ได้ ง่าย ๆ เห็นไหมครับว่า เราก็สามารถถ่ายภาพในที่แสง  น้อยได้โดยไม่  ต้องใช้แฟลช แต่ สิ่งที่ต้องแลก ก็คือภาพจะมีเกรน   หยาบ หรือ ที่ภาษากล้องเรียบว่า noise ค่อนข้างมากนั้นเองครับ จึงควรใช้ ISO สูง ๆ เมื่อจำเป็นจริง ๆ เท่านั้น                              </span> \n</p>\n<p>\n                    \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <span style=\"background-color: #ccffcc\"><span style=\"color: #ff6600\"><strong>สรุป เราได้อะไรจากบทนี้</strong><br />\n</span></span><span style=\"background-color: #ccffcc\">        </span><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">1. ถ้าจำเป็นต้องถ่ายภาพในที่แสงน้อย จริง ๆ แล้วใช้แฟลชไม่ได้ก็ให้ตั้ง ISO สูงขึ้น                                                 <br />\n        2. ข้อเสียคือภาพจะหยาบ ขึ้นมีเกรนเล็ก ๆ เต็มภาพ ดังนั้น ควรตั้งกลับไปที่ค่า 100 หรือ ISO 200 หลังจากถ่ายภาพเสร็จแล้ว</span>\n</p>\n<p>\n    </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p align=\"center\">\n                    <strong>    <span style=\"color: #ff0000\">    <span style=\"background-color: #99ccff\"> 6 ภาพไม่ค่อยชัด เพราะไม่ยอดกดชัตเตอร์ครึ่งหนึ่ง เพื่อโฟกัส ก่อน</span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #99ccff\">     มือใหม่หลายต่อหลายคนเลย ไม่รู้เรื่องนี้ คือไม่ยอมกดชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่งก่อน ปรกติถ้า เรากดชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่ง กล้องจะโฟกัส และมีเสียงดัง ติ๊ด ติ๊ด ลองดูนะครับ สำคัญมาก ๆ ๆ แล้วค่อยกดชัตเตอร์ลงไปอีกครั้ง เพื่อบันทึกภาพ ก็จะได้ภาพที่คมชัด                </span> \n</p>\n<p>\n                     <br />\n                                   <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB06A.jpg\" height=\"200\" />\n</p>\n<p>\n                               \n</p>\n<p align=\"center\">\n   <span style=\"color: #ff0000\"> <strong>   <span style=\"background-color: #99ccff\">ภาพที่ 1</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #99ccff\">ภาพนี้ถ่ายรูปกลางวันแต่กลับเป็นภาพสั่นไปได้ เพราะว่าช่างภาพไม่ยอมโฟกัส โดยการกดชัตเตอร์ลงไปครึ่งหนึ่งก่อน น่าเสียดาย มือใหม่ทั้งหลาย ฝึกเรื่องนี้ให้เก่งนะครับผม</span>\n</p>\n<p>\n                    \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n      <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" /> <strong><span style=\"color: #ff0000; background-color: #99ccff\">ภาพที่ 2</span></strong> <span style=\"color: #ff0000; background-color: #99ccff\">แต่พอเราโฟกัสก่อน ให้กดค้างไว้ จนพอใจ แล้วกดชัตเตอร์ลงไปให้สุด หลังจาก<br />\n ได้ยินเสียงติด ติด หรือ มีสัญญาญไฟเขียวในกล้อง แล้วแต่กล้อง ก็จะได้ภาพที่คมชัดสวยงาม</span>\n</p>\n<p>\n                <br />\n                 \n</p>\n<p>\n  <strong><span style=\"color: #ff0000; background-color: #99ccff\">สรุป เราได้อะไรจากบทนี้</span></strong><br />\n       <span style=\"color: #ff0000; background-color: #99ccff\"> 1. ก่อนถ่ายภาพทุกครั้งควรกดชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่งเพื่อโฟกัสก่อนเสมอ<br />\n        2. ภาพจะคมชัดขึ้น เราสามารถกดค้างไว้แล้วขยับกรอบไปมาให้พระเอกอยู่ข้าง ๆ<br />\n  ไม่ต้องอยู่ตรงกลางรูปก็ได้ ทำให้พระเอกชัดแม้ไม่ต้องอยู่กลางภาพ ลองฝึกดูนะครับ</span>\n</p>\n<p>\n07 ถ่ายอย่างไร ให้ฉากหลังเบลอ คนโดดเด่น\n</p>\n<p>\n     อันนี้จะว่าเป็นเรื่องของมือใหม่ก็ไม่น่าจะใช่ แต่ก็ไม่ได้ยากเกินไป นำมาให้มือใหม่ได้รู้ไว้ก็ดี<br />\n เพราะหลายคนถ่ายภาพมาแล้วฉากหลังรก รุง รัง พระเอก นางเอก เลยไม่โดดเด่น ลองดูตัวอย่าง<br />\n ด้านล่างนี้นะครับ\n</p>\n<p>\n                     <br />\n       ภาพที่ 1 รูปนี้ถ่ายด้วยรูรับแสง F16 ทำให้เห็นภาพฉากหลังมากเกินไปดูหลักการแก้ไข<br />\n ในภาพที่ 2 ครับ\n</p>\n<p>\n                     <br />\n       ภาพที่ 2 ภาพนี้ตั้งกล้องที่โหมด A ใช้รูรับแสง F2.8 แล้วเลือกฉากหลังไกล ๆ ถ่ายภาพ<br />\n ด้วยการซูมให้มากที่สุด ผลก็คือได้ภาพหลังเบลอครับ กล้องบางตัวเวลาซูมมาก ๆ แล้วค่า<br />\n รูรับแสงอาจเพิ่มขึ้นเอง คือมากว่า 2.8 ตามคุณสมบัติของเลสน์ครับ\n</p>\n<p>\n                     \n</p>\n<p>\n  สรุป เราได้อะไรจากบทนี้<br />\n        1. การถ่ายภาพให้ฉากหลังเบลอ คือใช้รูรับแสงที่มีตัวเลขน้อย ๆ เช่น F 2.8<br />\n        2. ใช้ระยะซูมให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ แต่ ถ้าซูมมาก ๆ อาจทำให้ภาพดูแบนได้<br />\n           แต่ก็จะเบลอดีครับ<br />\n        3. เลือกฉากหลังให้ไกล ๆ แบบสักหน่อยก็จะดี<br />\n        4. แถมสุดท้ายคือ เข้าไปใกล้ตัวแบบให้มากที่สุดตราบเท่าที่เรายังใช้ช่วงซูมได้เ\n</p>\n<p>\n08 โหมด S หรือ Tv ในกล้องใช้งานเมื่อไร..\n</p>\n<p>\n     โหมด S หรือ Tv เป็นโหมดที่ควบคุมความเร็วของชัตเตอร์ ภาพที่ 1 และ 2 เป็นภาพที่<br />\n แสดงถึงการใช้ชัตเตอร์ความเร็วสูง ๆ ส่วนภาพที่ 3 และ 4 เป็นผลการของการความเร็ว<br />\n ชัตเตอร์ต่ำ ๆ ลองดูกันเลยนะครับ\n</p>\n<p>\n                     <br />\n       ภาพที่ 1 ภาพนี้ถ่ายด้วยความเร็วชัตเตอร์ 1/100 วินาที ไม่สามารถหยุดนกที่บินได้\n</p>\n<p>\n                     <br />\n       ภาพที่ 2 ภาพนี้ถ่ายด้วยความเร็ว 1/1250 วินาที สามารถหยุดนกได้กลางอากาศเลย<br />\n ทีเดียว เราใช้ความเร็วชัตเตอร์สูง ๆ กรณีถ่ายภาพเคลื่อนไหวแบบนี้ครับ\n</p>\n<p>\n                     <br />\n       ภาพที่ 3 ภาพนี้ถ่ายด้วยความเร็ว 1/128 วินาที ก็ดูไม่เสียหายอะไร แต่สังเกตุว่าสายน้ำ<br />\n จะไม่สวยงาม คือไม่พริ้วไหว นุ่มนวล ลองดูภาพที่ 4 ซิครับ\n</p>\n<p>\n                 <br />\n                     <br />\n       ภาพที่ 4 ภาพนี้ถ่ายด้วยความเร็ว 1/10 วินาที ผลที่ได้คือ น้ำจะนุ่มนวลเป็นสายสวยงาม<br />\n ความเร็วชัตเตอร์ต่ำ ๆ เขาจึงมักเอาไว้ถ่ายภาพน้ำตกกันครับ แต่ควรใช้ขาตั้งกล้องเพื่อป้องกัน<br />\n ภาพสั่น เห็นหรือยังครับว่าทำไมกลางวัน แท้ ๆ ช่างกล้องเขายังใช้ขาตั้งกล้องกัน\n</p>\n<p>\n  สรุป เราได้อะไรจากบทนี้<br />\n        1.ความเร็วชัตเตอร์สูง ๆ เอาไว้ถ่ายภาพเคลื่อนไหว<br />\n        2.ความเร็วชัตเตอร์ต่ำ ๆ เอาไว้ถ่ายภาพจำพวก น้ำตก น้ำพุ ให้เป็นสายนุ่มนวลสวยงา<br />\n 09 ถ่ายภาพสีขาว ทำไม ไม่ยอมขาวสักที\n</p>\n<p>\n     เนื่องจากปรกติกล้องจะใช้ระบบวัดแสงแบบเฉลี่ยพื้นที่ คือ นำค่าแสงทั้งภาพมารวมกัน<br />\n ผลก็คือ ทำให้สีขาวที่เราถ่ายมักจะไม่ยอมขาว จั๊ว อย่างใจ ลองดูภาพข้างล่างสิครับ\n</p>\n<p>\n                     <br />\n       ภาพที่ 1 ภาพนี้ถ่ายโดยไม่ชดเชยแสง ผลคือ หุ่นสีขาว กลับกลายเป็นสีเท่าหม่น ๆ\n</p>\n<p>\n                     <br />\n       ภาพที่ 2 พอชดเชยแสง 1 ระดับ ก็ทำให้หุ่นมีสีขาวเหมือนอย่างที่ควรจะเป็น\n</p>\n<p>\n  สรุป เราได้อะไรจากบทนี้<br />\n        1. บางครั้งหากกล้องไม่สามารถถ่ายทอดสีได้สมจริง ในโทนสีขาวหรือสด ให้แก้ปัญหา<br />\n โดยชดเชยแสงไปในทาง +<br />\n        2.หากกล้องไม่สามารถถ่ายทอดสีได้สมจริง ในโทนสีดำหรือทึบ ให้แก้ปัญหา<br />\n โดยชดเชยแสงไปในทาง -<br />\n <br />\n10 ถ่ายภาพออกโทนเขียว ทั้งภาพเลย แก้ไขอย่างไรดี\n</p>\n<p>\n  มือใหม่ หรือ มือกลาง ๆ แทบจะทั้งหมด มักจะไม่ให้ความสำคัญกับสมดุลแสงขาว หรือ ที่<br />\n ภาษากล้องเรียกว่า white balance ผลคือภาพที่ถ่ายมา ติดเขียว ติดฟ้า หรือ ติดออกแดง<br />\n หลายท่านก็ไม่รู้ด้วยซ้ำว่าผิดปรกติตรงไหน ลองดูรูปที่ 1 และ 2 ดูซิครับ\n</p>\n<p>\n                     <br />\n       ภาพที่ 1 ภาพนี้ถ่ายด้วย สมดุลแสงขาว กลางวัน หรือ Day light<br />\n     ผลคือภาพอมเขียวทั้งภาพเลย แพนด้าก็เลยไม่สวย ถ่ายมาแล้วก็เสียดาย ยิ่งเขาให้เข้าชม<br />\n     ได้เพียงครั้งละ 10 นาที เท่านั้น ลองดูการแก้ไขด้านล่างซิครับ\n</p>\n<p>\n                     <br />\n       ภาพที่ 2ภาพนี้ถ่ายด้วย สมดุลแสงขาว  shade หรือ ภาพในร่ม ในอาคาร<br />\n ก็จะได้ภาพแพนด้า ที่น่ารัก ด้วยสีที่สมจริง มากขึ้น ลองเรียนรู้จากคู่มือกล้องให้มาก ๆ แล้ว<br />\n ท่านจะก้าวผ่านมือใหม่ได้โดยเร็วครับ\n</p>\n<p>\n                 \n</p>\n<p>\n  สรุป เราได้อะไรจากบทนี้<br />\n        1. ควรรู้ว่าสถานการณ์ที่เราอยู่นั้นควรถ่ายภาพด้วย สมดุลแสงขาวอย่างไร<br />\n        2. ศึกษาเรื่องนี้ให้ดีนะครับ แล้วคุณจะถ่ายภาพได้สวยขึ้นไม่ติดเขียว ติดฟ้า หรือแดง<br />\n        3. หากอ่านมาถึง ก็นี้ แล้วแก้ไขปัญหาของมือใหม่ได้ทั้ง 10 ข้อ คุณก็เป็นช่างภาพ<br />\n   ที่เก่งขึ้นมากแล้วครับ การไปเที่ยวครั้งต่อไป ขอให้ได้ภาพสวย ๆ มากขึ้นนะครับ หรือหาก<br />\n   ยังไม่เข้าใจ อ่านคู่มือแล้วก็ยังงง ๆ ก็มาอบรมภาพปฏิบัติกับเราได้ครับ ท่านจะได้ใช้กล้อง<br />\n  เกือบทุกปุ่ม ใช้คุ้มค่าขึ้นแน่นอน.....\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1717094493, expire = 1717180893, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:98ee9319da98337582031fc0f0cfcb0b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3784b979bdc1325038d053d834742afa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffff\">ถ่ายภาพเบื้องต้น หรือ จะ ถ่ายรูปเบื้องต้น กล้องมือใหม่ เริ่มตรงนี้ครับ ..</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #ffcc00\"><span style=\"color: #008000\"><strong>ข้อผิดพลาดของมือใหม่ 10 ประการ                                                                                                              <br />\n</strong>            ผู้มีกล้องทุกคนจะลดข้อผิดพลาดในการถ่ายภาพได้มาก หากอ่าน 10 ข้อนี้                                                            <br />\nเริ่มต้นตรงนี้ได้เลยครับ สำหรับผู้ที่พึ่งซื้อกล้องมาเป็นครั้งแรก หรือ ซื้อมาแล้วยังไม่ได้ฝึกฝนผมได้รวมรวม 10 ข้อผิดพลาดที่มือใหม่ทุก  ท่านควรเรียนรู้ ทั้งหมดนี้ไม่ยากเกินไปครับ....                                                                                                        <br />\n     หลายท่านซื้อกล้องมาแล้ว ใช้ไม่เป็น บางท่านกล้องดีมาก ๆ เลยใช้แค่ปุ่ม Auto เท่านั้น ที่น่าเสียดายยิ่งกว่า คือ  โอกาสสำคัญ ที่เราไปเที่ยวเสียค่าเดินทาง นับ 1000  บางครั้งไปต่างประเทศจ่ายเป็น 10000  ถึง หลายหมื่นบาท แต่ถ่ายภาพมาไม่ได้ดังใจเลย การ กลับไปถ่ายใหม่ก็ไม่ง่ายเสียด้วยสิ...