• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6b3cbcde38b89a82602d018546f64e3e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span>ความขัดแย้งในสังคมมีสาเหตุและมีลักษณะอย่างที่กล่าวมาเบื้องต้นเกิดขึ้นได้อย่างไร มีข้อสังเกตว่า สังคมทุกสังคมย่อมหลีกเลี่ยงความขัดแย้งไม่ได้ ความขัดแย้งในสังคมจึงเป็นเรื่องปกติ เป็นแต่เพียงว่าความขัดแย้งดังกล่าวยังสามารถหาข้อยุติได้ในกรอบของกลไกที่มีอยู่สังคมนั้นก็สามารถดำเนินต่อไป หรือตราบเท่าที่ปัญหาความขัดแย้งอยู่ในสัดส่วนที่ไม่แผ่กระจายไปทั่วทั้งสังคมจนหาวิธีการหรือกลไกเพื่อยุติความขัดแย้งไม่ได้สังคมนั้นก็สามารถดำเนินต่อไป โดยในภาพรวมจะถือได้ว่าสังคมนั้นยังอยู่ได้อย่างมีความสมานฉันท์ แต่เมื่อใดก็ตามที่ความขัดแย้งถึงจุดที่ไม่สามารถจะแก้ไขเยียวยาได้ ทางเลือกของสังคมก็จะถูกจำกัดลง โดยมีทางออกอยู่สองทางคือ การพยายามแก้ไขความขัดแย้งโดยสันติวิธี ด้วยการเจรจาหรือไกล่เกลี่ย หรือมิฉะนั้นก็คงต้องแก้ไขความขัดแย้งด้วยการใช้กำลังหรือความรุนแรง ผลที่ออกมาก็คือ การที่ฝ่ายหนึ่งชนะ อีกฝ่ายหนึ่งพ่ายแพ้ ผู้ชนะก็จะสร้างระเบียบการเมืองขึ้นมาใหม่ และถ้าเป็นกรณีที่ไม่สามารถจะเอาชนะกันได้ก็อาจจะถึงกับแตกแยกออกเป็น 2 ส่วน หรือ 3 ส่วน ของหน่วยชุมชนหรือหน่วยการเมืองใหม่แล้วแต่กรณี ปรากฏการณ์ที่เกริ่นมาเบื้องต้นสามารถจะข้าใจแจ่มชัดยิ่งขึ้นถ้ามองในรูปของความเป็นจริงอย่างวัตถุวิสัยของธรรมชาติมนุษย์และสังคมมนุษย์ ในแง่หนึ่ง สิ่งที่เรียกว่ามนุษย์หรือสัตว์ประเสริฐนั้นก็คือสิ่งที่มนุษย์กำหนดขึ้นมาเอง ในความเป็นจริง มนุษย์และสัตว์ก็คือชีวภาพของสิ่งมีชีวิตที่มีความคล้ายคลึงกันทุกอย่าง มนุษย์จะต่างจากสัตว์ก็ตรงที่มีสมองที่ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพดีกว่า มีความจำที่ยาวนานกว่า มีกล่องเสียงที่สามารถสร้างเสียงได้มากกว่าเพื่อใช้ในการสื่อสาร และที่สำคัญมีนิ้ว 5 นิ้วที่ใช้ประโยชน์อย่างมากในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ เช่น เครื่องไม้เครื่องมือ อาวุธ รวมทั้งงานศิลปะ การก่อสร้าง ฯลฯ สองมือพร้อมด้วยสิบนิ้วของมนุษย์บวกกับสมองที่มีความฉลาดเฉียบแหลมทำให้มนุษย์มีคุณภาพเหนือกว่าสัตว์อย่างมาก แต่ถ้าจัดมนุษย์เข้าสู่สภาพธรรมชาติ (the state of nature) มนุษย์ก็คือสัตว์ดีๆ นี่เอง จุดหลักก็คือการแย่งอาหารและก็แย่งเพศตรงกันข้ามเพื่อการสมสู่ตามธรรมชาติอันเป็นลักษณะทั่วไปของสัตว์ แต่มนุษย์มีความก้าวหน้ากว่าสัตว์ในแง่ต้องการสิ่งที่ไกลเกินกว่าสองสิ่งที่กล่าวมาเบื้องต้น นั่นคือ ต้องการอำนาจและสถานะมากกว่าสัตว์ ในส่วนนี้เป็นส่วนของนามธรรมซึ่งสัตว์ก็มีอยู่แต่น้อยกว่ามนุษย์มาก ที่สำคัญ มนุษย์มีความชาญฉลาดพอที่จะรู้ว่าการจะอยู่ร่วมกันโดยสันติและเอื้อประโยชน์ต่อกันนั้น