• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4c235db3919c3ce6af0c48db42eaee5c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;<strong> &nbsp; &nbsp;<span style=\"text-decoration: underline;\">ห</span></strong><span style=\"text-decoration: underline;\"><strong>ลากหลายกลายเป็นหนึ่ง</strong></span></p>\n<p dir=\"ltr\"><img style=\"display: block; margin-left: auto; margin-right: auto;\" src=\"http://img.tnews.co.th/large/tnews_1392261841_9615.jpg\" alt=\"\" width=\"500\" height=\"333\" /></p>\n<p dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p dir=\"ltr\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;แนวทางในการสร้างสันติสุขให้เกิดขึ้นในการอยู่ร่วมกัน คือ&nbsp;การมีส่วนร่วมในการสร้างบรรยากาศแห่งความสร้างสรรค์และทำให้วัฒนธรรมเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาสังคมนั้นๆ&nbsp;ประเทศไทยเรา แม้จะมีผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ หลายศาสนา หลายภูมิภาค หากแต่เราก็อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข แม้จะมีกระทบกระทั่งกันในบางครั้ง แต่คนไทยด้วยกันองก็ไม่ค่อยมีเรื่องทะเลาะเบาะแว้งกันมากนัก การที่เราจะรวมกันเป็นหนึ่งได้ต้องอาศัยคุณธรรมหลักๆ คือ ความสามัคคี การที่เราจะมีความสามัคคีแน่นอนว่าต้องมีความจริงใจให้แก่กันและกัน&nbsp;</p>\n<p dir=\"ltr\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ในอดีตคนต่างชาติที่เข้ามาอยู่ส่วนใหญ่เริ่มจากการเข้ามาทำการค้าหรือการทำแรงงาน เกิดการสร้างชุมชนบนวิถีชาติพันธุ์ของตนเอง เช่น กลุ่มอินเดีย กลุ่มจีน กลุ่มไทย เป็นต้น ทำงานตามความถนัดความสามารถ และยังคงความเป็นอัตลักษณ์ของตนเองไม่ทิ้งความเป็นตนเอง แต่ในขณะเดียวกันเมื่ออยู่ร่วมกันในสังคมที่หลากหลายก็มีความเคารพในอัตลักษณ์ของสังคมรอบข้างการประกันการเคารพในเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมพร้อมด้วยการมีส่วนร่วมของทุกคนในสังคมภายใต้กรอบแห่งประชาธิปไตย ยอมรับกันซึ่งความแตกต่าง ไม่ดูถูกกัน แม้ว่าการที่เราจะนับถือศาสนาคนละศาสนา คนละสัญชาติ แต่เราก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ในสังคมอย่างมีความสุขได้ การที่คนคนนั้นนับถือศาสนาต่างจากเรา คนละสัญชาติกับเรา คนละภาษา คนละวัฒนธรรม แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าคนคนนั้นจะเป็นคนไม่ดี เช่นเดียวกัน แม้คนอีกคนจะมีภาษา วัฒนธรรม สัญชาติ และนับถือศาสนาเดียวกับเรา ก็ไม่ได้แปลว่าคนคนนั้นจะเป็นคนดีเช่นกัน ถ้าเป็นไปได้ เราอยากให้คนทุกคนในโลกนี้ทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน&nbsp;นอกจากนี้ เรื่องของสิทธิเสรีภาพจะต้องให้อยู่บนฐานของกฏหมายร่วมกัน เช่น การเข้าถึงด้านบริการทางการแพทย์สาธารณสุขที่ปัจจุบันคนจากทุกเชื้อชาติสามารถเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมกัน อีกประเด็นที่ประเทศมาเลเซียให้ความสำคัญเป็นอย่างมากคือ ด้านการศึกษา โดยมีการกำหนดนโยบายให้กลุ่มคนหลากหลายสามารถใช้ภาษาของชาติตนเอง ในการเรียนการสอนในประเทศ สามารถก่อตั้งโรงเรียนที่สอนด้วยภาษาของประเทศนั้นๆ ทั้งนี้ เยาวชนบุตรหลานของชาติพันธุ์ไม่จำเป็นที่จะต้องเข้าเรียนในเฉพาะโรงเรียนของชาติตนเอง แต่สามารถเลือกศึกษาได้ในทุกโรงเรียนโดยไม่มีข้อจำกัด และนี่จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ประชาชนในประเทศมาเลเซียสามารถอยู่ร่วมกันได้ในสังคมหลากวัฒนธรรม&nbsp;แนวทางในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข&nbsp;คือ การยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่นเพราะต่างคนต่างมาจากหลายๆครอบครัวบางครั้งอาจเกิดการไม่เข้าใจกันเพราะต่างครอบครัวต่างสอนกันมาคนละแบบเมื่อจะต้องมาใช้ชีวิตกับคนอื่นอยู่ร่วมกันในสังคมควรที่จะรับฟังความคิดเห็นของคนอื่นไม่ใช่เอาความคิดเห็นตัวเองเป็นหลักต่างคนต่างมีหลากหลายความเชื่อการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นเป็นแนวทางในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขที่สุด<strong>&nbsp;</strong>ตอนนี้<strong>&nbsp;</strong>ประเทศของเราได้เข้าสู่ประชาคมอาเซียนเป็นที่เรียบร้อยแล้วยิ่งทำให้ประเทศเรากลายเป็นประเทศเปิดมากขึ้นมีชาวต่างชาติในหลายๆประเทศเข้ามาทำงานและมาท่องเที่ยวในประเทศของเรามากขึ้นแล้วเราก็ไปประเทศอื่นๆด้วย ในสังคมปัจจุบันนั้นเกิดการทะเลาะกันไม่มีความเห็นที่ตรงกัน ไม่มีความสามัคคีกันเพราะด้วยความแตกต่างของคนในแต่ละคน ทัศนะคตินั้นจึงไม่ตรงกันได้ หนึ่งคน ก็ หนึ่งความคิด คนเราไม่มีใครในโลกที่มีความคิดตรงกันทั้งหมด ทุกคนในสังคมย่อมมีความคิดและทัศนะคติของตนเอง และไม่ตรงกับใคร ในบางครั้งความคิดและ ทัศนะคติก็อาจจะตรงกับคนบางกลุ่มนั่นอาจเป็นเพราะบุคคลเหล่านั้น มีพื้นฐานการ อบรมเลี้ยงดู มีพื้นฐานการศึกษา หรือ มีทัศนะคติที่ตรงกัน บุคคลเหล่านั้นก็จะเกิดความสนิทกันได้ง่าย แต่ในบางกลุ่มคนที่ไม่ได้มีทัศนะคติที่ไม่ค่อยตรงกับเรา บุคคลกลุ่มเหล่านั้นในบางความคิดก็จะเข้ากับเราไม่ได้ เพราะเนื่องด้วยพื้นฐานการอบลมเลี้ยงดู หรือ สิ่งแวดล้อมต่างๆที่เผชิญมานั่นแตกต่างกัน&nbsp;&nbsp;ความมีน้ำใจนั้นตรงกันข้ามความเห็นแก่ตัว&nbsp;&nbsp;ขณะที่คนเห็นแก่ตัวมักจะคิดแต่ประโยชน์ส่วนตัวมาก่อน แต่แน่นอนที่คนมีน้ำใจจะคิดถึงประโยชน์ของส่วนรวมบ้าง และความ มีน้ำใจก็ยังตรงกันข้ามกับความอิจฉาริษยา คนที่อิจฉาริษยาคนอื่นย่อมปรารถนาที่จะเห็นความล้มเหลวของผู้ที่ได้ดีกว่า แต่คนมีน้ำใจนั้น เมื่อเห็นคนอื่นได้ดีกว่าจะมีมุทิตาและจะ แสดงความยินดีด้วยอย่างจริงใจ&nbsp;&nbsp;&nbsp;ผู้มีน้ำใจจะนึกถึงผู้อื่นและจะพยายามช่วยผู้อื่นที่ด้อยโอกาสกว่า ผู้มีน้ำใจจึงเป็นที่รักและต้องการของคนทั่วไป และเป็นคนมีคุณค่าต่อสังคม และที่สำคัญพวกเขาเหล่านั้นก็จะเป็นผู้ที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต อย่างแน่นอน&nbsp;สิ่งที่จำเป็นอย่างเท่าเทียมกันในการดำรงชีวิตอยู่เราจำเป็นต้องมีปัจจัยสี่ ในขณะที่มีความแตกต่างทางฐานะกันอยู่มาก&nbsp;เราจึงไม่ควรแบ่งแยกคนรวยและคนจนแต่มองว่าทุกคนเป็นสมาชิกของคนในสังคมทุกคนควรได้รับปัจจัยพื้นฐานที่ทำให้มีชีวิตอยู่ได้เพราะเรามีสิทธิเท่าเทียมกันดังนั้นเราไม่ควรเอาเปรียบซึ่งกันและกัน&nbsp;เราควร เคารพกฎเกณฑ์ในการอยู่ร่วมกัน เพราะจะทำให้อยู่ร่วมกันอย่างปลอดภัย อาจเรียกสิ่งนี้ว่า ศีล หรือ วินัย