</span>                                                                                                                   </span></span> \n</p>\n<p align=\"center\">\n         <strong>       <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\">1 ไม่ยอมใช้ขาตั้งกล้องเมื่อมีแสงน้อย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffcc\">  </span><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\"><span style=\"background-color: #ccffcc\">  </span> ลำดับแรกที่มือใหม่ ไม่ค่อยนึกถึง เลย คือขาตั้งกล้องครับ หลายคนนึกว่าเราใช้ ขาตั้งกล้อง เฉพาะตอนถ่ายภาพตัวเองเท่านั้น เป็น อย่างนี้จริง ๆ คือไม่นึกว่าจะใช้ทำไม จริง ๆ แล้ว เราใช้ขาตั้งกล้อง เพื่อให้กล้องนิ่ง ขณะกดชัตเตอร์ ครับ ภาพจะได้คมชัด ไม่ต้องตกใจ ว่าทำไม ช่างภาพหลายคนถึงแบกขาตั้งกล้องติดตัวไปด้วยเสมอ    แม้บางครั้ง กลางวันแดดออกดี เขาก็ยังใช้ขาตั้งกล้อง กันเลย ก็    เพราะว่าบางสถานะการ เราต้องบังคับให้กล้องถ่ายภาพด้วยความเร็วชัตเตอร์ต่ำ แม้มีแสงสว่างมากพอ                                     </span><span style=\"background-color: #ccffcc\">  </span>\n</p>\n<p>\n                      <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB01A.jpg\" height=\"225\" /><br />\n      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                    <strong>      <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\">ภาพที่ 1</span></strong>\n</p>\n<p>\n    <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\"> ภาพนี้ถ่ายโดยไม่ใช้ขาตั้งกล้อง ผลคือภาพเบลอ</span>\n</p>\n<p>\n      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB01B.jpg\" height=\"225\" />\n</p>\n<p>\n                      \n</p>\n<p>\n                         \n</p>\n<p>\n                          <strong> <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\">ภาพที่ 2</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\">ผมยอมเสียเวลา ประกอบกับคนไม่มากนัก ก็เลยใช้ขาตั้งกล้องได้สะดวก เห็นไหมครับว่า คุ้มค่าเพียงใด</span>\n</p>\n<p>\n              \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffcc\">     </span><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\"> <strong>สรุป เราได้อะไรจากบทนี้                                                      </strong><br />\n        1. หากพบว่าในที่ที่เราจะถ่ายภาพมีแสงน้อย ควรใช้ขาตั้งกล้องเสมอ    <br />\n        2. หากให้นิ่งยิ่งขึ้น ก็ควรใช้การลั่นชัตเตอร์แบบตั้งเวลาอัติโนมัติ นะครับ</span><br />\n          \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #000000; background-color: #ccffff\"> 2 ถ่ายรูปแล้วแบน ไม่มีมิติ มือใหม่ส่วนใหญ่ถ่ายรูปแบบนี้</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ccffff\">ภาพแบน หมายถึงอะไร ลองดูตัวอย่างด้านล่างซิครับ</span>\n</p>\n<p>\n                      <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB02B.jpg\" height=\"200\" /><br />\n       \n</p>\n<p>\n                                                       \n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>                                                                                                       <span style=\"color: #000000; background-color: #ccffff\">ภาพที่ 1</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000; background-color: #ccffff\">          เราก็ถ่ายภาพพระเอกของสถานที่มาแล้วเชียว แต่ภาพนี้ ดู   แล้ว ขาดมิติ คือ อุตส่าห์ไปเที่ยวมาแล้ว ลองดูภาพด้านล่างเปรียบ  เทียบจะ  เข้าใจมากขึ้นครับ...  ว่าทำไมจึงเรียกว่าขาดมิติ หรือ ภาพแบน                                                                           </span> \n</p>\n<p>\n                     \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                                                                                        \n</p>\n<p>\n                             <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB02AA.jpg\" height=\"200\" />                                                                               <strong>  </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong> <span style=\"background-color: #ccffff\">ภาพที่ 2</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000; background-color: #ccffff\">     จะพบว่า ภาพเดียวกัน แต่มีความรู้สึกที่แตกต่าง ออกไป เพราะ     <br />\nภาพนี้มีฉากหน้า คือหมู่มวลดอกไม้ แล้วมองลึกเข้าไปถึงเห็น หอรัช    มงคล ซึ่งเป็น พระเอก ดูมีมิติ ตื้นลึก มากกว่า เราจะเห็นภาพที่เขาถ่าย โฆษณา และ ภาพสวย ๆ ส่วนใหญ่ที่ลง ตามวารสาร มักจะเป็นภาพที่มี มิติ แบบนี้ทั้งสิ้นครับ ลองฝึกดูนะครับ จะได้ถ่ายภาพแล้วไม่แบน         <br />\nส่วนการให้ฟ้า สีฟ้าสวยสดใส ในเบื้องต้นแนะนำว่า ไม่ควรถ่ายภาพย้อน แสง ควรหันหลังให้ดวงอาทิตย์ครับ แล้วฟ้าจะสวยขึ้น                     </span><br />\n                  