วิธีที่ดีที่สุดก็คือการสร้างกลไกเพื่อจะแก้ไขความขัดแย้งและอยู่ร่วมกันโดยสันติ เอื้ออำนวยประโยชน์ซึ่งกันและกัน พยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้งด้วยการมีข้อตกลงที่ทุกฝ่ายยอมรับได้ โดยการสถาปนาขนบธรรมเนียมประเพณี และต่อมาก็ทำให้เกิดความมั่นคงด้วยการทำให้เป็นตัวบทกฎหมายโดยมีผลบังคับใช้ เช่น ประเพณีการสู่ขอสตรีเพื่อมาเป็นคู่ครองโดยไม่ต้องใช้กำลังเข้าทำการฉุดสมาชิกของครอบครัวอื่น มีการสร้างกฎกติกาของความสัมพันธ์ในสังคมมนุษย์ สร้างขนบธรรมเนียมประเพณีเพื่อการสื่อสารของชุมชนโดยมีการสร้างภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษากาย กิริยามารยาท วัฒนธรรม การได้มาซึ่งอำนาจรัฐ การควบคุมผู้ใช้อำนาจรัฐ การจัดสรรทรัพยากรที่ดินทำกินและทรัพยากรอื่นๆ ของชุมชนเพื่อทุกฝ่ายสามารถจะได้ประโยชน์ร่วมกัน ฯลฯ ทั้งหลายทั้งปวงดังกล่าวนี้คือการจัดระเบียบการเมือง ถ้าจะเรียกรวมๆ ก็อาจจะใช้คำว่า วัฒนธรรม (culture) เพราะฉะนั้นมนุษย์จึงมีความสามารถข้ามจากสภาพธรรมชาติ (the state of nature) มาสู่ the state of culture ได้ในที่สุด สังคมมนุษย์จึงสามารถอยู่ร่วมกันโดยสันติ มีความขัดแย้งน้อยที่สุด หรือถ้ามีความขัดแย้งเกิดขึ้นก็มีกลไกในการแก้ไขความขัดแย้งนั้นได้ แต่เงื่อนไขที่สำคัญที่สุด the state of culture จะต้องเป็นที่ยอมรับและมีความชอบธรรม โดยมนุษย์ที่เป็นสมาชิกของชุมชนทุกคนยอมรับสภาพของ the state of culture นั้น เช่น ประเด็นในเรื่องผลประโยชน์ที่ลงตัว ประเด็นในเรื่องอำนาจที่เป็นที่ยอมรับ ประเด็นในเรื่องความเป็นธรรมของสังคม ประเด็นเรื่องความยุติธรรมในกระบวนการกฎหมายและศาล และการยอมรับมาตรการ กระบวนการของการแก้ไขความขัดแย้ง เช่น ความขัดแย้งเรื่องที่ทำกินก็สามารถแก้ไขปัญหาด้วยการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม ประนีประนอมยอมความ เจรจาไกล่เกลี่ย จนเอื้อประโยชน์ต่อทุกฝ่ายและทุกฝ่ายพอใจ แต่เมื่อใดก็ตามที่มนุษย์ไม่สามารถจะยอมรับ the state of culture ได้อีกต่อไป เพราะระบบและกลไกดังกล่าวไม่สามารถจะแก้ไขความขัดแย้งได้ มนุษย์ที่อยู่ในชุมชนเดียวกันนั้นก็อาจจะข้ามแดนจาก the state of culture ไปสู่ state of nature นั่นคือการใช้พละกำลังและความรุนแรงเข้าแก้ไขปัญหา และอาจจะลงเอยด้วยการสูญเสียชีวิต บาดเจ็บทางกาย หรือสูญเสียทรัพย์สิน ความขัดแย้งอาจจะยุติลง แต่ในบางกรณีก็เป็นเพียงชั่วคราวเท่านั้น และกรณีที่เลวที่สุดก็คือ การใช้กำลังรุนแรงที่ดำเนินต่อยาวนานเป็นปีๆ เช่นในกรณีสงครามกลางเมืองของอังกฤษ ของสหรัฐอเมริกา ของสเปน ของจีน เป็นต้น แต่ในกรณีที่เลวร้ายที่สุดก็คือแตกเป็นเสี่ยงๆ ของชุมชนการเมือง หรือหน่วยการเมืองนั้น ซึ่งมีตัวอย่างมาแล้วหลายกรณีในประวัติศาสตร์</span></p>\n<p><span><span>ความขัดแย้งมีสาเหตุหลักๆ ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว แต่สาเหตุที่มีการพูดถึงบ่อยๆ ก็คือการเปลี่ยนแปลงค่านิยม (values) และปทัสถาน (norms) หมายความว่า ในสังคมซึ่งมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันนั้นอาจจะไม่สามารถคงสภาพของการเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันนั้นอยู่ตลอดไป</span><br /><span>ในเบื้องต้นคือ ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากค่านิยมและปทัสถานที่ต่างกันของคนต่างรุ่นหรือต่างวัย ที่เห็นได้บ่อยครั้งคือระหว่างคนรุ่นเก่าและคนรุ่นใหม่ ในขณะที่คนรุ่นเก่าซึ่งอาจจะมีประสบการณ์พิเศษ ผ่านการต่อสู้ในทางการเมือง รวมทั้งในการทำสงคราม ในการกู้ชาติ ในการกู้เศรษฐกิจ จนนำความสงบสุขมาสู่สังคม บุคคลกลุ่มนี้ย่อมมีค่านิยมและปทัสถานที่ตนมีความเชื่อมั่นว่าเป็นสิ่งซึ่งถูกต้องและควรดำเนินต่อไป แต่เมื่อเวลาผ่านไป เมื่อคนรุ่นใหม่เกิดขึ้นซึ่งมีโลกทัศน์ ค่านิยมและปทัสถานต่างจากที่เคยมีมาในอดีต ความลงรอยระหว่างคนรุ่นใหม่กับคนรุ่นเก่าเริ่มจะเป็นประเด็นปัญหา และในทุกสังคมไม่สามารถจะเลี่ยงความขัดแย้งนี้ได้ ซึ่งมักจะออกมาเป็นรูปธรรมในแง่ของพฤติกรรม การแสดงออกในสังคม เริ่มตั้งแต่การแต่งตัว ทรงผม อาหารการกิน การบันเทิง การร้องรำทำเพลง การเต้นรำ บันเทิงต่างๆ เช่น ชนิดของภาพยนตร์ ชนิดของสารคดี ชนิดของรถยนต์ที่ใช้ในการขับขี่ รวมแม้กระทั่งค่านิยมเกี่ยวกับครอบครัว ศาสนา วัฒนธรรมดั้งเดิม กิริยามารยาท ภาษาพูด ความขัดแย้งในลักษณะนี้ไม่มีทางจะหลีกเลี่ยงได้เลย แต่จะปรากฏในทุกสังคมตั้งแต่อดีตกาลมาจนถึงปัจจุบัน</span><br /><span>ความขัดแย้งอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสังคม สังคมที่เคยเป็นสังคมเกษตรกรรมเมื่อมีการพัฒนาอุตสาหกรรมเกิดขึ้น มีการย้ายถิ่นจากชนบทไปสู่แหล่งที่มีการผลิตสินค้าทางอุตสาหกรรม ที่ตั้งของโรงงานและที่พักของคนงานที่อยู่กันเป็นกลุ่มใหญ่ๆ มีการจัดตั้งเป็นสหภาพ มีการจัดตั้งเป็นชมรม ฯลฯ ย่อมทำให้เกิดความแตกต่างระหว่างสังคมสองส่วน คือ ส่วนของชนบทที่เป็นภาคเกษตร กับส่วนของชุมชนเมืองซึ่งเป็นภาคอุตสาหกรรม สภาวะที่เกิดขึ้นนี้จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงในแง่ของประชากร จะมีการย้ายถิ่นจากชนบทเข้ามาสู่ในเมืองมากยิ่งขึ้น รูปแบบการดำรงชีวิตของชนบทและในเมืองต่างกัน ค่านิยมของการอยู่ในเมืองใหญ่ๆ ที่ต้องมีความเร่งรีบ ตรงต่อเวลา มีความชาญฉลาดในการแก้ปัญหาส่วนตัว ความสัมพันธ์มนุษย์ที่ค่อนข้างจะไม่เป็นกันเอง ยึดผลประโยชน์เป็นที่ตั้ง ฯลฯ จะทำให้บุคคลที่มีชีวิตอยู่ในเขตเมืองและภาคการผลิตอุตสาหกรรมแตกต่างจากญาติโกโหติกาในหมู่บ้านที่ตนเคยวิ่งเล่นเมื่อตอนเด็ก ความแตกต่างของสังคมสองส่วนนี้นำไปสู่ความขัดแย้งในเรื่องค่านิยม