นั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะผู้อาวุโสมากหรือน้อยเราควรปฏิบัติตามข้อบังคับหากว่าไม่เคารพกฎเกณฑ์เราก็จะใช้ชีวิตได้อย่างในสังคมเพราะสังคมเรานี้นั้นมีกฎหมายและหวังว่าทุกคนในประเทศจะปฎิบัติตามด้วยการใช้วาจานั้นก็เป็นสิ่งที่ในสังคมควรตระหนัก</p>\n<p dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\" dir=\"ltr\"><img src=\"http://www.thaihealth.or.th/data/content/25574/cms/e_acopqrstuwz4.jpg\" alt=\"\" width=\"500\" height=\"333\" /></p>\n<p dir=\"ltr\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ในการดำเนินชีวิตของเรา ย่อมต้องมีความสัมพันธ์กับผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนร่วมห้อง เพื่อนร่วมงาน ร่วมชุมชน ตลอดจนพี่น้องร่วมครอบครัว จะเกิดเป็นความสัมพันธ์อันดีหรือที่เรียกว่า ความสามัคคี ได้นั้น ต้องอาศัยเหตุที่เรียกว่า สาราณียธรรม หรือธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน กระทำซึ่งความเคารพระหว่างกัน อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยดี มีความสุข ความสงบ ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง ทำร้ายทำลายกัน มี 6 ประการ&nbsp;การต้องปลูกฝังให้เด็กไทยมีความคิดที่ว่าการมีคุณธรรมในการอยู่ร่วมกันเป็นเรื่องสำคัญ ไม่ใช่เพียงแต่คิดเอาผลประโยชน์ตัวเองเป็นที่ตั้ง ดังสำนวนที่ว่าไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก หากเริ่มปลูกฝังกันตั้งแต่รุ่นเด็กๆ เมื่อโตขึ้น เด็กเหล่านั้นก็จะมีสำนึกได้ว่าสิ่งใดควรไม่ควร สิ่งไหนทำแล้วดี สิ่งไหนไม่เหมาะที่จะกระทำ ซึ่งนั่นก็จะเป็นเรื่องดีในภายภาคหน้าเด็กในวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันหน้า คืออนาคตของชาติ แน่นอนว่าเมื่อเราปลูกฝังให้เขาคิดดี เด็กเหล่านั้นเพื่อโตขึ้นไปก็จะสั่งสอนคนรุ่นต่อไปแบบนี้เช่นเดียวกัน แม้จะใช้เวลามาก</p>\n<p dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p dir=\"ltr\">&nbsp;</p>\n', created = 1720151080, expire = 1720237480, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4c235db3919c3ce6af0c48db42eaee5c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลากหลายกลายเป็นหนึ่ง

                     ลากหลายกลายเป็นหนึ่ง

 

                     แนวทางในการสร้างสันติสุขให้เกิดขึ้นในการอยู่ร่วมกัน คือ การมีส่วนร่วมในการสร้างบรรยากาศแห่งความสร้างสรรค์และทำให้วัฒนธรรมเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาสังคมนั้นๆ ประเทศไทยเรา แม้จะมีผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ หลายศาสนา หลายภูมิภาค หากแต่เราก็อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข แม้จะมีกระทบกระทั่งกันในบางครั้ง แต่คนไทยด้วยกันองก็ไม่ค่อยมีเรื่องทะเลาะเบาะแว้งกันมากนัก การที่เราจะรวมกันเป็นหนึ่งได้ต้องอาศัยคุณธรรมหลักๆ คือ ความสามัคคี การที่เราจะมีความสามัคคีแน่นอนว่าต้องมีความจริงใจให้แก่กันและกัน 