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n      <strong><span style=\"color: #000000; background-color: #ccffff\">สรุป เราได้อะไรจากบทนี้</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n                                                                 <span style=\"color: #000000; background-color: #ccffff\"> 1. ถ่ายภาพให้มี ฉากหน้า และ ฉากหลัง ด้วย ทำให้ภาพมีมิติมากขึ้น<br />\n<span style=\"background-color: #ffffff\">                                                                  </span> 2. ศึกษาภาพเก่า ๆ ที่เราเคยถ่ายไป แล้วพัฒนาฝีมือขึ้นนะครับ       </span> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">3 ไม่รู้จะทำอย่างไร เมื่อถ่ายย้อนแสง ภาพออกมามืดหมดเลย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">         ภาพแบบนี้มือใหม่ พบกันมากเลย แล้วก็ไม่รู้จะแก้ไขอย่างไรด้วย คือ ถ่ายภาพออกมาแล้ว ออกดำ มืด อย่างรูปข้างล่างนี้หมด  เลย และเป็นบ่อย ๆ ด้วย สำคัญที่สุดคือ พยายามอย่าถ่ายรูปย้อนแสง ถ้าไม่สามารถแก้ไขได้จริง ๆ ก็ให้ดูแนวทางตามรูปที่ 1 และ 2 ด้านล่างครับ                                                                                                                                             </span><br />\n                       \n</p>\n<p>\n                     <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB03A_0.jpg\" height=\"200\" /><br />\n                        \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                              <strong>  <span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">ภาพที่ 1</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">จะเห็นว่าฉากหลังมีความสว่างมาก ทำให้การถ่ายภาพของเราเป็นการ  ย้อนแสง และ ภาพแบบนี้ก็ไม่สามารถใช้ แฟลชช่วยได้ เพราะภาพขนาดใหญ่ และ อยู่ห่างไกล                                                         </span> \n</p>\n<p>\n                     \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB03B.jpg\" height=\"200\" />\n</p>\n<p>\n      \n</p>\n<p>\n                            <strong>    <span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">ภาพที่ 2</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">การถ่ายภาพแบบนี้ให้ลองค้นดูในกล้อง เรื่องระบบวัดแสงให้เปลี่ยนมา  ใช้ระบบวัดแสงเฉพาะจุด ตามรูปแล้ววัดแสงไปที่ตัวอาคาร พระที่นั่ง ผลก็คือเราจะได้ภาพที่เห็นรายละเอียดมากขึ้น แต่ท้องฟ้าก็จะขาวไปบ้าง  เป็นธรรมดา เพราะกล้องจะวัดแสงและชดเชยค่าโดยยึดเอาจุดที่เราเล็งโฟกัส เป็นสำคัญ                                                               <br />\n    ลองดูนะครับ กล้องส่วนใหญ่ในยุคนี้มีระบบวัดแสงเฉพาะจุดมาให้    แล้วทั้งสิ้น ที่สำคัญอย่าลืมเปลี่ยนค่ากลับไปเป็นระบบวัดแสงแบบ      ปรกติ ด้วยนะครับ ไม่งั้นภาพถ่ายอื่นๆ จะเสียได้เพราะวัดแสงผิด          </span><br />\n                    \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">  <strong>สรุป เราได้อะไรจากบทนี้                                                 </strong><br />\n        1. ไม่จำเป็นไม่ควรถ่ายภาพย้อนแสง                                <br />\n        2. หากต้องถ่ายจริง ๆ ก็ให้ใช้ระบบวัดแสงเฉพาะจุด              <br />\n           และ ต้องไม่ลืมเปลี่ยนค่ากลับไปเป็นระบบเดิม ด้วย            </span> \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\">4 เปิดแฟลซแล้ว ฉากหลังหายไปหมด เห็นแต่คน เสียดายจัง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\">    เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นบ่อยมาก ๆ โดยเฉพาะในการถ่ายภาพเวลากลางคืน ผมขอคุยซ้ำอีกทีนะครับ คือถ่ายมาแล้ว ฉากหลังสวย ๆ ไม่เห็นอะไรเลย ได้แต่คน กับ ฉากหลังดำ ๆ                                                                                                                    </span> \n</p>\n<p>\n                      <br />\n                             <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"201\" src=\"/files/u6520/AB04A.jpg\" height=\"300\" />      \n</p>\n<p>\n      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                    <strong> <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\"> ภาพที่ 1</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\">เปิดแฟลชถ่ายภาพ ตอนกลางคืน ทำให้ ฉากหลังหายไปหมดเลย เสียดายมากเพราะ<br />\n ฉากหลังสวยมากๆ แก้ไขอย่างไร ดูภาพที่ 2 ได้ครับ                                     </span> \n</p>\n<p>\n       \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n               <br />\n                                                           \n</p>\n<p>\n             <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"201\" src=\"/files/u6520/AB04B.jpg\" height=\"300\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n                                <strong>      <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\">ภาพที่ 