ปทัสถาน แบบกระสวนของพฤติกรรมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่บุคคลที่มาจากประเทศกำลังพัฒนา แต่ไปศึกษาหรือมีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศที่พัฒนามากกว่า ก็จะประสบปัญหาที่รุนแรงกว่าที่กล่าวมาเบื้องต้นเมื่อกลับมาภูมิลำเนาเดิมของตน นอกจากนี้ในภาคอุตสาหกรรมจะประกอบด้วยผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต อันได้แก่ เจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม เจ้าของกิจการบริการขนาดใหญ่ ขณะเดียวกันก็มีผู้ใช้แรงงานและลูกจ้างที่กินเงินเดือนจากเจ้าของกิจการ ความขัดแย้งระหว่างคนสองกลุ่ม กลุ่มผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต เจ้าของกิจการบริการ กับผู้ใช้แรงงานหรือลูกจ้างในเรื่องของค่าจ้าง สวัสดิการ ความยุติธรรม เกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ในแง่ที่อยู่อาศัย อาหารการกิน และจำนวนชั่วโมงของการทำงาน ย่อมจะนำไปสู่ความขัดแย้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ความขัดแย้งในส่วนนี้ คาร์ล มาร์กซ์ ถือว่าเป็นความขัดแย้งของชนชั้น และหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาโดยใช้ความรุนแรงด้วยการลุกฮือขึ้นปฏิวัติของชนชั้นกรรมาชีพ เพื่อล้มอำนาจชนชั้นกระฎุมพี</span></span></p>\n', created = 1719369802, expire = 1719456202, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6b3cbcde38b89a82602d018546f64e3e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความหลากหลายกลายเป็นหนึ่ง

ความขัดแย้งในสังคมมีสาเหตุและมีลักษณะอย่างที่กล่าวมาเบื้องต้นเกิดขึ้นได้อย่างไร มีข้อสังเกตว่า สังคมทุกสังคมย่อมหลีกเลี่ยงความขัดแย้งไม่ได้ ความขัดแย้งในสังคมจึงเป็นเรื่องปกติ เป็นแต่เพียงว่าความขัดแย้งดังกล่าวยังสามารถหาข้อยุติได้ในกรอบของกลไกที่มีอยู่สังคมนั้นก็สามารถดำเนินต่อไป หรือตราบเท่าที่ปัญหาความขัดแย้งอยู่ในสัดส่วนที่ไม่แผ่กระจายไปทั่วทั้งสังคมจนหาวิธีการหรือกลไกเพื่อยุติความขัดแย้งไม่ได้สังคมนั้นก็สามารถดำเนินต่อไป โดยในภาพรวมจะถือได้ว่าสังคมนั้นยังอยู่ได้อย่างมีความสมานฉันท์ แต่เมื่อใดก็ตามที่ความขัดแย้งถึงจุดที่ไม่สามารถจะแก้ไขเยียวยาได้ ทางเลือกของสังคมก็จะถูกจำกัดลง โดยมีทางออกอยู่สองทางคือ การพยายามแก้ไขความขัดแย้งโดยสันติวิธี ด้วยการเจรจาหรือไกล่เกลี่ย หรือมิฉะนั้นก็คงต้องแก้ไขความขัดแย้งด้วยการใช้กำลังหรือความรุนแรง ผลที่ออกมาก็คือ การที่ฝ่ายหนึ่งชนะ อีกฝ่ายหนึ่งพ่ายแพ้ ผู้ชนะก็จะสร้างระเบียบการเมืองขึ้นมาใหม่ และถ้าเป็นกรณีที่ไม่สามารถจะเอาชนะกันได้ก็อาจจะถึงกับแตกแยกออกเป็น 2 ส่วน หรือ 3 ส่วน ของหน่วยชุมชนหรือหน่วยการเมืองใหม่แล้วแต่กรณี ปรากฏการณ์ที่เกริ่นมาเบื้องต้นสามารถจะข้าใจแจ่มชัดยิ่งขึ้นถ้ามองในรูปของความเป็นจริงอย่างวัตถุวิสัยของธรรมชาติมนุษย์และสังคมมนุษย์ ในแง่หนึ่ง สิ่งที่เรียกว่ามนุษย์หรือสัตว์ประเสริฐนั้นก็คือสิ่งที่มนุษย์กำหนดขึ้นมาเอง ในความเป็นจริง มนุษย์และสัตว์ก็คือชีวภาพของสิ่งมีชีวิตที่มีความคล้ายคลึงกันทุกอย่าง มนุษย์จะต่างจากสัตว์ก็ตรงที่มีสมองที่ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพดีกว่า มีความจำที่ยาวนานกว่า มีกล่องเสียงที่สามารถสร้างเสียงได้มากกว่าเพื่อใช้ในการสื่อสาร และที่สำคัญมีนิ้ว 5 นิ้วที่ใช้ประโยชน์อย่างมากในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ เช่น เครื่องไม้เครื่องมือ อาวุธ รวมทั้งงานศิลปะ การก่อสร้าง ฯลฯ สองมือพร้อมด้วยสิบนิ้วของมนุษย์บวกกับสมองที่มีความฉลาดเฉียบแหลมทำให้มนุษย์มีคุณภาพเหนือกว่าสัตว์อย่างมาก แต่ถ้าจัดมนุษย์เข้าสู่สภาพธรรมชาติ (the state of nature) มนุษย์ก็คือสัตว์ดีๆ นี่เอง จุดหลักก็คือการแย่งอาหารและก็แย่งเพศตรงกันข้ามเพื่อการสมสู่ตามธรรมชาติอันเป็นลักษณะทั่วไปของสัตว์ แต่มนุษย์มีความก้าวหน้ากว่าสัตว์ในแง่ต้องการสิ่งที่ไกลเกินกว่าสองสิ่งที่กล่าวมาเบื้องต้น นั่นคือ ต้องการอำนาจและสถานะมากกว่าสัตว์ ในส่วนนี้เป็นส่วนของนามธรรมซึ่งสัตว์ก็มีอยู่แต่น้อยกว่ามนุษย์มาก ที่สำคัญ มนุษย์มีความชาญฉลาดพอที่จะรู้ว่าการจะอยู่ร่วมกันโดยสันติและเอื้อประโยชน์ต่อกันนั้น วิธีที่ดีที่สุดก็คือการสร้างกลไกเพื่อจะแก้ไขความขัดแย้งและอยู่ร่วมกันโดยสันติ เอื้ออำนวยประโยชน์ซึ่งกันและกัน พยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้งด้วยการมีข้อตกลงที่ทุกฝ่ายยอมรับได้ โดยการสถาปนาขนบธรรมเนียมประเพณี และต่อมาก็ทำให้เกิดความมั่นคงด้วยการทำให้เป็นตัวบทกฎหมายโดยมีผลบังคับใช้ เช่น ประเพณีการสู่ขอสตรีเพื่อมาเป็นคู่ครองโดยไม่ต้องใช้กำลังเข้าทำการฉุดสมาชิกของครอบครัวอื่น มีการสร้างกฎกติกาของความสัมพันธ์ในสังคมมนุษย์ สร้างขนบธรรมเนียมประเพณีเพื่อการสื่อสารของชุมชนโดยมีการสร้างภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษากาย กิริยามารยาท วัฒนธรรม การได้มาซึ่งอำนาจรัฐ การควบคุมผู้ใช้อำนาจรัฐ การจัดสรรทรัพยากรที่ดินทำกินและทรัพยากรอื่นๆ ของชุมชนเพื่อทุกฝ่ายสามารถจะได้ประโยชน์ร่วมกัน ฯลฯ ทั้งหลายทั้งปวงดังกล่าวนี้คือการจัดระเบียบการเมือง ถ้าจะเรียกรวมๆ ก็อาจจะใช้คำว่า วัฒนธรรม (culture) เพราะฉะนั้นมนุษย์จึงมีความสามารถข้ามจากสภาพธรรมชาติ (the state of nature) มาสู่ the state of culture ได้ในที่สุด สังคมมนุษย์จึงสามารถอยู่ร่วมกันโดยสันติ มีความขัดแย้งน้อยที่สุด หรือถ้ามีความขัดแย้งเกิดขึ้นก็มีกลไกในการแก้ไขความขัดแย้งนั้นได้ แต่เงื่อนไขที่สำคัญที่สุด the state of culture