2</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\"> ถ้ากล้องมีระบบ Slow Sync Flash ให้ใช้ตอนนี้เลยครับ แล้วลองถ่ายภาพดูอีกครั้ง ที่สำคัญ Slow Sync Flash คือการถ่ายภาพที่ความเร็วชัตเตอร์ต่ำ ผลคือถ้ามือไม่นิ่งภาพจะสั่นได้ ต้องระวังอย่าให้มือสั่นนะครับถ้าหากไม่รู้ว่าจะหา Slow Sync Flash ได้อย่างไร ก็ให้หมุนกล้อง มาที่โหมด S แล้วตั้งค่าความเร็วให้อยู่ที่ 30-60 ส่วนวินาทีดูครับ ตั้งต่ำกว่านี้ก็ได้แต่ควรใช้ ขาตั้งกล้อง ก็จะได้ภาพคนพร้อมกับฉากหลังที่สวยงามอย่างในรูปครับ                          </span><br />\n                     <br />\n      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                                      <span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>สรุป เราได้อะไรจากบทนี้</strong><br />\n</span></span>                                                          <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\"> 1. ถ่ายภาพกลางคืนแล้วต้องการให้เห็นฉากหลังใช้ Slow Sync Flash                  <br />\n<span style=\"background-color: #ffffff\">                                                          </span> 2. แต่ให้ระวังกล้องสั่น หรือ ควรใช้ขาตั้งกล้อง                                              <br />\n<span style=\"background-color: #ffffff\">                                                          </span> 3. หากไม่รู้จะตั้งระบบแฟลช อย่างไร ตั้งกล้องไปที่โหมด S ก็ได้ แล้วลดเวลาลงครับ  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">5 พบสถานที่ห้ามใช้แฟลซ แล้วถ่ายภาพไม่ได้เลย ทำอย่างไรดี</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">     เหตุการณ์นี้เจอบ่อย ๆ เหมือนกันเวลาไปเที่ยว คือ เขาห้ามใช้แฟลช อย่างตัวอย่างในภาพไปเที่ยวที่เชียงใหม่ ไนท์ซาฟารี ไกด์    ห้ามใช้แฟลชเด็ดขาด หรืออย่างบางที่ เช่นสวนสัตว์เชียงใหม่ เวลาดู หมีแพนด้า ทางสวนสัตว์ เขาจะเอาสติกเกอร์มาปิดแฟลซเราไว้เลยทีเดียว มือใหม่ ทั้งหลาย หากจะต้องการถ่ายภาพให้ได้อยู่ ต้องตั้งค่าความไวแสง คือ ISO ของกล้องให้สูงขึ้น แต่อย่าลืมตั้งกลับมาเป็น 100 เหมือนเดิมหลังจากออกจากบริเวณแล้วนะครับ</span> <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB05A.jpg\" height=\"201\" />\n</p>\n<p>\n                     <br />\n      \n</p>\n<p>\n<br />\n                        <strong>   <span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\"> ภาพที่ 1</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">เนื่องจากแทบไม่มีแสงสว่างเลย ใช้ ISO 400 ยังไม่สามารถมองอะไรเห็น                                                                             </span> \n</p>\n<p>\n                     <br />\n      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                              <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB05B.jpg\" height=\"201\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n                            <strong><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">ภาพที่ 2</span></strong>\n</p>\n<p>\n   <span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\"> พอเราตั้งเป็น ISO 800 ก็จะเริ่มเห็นแล้วว่ามีกวางอยู่ 1 ตัว</span>\n</p>\n<p>\n                     <br />\n      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" align=\"right\" width=\"300\" src=\"/files/u6520/AB05C.jpg\" alt=\"อย่ามองนาน นะตัวเอง เขาอายนะยะ\" height=\"201\" />\n</p>\n<p>\n                                <strong><span style=\"background-color: #ccffcc\">ภาพที่ 3</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">รูปนี้ตั้ง ISO ถึง 1600 ครับ จึงได้เห็นทั้งกวาง และ ลูกหมูป่า หากิน  ดินโป่ง ในเวลากลางคืน ซึ่งน่ารักมาก และ ไม่ค่อยเห็น                  ภาพอย่าง ได้ ง่าย ๆ เห็นไหมครับว่า เราก็สามารถถ่ายภาพในที่แสง  น้อยได้โดยไม่  ต้องใช้แฟลช แต่ สิ่งที่ต้องแลก ก็คือภาพจะมีเกรน   หยาบ หรือ ที่ภาษากล้องเรียบว่า noise ค่อนข้างมากนั้นเองครับ จึงควรใช้ ISO สูง ๆ เมื่อจำเป็นจริง ๆ เท่านั้น                              </span> \n</p>\n<p>\n                    \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <span style=\"background-color: #ccffcc\"><span style=\"color: #ff6600\"><strong>สรุป เราได้อะไรจากบทนี้</strong><br />\n</span></span><span style=\"background-color: #ccffcc\">        </span><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">1. ถ้าจำเป็นต้องถ่ายภาพในที่แสงน้อย จริง ๆ แล้วใช้แฟลชไม่ได้ก็ให้ตั้ง ISO สูงขึ้น                                                 <br />\n        2. ข้อเสียคือภาพจะหยาบ ขึ้นมีเกรนเล็ก ๆ เต็มภาพ ดังนั้น ควรตั้งกลับไปที่ค่า 100 หรือ ISO 200 หลังจากถ่ายภาพเสร็จแล้ว</span>\n</p>\n<p>\n    </p>\n', created = 1717094493, expire = 1717180893, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3784b979bdc1325038d053d834742afa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มือใหม่หัดถ่าย..