จะต้องเป็นที่ยอมรับและมีความชอบธรรม โดยมนุษย์ที่เป็นสมาชิกของชุมชนทุกคนยอมรับสภาพของ the state of culture นั้น เช่น ประเด็นในเรื่องผลประโยชน์ที่ลงตัว ประเด็นในเรื่องอำนาจที่เป็นที่ยอมรับ ประเด็นในเรื่องความเป็นธรรมของสังคม ประเด็นเรื่องความยุติธรรมในกระบวนการกฎหมายและศาล และการยอมรับมาตรการ กระบวนการของการแก้ไขความขัดแย้ง เช่น ความขัดแย้งเรื่องที่ทำกินก็สามารถแก้ไขปัญหาด้วยการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม ประนีประนอมยอมความ เจรจาไกล่เกลี่ย จนเอื้อประโยชน์ต่อทุกฝ่ายและทุกฝ่ายพอใจ แต่เมื่อใดก็ตามที่มนุษย์ไม่สามารถจะยอมรับ the state of culture ได้อีกต่อไป เพราะระบบและกลไกดังกล่าวไม่สามารถจะแก้ไขความขัดแย้งได้ มนุษย์ที่อยู่ในชุมชนเดียวกันนั้นก็อาจจะข้ามแดนจาก the state of culture ไปสู่ state of nature นั่นคือการใช้พละกำลังและความรุนแรงเข้าแก้ไขปัญหา และอาจจะลงเอยด้วยการสูญเสียชีวิต บาดเจ็บทางกาย หรือสูญเสียทรัพย์สิน ความขัดแย้งอาจจะยุติลง แต่ในบางกรณีก็เป็นเพียงชั่วคราวเท่านั้น และกรณีที่เลวที่สุดก็คือ การใช้กำลังรุนแรงที่ดำเนินต่อยาวนานเป็นปีๆ เช่นในกรณีสงครามกลางเมืองของอังกฤษ ของสหรัฐอเมริกา ของสเปน ของจีน เป็นต้น แต่ในกรณีที่เลวร้ายที่สุดก็คือแตกเป็นเสี่ยงๆ ของชุมชนการเมือง หรือหน่วยการเมืองนั้น ซึ่งมีตัวอย่างมาแล้วหลายกรณีในประวัติศาสตร์

ความขัดแย้งมีสาเหตุหลักๆ ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว แต่สาเหตุที่มีการพูดถึงบ่อยๆ ก็คือการเปลี่ยนแปลงค่านิยม (values) และปทัสถาน (norms) หมายความว่า ในสังคมซึ่งมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันนั้นอาจจะไม่สามารถคงสภาพของการเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันนั้นอยู่ตลอดไป
ในเบื้องต้นคือ ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากค่านิยมและปทัสถานที่ต่างกันของคนต่างรุ่นหรือต่างวัย ที่เห็นได้บ่อยครั้งคือระหว่างคนรุ่นเก่าและคนรุ่นใหม่ ในขณะที่คนรุ่นเก่าซึ่งอาจจะมีประสบการณ์พิเศษ ผ่านการต่อสู้ในทางการเมือง รวมทั้งในการทำสงคราม ในการกู้ชาติ ในการกู้เศรษฐกิจ จนนำความสงบสุขมาสู่สังคม บุคคลกลุ่มนี้ย่อมมีค่านิยมและปทัสถานที่ตนมีความเชื่อมั่นว่าเป็นสิ่งซึ่งถูกต้องและควรดำเนินต่อไป แต่เมื่อเวลาผ่านไป เมื่อคนรุ่นใหม่เกิดขึ้นซึ่งมีโลกทัศน์ ค่านิยมและปทัสถานต่างจากที่เคยมีมาในอดีต ความลงรอยระหว่างคนรุ่นใหม่กับคนรุ่นเก่าเริ่มจะเป็นประเด็นปัญหา และในทุกสังคมไม่สามารถจะเลี่ยงความขัดแย้งนี้ได้ ซึ่งมักจะออกมาเป็นรูปธรรมในแง่ของพฤติกรรม การแสดงออกในสังคม เริ่มตั้งแต่การแต่งตัว ทรงผม อาหารการกิน การบันเทิง การร้องรำทำเพลง การเต้นรำ บันเทิงต่างๆ เช่น ชนิดของภาพยนตร์ ชนิดของสารคดี ชนิดของรถยนต์ที่ใช้ในการขับขี่ รวมแม้กระทั่งค่านิยมเกี่ยวกับครอบครัว ศาสนา วัฒนธรรมดั้งเดิม กิริยามารยาท ภาษาพูด ความขัดแย้งในลักษณะนี้ไม่มีทางจะหลีกเลี่ยงได้เลย แต่จะปรากฏในทุกสังคมตั้งแต่อดีตกาลมาจนถึงปัจจุบัน