รูปภาพของ tem

ถ่ายภาพเบื้องต้น หรือ จะ ถ่ายรูปเบื้องต้น กล้องมือใหม่ เริ่มตรงนี้ครับ ..

ข้อผิดพลาดของมือใหม่ 10 ประการ                                                                                                             
            ผู้มีกล้องทุกคนจะลดข้อผิดพลาดในการถ่ายภาพได้มาก หากอ่าน 10 ข้อนี้                                                            
เริ่มต้นตรงนี้ได้เลยครับ สำหรับผู้ที่พึ่งซื้อกล้องมาเป็นครั้งแรก หรือ ซื้อมาแล้วยังไม่ได้ฝึกฝนผมได้รวมรวม 10 ข้อผิดพลาดที่มือใหม่ทุก  ท่านควรเรียนรู้ ทั้งหมดนี้ไม่ยากเกินไปครับ....                                                                                                       
     หลายท่านซื้อกล้องมาแล้ว ใช้ไม่เป็น บางท่านกล้องดีมาก ๆ เลยใช้แค่ปุ่ม Auto เท่านั้น ที่น่าเสียดายยิ่งกว่า คือ  โอกาสสำคัญ ที่เราไปเที่ยวเสียค่าเดินทาง นับ 1000  บางครั้งไปต่างประเทศจ่ายเป็น 10000  ถึง หลายหมื่นบาท แต่ถ่ายภาพมาไม่ได้ดังใจเลย การ กลับไปถ่ายใหม่ก็ไม่ง่ายเสียด้วยสิ...
                                                                                                                  
 

                1 ไม่ยอมใช้ขาตั้งกล้องเมื่อมีแสงน้อย

     ลำดับแรกที่มือใหม่ ไม่ค่อยนึกถึง เลย คือขาตั้งกล้องครับ หลายคนนึกว่าเราใช้ ขาตั้งกล้อง เฉพาะตอนถ่ายภาพตัวเองเท่านั้น เป็น อย่างนี้จริง ๆ คือไม่นึกว่าจะใช้ทำไม จริง ๆ แล้ว เราใช้ขาตั้งกล้อง เพื่อให้กล้องนิ่ง ขณะกดชัตเตอร์ ครับ ภาพจะได้คมชัด ไม่ต้องตกใจ ว่าทำไม ช่างภาพหลายคนถึงแบกขาตั้งกล้องติดตัวไปด้วยเสมอ    แม้บางครั้ง กลางวันแดดออกดี เขาก็ยังใช้ขาตั้งกล้อง กันเลย ก็    เพราะว่าบางสถานะการ เราต้องบังคับให้กล้องถ่ายภาพด้วยความเร็วชัตเตอร์ต่ำ แม้มีแสงสว่างมากพอ                                      

                      
      

 