ความขัดแย้งอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสังคม สังคมที่เคยเป็นสังคมเกษตรกรรมเมื่อมีการพัฒนาอุตสาหกรรมเกิดขึ้น มีการย้ายถิ่นจากชนบทไปสู่แหล่งที่มีการผลิตสินค้าทางอุตสาหกรรม ที่ตั้งของโรงงานและที่พักของคนงานที่อยู่กันเป็นกลุ่มใหญ่ๆ มีการจัดตั้งเป็นสหภาพ มีการจัดตั้งเป็นชมรม ฯลฯ ย่อมทำให้เกิดความแตกต่างระหว่างสังคมสองส่วน คือ ส่วนของชนบทที่เป็นภาคเกษตร กับส่วนของชุมชนเมืองซึ่งเป็นภาคอุตสาหกรรม สภาวะที่เกิดขึ้นนี้จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงในแง่ของประชากร จะมีการย้ายถิ่นจากชนบทเข้ามาสู่ในเมืองมากยิ่งขึ้น รูปแบบการดำรงชีวิตของชนบทและในเมืองต่างกัน ค่านิยมของการอยู่ในเมืองใหญ่ๆ ที่ต้องมีความเร่งรีบ ตรงต่อเวลา มีความชาญฉลาดในการแก้ปัญหาส่วนตัว ความสัมพันธ์มนุษย์ที่ค่อนข้างจะไม่เป็นกันเอง ยึดผลประโยชน์เป็นที่ตั้ง ฯลฯ จะทำให้บุคคลที่มีชีวิตอยู่ในเขตเมืองและภาคการผลิตอุตสาหกรรมแตกต่างจากญาติโกโหติกาในหมู่บ้านที่ตนเคยวิ่งเล่นเมื่อตอนเด็ก ความแตกต่างของสังคมสองส่วนนี้นำไปสู่ความขัดแย้งในเรื่องค่านิยม ปทัสถาน แบบกระสวนของพฤติกรรมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่บุคคลที่มาจากประเทศกำลังพัฒนา แต่ไปศึกษาหรือมีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศที่พัฒนามากกว่า ก็จะประสบปัญหาที่รุนแรงกว่าที่กล่าวมาเบื้องต้นเมื่อกลับมาภูมิลำเนาเดิมของตน นอกจากนี้ในภาคอุตสาหกรรมจะประกอบด้วยผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต อันได้แก่ เจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม เจ้าของกิจการบริการขนาดใหญ่ ขณะเดียวกันก็มีผู้ใช้แรงงานและลูกจ้างที่กินเงินเดือนจากเจ้าของกิจการ ความขัดแย้งระหว่างคนสองกลุ่ม กลุ่มผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต เจ้าของกิจการบริการ กับผู้ใช้แรงงานหรือลูกจ้างในเรื่องของค่าจ้าง สวัสดิการ ความยุติธรรม เกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ในแง่ที่อยู่อาศัย อาหารการกิน และจำนวนชั่วโมงของการทำงาน ย่อมจะนำไปสู่ความขัดแย้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ความขัดแย้งในส่วนนี้ คาร์ล มาร์กซ์ ถือว่าเป็นความขัดแย้งของชนชั้น และหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาโดยใช้ความรุนแรงด้วยการลุกฮือขึ้นปฏิวัติของชนชั้นกรรมาชีพ เพื่อล้มอำนาจชนชั้นกระฎุมพี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 560 คน กำลังออนไลน์