                          ภาพที่ 1

     ภาพนี้ถ่ายโดยไม่ใช้ขาตั้งกล้อง ผลคือภาพเบลอ

      

 

 

 

 

 

                      

                         

                           ภาพที่ 2

ผมยอมเสียเวลา ประกอบกับคนไม่มากนัก ก็เลยใช้ขาตั้งกล้องได้สะดวก เห็นไหมครับว่า คุ้มค่าเพียงใด

              

 

 

 

      สรุป เราได้อะไรจากบทนี้                                                     
        1. หากพบว่าในที่ที่เราจะถ่ายภาพมีแสงน้อย ควรใช้ขาตั้งกล้องเสมอ   
        2. หากให้นิ่งยิ่งขึ้น ก็ควรใช้การลั่นชัตเตอร์แบบตั้งเวลาอัติโนมัติ นะครับ

          

 

 2 ถ่ายรูปแล้วแบน ไม่มีมิติ มือใหม่ส่วนใหญ่ถ่ายรูปแบบนี้

ภาพแบน หมายถึงอะไร ลองดูตัวอย่างด้านล่างซิครับ

                     
       

                                                       

                                                                                                       ภาพที่ 1

          เราก็ถ่ายภาพพระเอกของสถานที่มาแล้วเชียว แต่ภาพนี้ ดู   แล้ว ขาดมิติ คือ อุตส่าห์ไปเที่ยวมาแล้ว ลองดูภาพด้านล่างเปรียบ  เทียบจะ  เข้าใจมากขึ้นครับ...  ว่าทำไมจึงเรียกว่าขาดมิติ หรือ ภาพแบน                                                                            

                     

 

 

                                                                                                        

                                                                                                             

 ภาพที่ 2

     จะพบว่า ภาพเดียวกัน แต่มีความรู้สึกที่แตกต่าง ออกไป เพราะ    
ภาพนี้มีฉากหน้า คือหมู่มวลดอกไม้ แล้วมองลึกเข้าไปถึงเห็น หอรัช    มงคล ซึ่งเป็น พระเอก ดูมีมิติ ตื้นลึก มากกว่า เราจะเห็นภาพที่เขาถ่าย โฆษณา และ ภาพสวย ๆ ส่วนใหญ่ที่ลง ตามวารสาร มักจะเป็นภาพที่มี มิติ แบบนี้ทั้งสิ้นครับ ลองฝึกดูนะครับ จะได้ถ่ายภาพแล้วไม่แบน        
ส่วนการให้ฟ้า สีฟ้าสวยสดใส ในเบื้องต้นแนะนำว่า ไม่ควรถ่ายภาพย้อน แสง ควรหันหลังให้ดวงอาทิตย์ครับ แล้วฟ้าจะสวยขึ้น                    

                  

 

 

      สรุป เราได้อะไรจากบทนี้

                                                                  1. ถ่ายภาพให้มี ฉากหน้า และ ฉากหลัง ด้วย ทำให้ภาพมีมิติมากขึ้น
                                                                   2. ศึกษาภาพเก่า ๆ ที่เราเคยถ่ายไป แล้วพัฒนาฝีมือขึ้นนะครับ      
 

3 ไม่รู้จะทำอย่างไร เมื่อถ่ายย้อนแสง ภาพออกมามืดหมดเลย

         ภาพแบบนี้มือใหม่ พบกันมากเลย แล้วก็ไม่รู้จะแก้ไขอย่างไรด้วย คือ ถ่ายภาพออกมาแล้ว ออกดำ มืด อย่างรูปข้างล่างนี้หมด  เลย และเป็นบ่อย ๆ ด้วย สำคัญที่สุดคือ พยายามอย่าถ่ายรูปย้อนแสง ถ้าไม่สามารถแก้ไขได้จริง ๆ ก็ให้ดูแนวทางตามรูปที่ 1 และ 2 ด้านล่างครับ                                                                                                                                            
                       

                    
                        

 

                                ภาพที่ 1

จะเห็นว่าฉากหลังมีความสว่างมาก ทำให้การถ่ายภาพของเราเป็นการ  ย้อนแสง และ ภาพแบบนี้ก็ไม่สามารถใช้ แฟลชช่วยได้ เพราะภาพขนาดใหญ่ และ อยู่ห่างไกล                                                          

                     

 

 

      

                                ภาพที่ 2

การถ่ายภาพแบบนี้ให้ลองค้นดูในกล้อง เรื่องระบบวัดแสงให้เปลี่ยนมา  ใช้ระบบวัดแสงเฉพาะจุด ตามรูปแล้ววัดแสงไปที่ตัวอาคาร พระที่นั่ง ผลก็คือเราจะได้ภาพที่เห็นรายละเอียดมากขึ้น แต่ท้องฟ้าก็จะขาวไปบ้าง  เป็นธรรมดา เพราะกล้องจะวัดแสงและชดเชยค่าโดยยึดเอาจุดที่เราเล็งโฟกัส เป็นสำคัญ                                                              
    ลองดูนะครับ กล้องส่วนใหญ่ในยุคนี้มีระบบวัดแสงเฉพาะจุดมาให้    แล้วทั้งสิ้น ที่สำคัญอย่าลืมเปลี่ยนค่ากลับไปเป็นระบบวัดแสงแบบ      ปรกติ ด้วยนะครับ ไม่งั้นภาพถ่ายอื่นๆ จะเสียได้เพราะวัดแสงผิด         

                    

  สรุป เราได้อะไรจากบทนี้                                                
        1. ไม่จำเป็นไม่ควรถ่ายภาพย้อนแสง                               
        2. หากต้องถ่ายจริง ๆ ก็ให้ใช้ระบบวัดแสงเฉพาะจุด              
           และ ต้องไม่ลืมเปลี่ยนค่ากลับไปเป็นระบบเดิม ด้วย           
 

 

4 เปิดแฟลซแล้ว ฉากหลังหายไปหมด เห็นแต่คน เสียดายจัง

    เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นบ่อยมาก ๆ โดยเฉพาะในการถ่ายภาพเวลากลางคืน ผมขอคุยซ้ำอีกทีนะครับ คือถ่ายมาแล้ว ฉากหลังสวย ๆ ไม่เห็นอะไรเลย ได้แต่คน กับ ฉากหลังดำ ๆ                                                                                                                     

                      
                                   

      

 

                                      ภาพที่ 1

เปิดแฟลชถ่ายภาพ ตอนกลางคืน ทำให้ ฉากหลังหายไปหมดเลย เสียดายมากเพราะ
 ฉากหลังสวยมากๆ แก้ไขอย่างไร ดูภาพที่ 2 ได้ครับ                                    
 

       

 

 

 

 

              
                                                           

            


                                      ภาพที่ 2

 ถ้ากล้องมีระบบ Slow Sync Flash ให้ใช้ตอนนี้เลยครับ แล้วลองถ่ายภาพดูอีกครั้ง ที่สำคัญ Slow Sync Flash คือการถ่ายภาพที่ความเร็วชัตเตอร์ต่ำ ผลคือถ้ามือไม่นิ่งภาพจะสั่นได้ ต้องระวังอย่าให้มือสั่นนะครับถ้าหากไม่รู้ว่าจะหา Slow Sync Flash ได้อย่างไร ก็ให้หมุนกล้อง มาที่โหมด S แล้วตั้งค่าความเร็วให้อยู่ที่ 30-60 ส่วนวินาทีดูครับ ตั้งต่ำกว่านี้ก็ได้แต่ควรใช้ ขาตั้งกล้อง ก็จะได้ภาพคนพร้อมกับฉากหลังที่สวยงามอย่างในรูปครับ                         
                    
      

 

 

 

 

 

                                                      สรุป เราได้อะไรจากบทนี้
                                                           1. ถ่ายภาพกลางคืนแล้วต้องการให้เห็นฉากหลังใช้ Slow Sync Flash                 
                                                           2. แต่ให้ระวังกล้องสั่น หรือ ควรใช้ขาตั้งกล้อง                                              
                                                           3. หากไม่รู้จะตั้งระบบแฟลช อย่างไร ตั้งกล้องไปที่โหมด S ก็ได้ แล้วลดเวลาลงครับ  

5 พบสถานที่ห้ามใช้แฟลซ แล้วถ่ายภาพไม่ได้เลย ทำอย่างไรดี

     เหตุการณ์นี้เจอบ่อย ๆ เหมือนกันเวลาไปเที่ยว คือ เขาห้ามใช้แฟลช อย่างตัวอย่างในภาพไปเที่ยวที่เชียงใหม่ ไนท์ซาฟารี ไกด์    ห้ามใช้แฟลชเด็ดขาด หรืออย่างบางที่ เช่นสวนสัตว์เชียงใหม่ เวลาดู หมีแพนด้า ทางสวนสัตว์ เขาจะเอาสติกเกอร์มาปิดแฟลซเราไว้เลยทีเดียว มือใหม่ ทั้งหลาย หากจะต้องการถ่ายภาพให้ได้อยู่ ต้องตั้งค่าความไวแสง คือ ISO ของกล้องให้สูงขึ้น แต่อย่าลืมตั้งกลับมาเป็น 100 เหมือนเดิมหลังจากออกจากบริเวณแล้วนะครับ

                     
      


                            ภาพที่ 1

เนื่องจากแทบไม่มีแสงสว่างเลย ใช้ ISO 400 ยังไม่สามารถมองอะไรเห็น                                                                              

                    
      

 

 

                             


                            ภาพที่ 2

    พอเราตั้งเป็น ISO 800 ก็จะเริ่มเห็นแล้วว่ามีกวางอยู่ 1 ตัว

                     
      

 

 

 

 

อย่ามองนาน นะตัวเอง เขาอายนะยะ

                                ภาพที่ 3

รูปนี้ตั้ง ISO ถึง 1600 ครับ จึงได้เห็นทั้งกวาง และ ลูกหมูป่า หากิน  ดินโป่ง ในเวลากลางคืน ซึ่งน่ารักมาก และ ไม่ค่อยเห็น                  ภาพอย่าง ได้ ง่าย ๆ เห็นไหมครับว่า เราก็สามารถถ่ายภาพในที่แสง  น้อยได้โดยไม่  ต้องใช้แฟลช แต่ สิ่งที่ต้องแลก ก็คือภาพจะมีเกรน   หยาบ หรือ ที่ภาษากล้องเรียบว่า noise ค่อนข้างมากนั้นเองครับ จึงควรใช้ ISO สูง ๆ เมื่อจำเป็นจริง ๆ เท่านั้น                               

                    

 

 

 สรุป เราได้อะไรจากบทนี้
        1. ถ้าจำเป็นต้องถ่ายภาพในที่แสงน้อย จริง ๆ แล้วใช้แฟลชไม่ได้ก็ให้ตั้ง ISO สูงขึ้น                                                
        2. ข้อเสียคือภาพจะหยาบ ขึ้นมีเกรนเล็ก ๆ เต็มภาพ ดังนั้น ควรตั้งกลับไปที่ค่า 100 หรือ ISO 200 หลังจากถ่ายภาพเสร็จแล้ว

    

สร้างโดย: 
ครูเจริญ ปักสมัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 373 คน กำลังออนไลน์