                     ในอดีตคนต่างชาติที่เข้ามาอยู่ส่วนใหญ่เริ่มจากการเข้ามาทำการค้าหรือการทำแรงงาน เกิดการสร้างชุมชนบนวิถีชาติพันธุ์ของตนเอง เช่น กลุ่มอินเดีย กลุ่มจีน กลุ่มไทย เป็นต้น ทำงานตามความถนัดความสามารถ และยังคงความเป็นอัตลักษณ์ของตนเองไม่ทิ้งความเป็นตนเอง แต่ในขณะเดียวกันเมื่ออยู่ร่วมกันในสังคมที่หลากหลายก็มีความเคารพในอัตลักษณ์ของสังคมรอบข้างการประกันการเคารพในเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมพร้อมด้วยการมีส่วนร่วมของทุกคนในสังคมภายใต้กรอบแห่งประชาธิปไตย ยอมรับกันซึ่งความแตกต่าง ไม่ดูถูกกัน แม้ว่าการที่เราจะนับถือศาสนาคนละศาสนา คนละสัญชาติ แต่เราก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ในสังคมอย่างมีความสุขได้ การที่คนคนนั้นนับถือศาสนาต่างจากเรา คนละสัญชาติกับเรา คนละภาษา คนละวัฒนธรรม แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าคนคนนั้นจะเป็นคนไม่ดี เช่นเดียวกัน แม้คนอีกคนจะมีภาษา วัฒนธรรม สัญชาติ และนับถือศาสนาเดียวกับเรา ก็ไม่ได้แปลว่าคนคนนั้นจะเป็นคนดีเช่นกัน ถ้าเป็นไปได้ เราอยากให้คนทุกคนในโลกนี้ทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ เรื่องของสิทธิเสรีภาพจะต้องให้อยู่บนฐานของกฏหมายร่วมกัน เช่น การเข้าถึงด้านบริการทางการแพทย์สาธารณสุขที่ปัจจุบันคนจากทุกเชื้อชาติสามารถเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมกัน อีกประเด็นที่ประเทศมาเลเซียให้ความสำคัญเป็นอย่างมากคือ ด้านการศึกษา โดยมีการกำหนดนโยบายให้กลุ่มคนหลากหลายสามารถใช้ภาษาของชาติตนเอง ในการเรียนการสอนในประเทศ สามารถก่อตั้งโรงเรียนที่สอนด้วยภาษาของประเทศนั้นๆ ทั้งนี้ เยาวชนบุตรหลานของชาติพันธุ์ไม่จำเป็นที่จะต้องเข้าเรียนในเฉพาะโรงเรียนของชาติตนเอง แต่สามารถเลือกศึกษาได้ในทุกโรงเรียนโดยไม่มีข้อจำกัด และนี่จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ประชาชนในประเทศมาเลเซียสามารถอยู่ร่วมกันได้ในสังคมหลากวัฒนธรรม แนวทางในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข คือ การยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่นเพราะต่างคนต่างมาจากหลายๆครอบครัวบางครั้งอาจเกิดการไม่เข้าใจกันเพราะต่างครอบครัวต่างสอนกันมาคนละแบบเมื่อจะต้องมาใช้ชีวิตกับคนอื่นอยู่ร่วมกันในสังคมควรที่จะรับฟังความคิดเห็นของคนอื่นไม่ใช่เอาความคิดเห็นตัวเองเป็นหลักต่างคนต่างมีหลากหลายความเชื่อการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นเป็นแนวทางในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขที่สุด ตอนนี้ ประเทศของเราได้เข้าสู่ประชาคมอาเซียนเป็นที่เรียบร้อยแล้วยิ่งทำให้ประเทศเรากลายเป็นประเทศเปิดมากขึ้นมีชาวต่างชาติในหลายๆประเทศเข้ามาทำงานและมาท่องเที่ยวในประเทศของเรามากขึ้นแล้วเราก็ไปประเทศอื่นๆด้วย ในสังคมปัจจุบันนั้นเกิดการทะเลาะกันไม่มีความเห็นที่ตรงกัน ไม่มีความสามัคคีกันเพราะด้วยความแตกต่างของคนในแต่ละคน ทัศนะคตินั้นจึงไม่ตรงกันได้ หนึ่งคน ก็ หนึ่งความคิด คนเราไม่มีใครในโลกที่มีความคิดตรงกันทั้งหมด ทุกคนในสังคมย่อมมีความคิดและทัศนะคติของตนเอง และไม่ตรงกับใคร ในบางครั้งความคิดและ ทัศนะคติก็อาจจะตรงกับคนบางกลุ่มนั่นอาจเป็นเพราะบุคคลเหล่านั้น มีพื้นฐานการ อบรมเลี้ยงดู มีพื้นฐานการศึกษา หรือ มีทัศนะคติที่ตรงกัน บุคคลเหล่านั้นก็จะเกิดความสนิทกันได้ง่าย แต่ในบางกลุ่มคนที่ไม่ได้มีทัศนะคติที่ไม่ค่อยตรงกับเรา บุคคลกลุ่มเหล่านั้นในบางความคิดก็จะเข้ากับเราไม่ได้ เพราะเนื่องด้วยพื้นฐานการอบลมเลี้ยงดู หรือ สิ่งแวดล้อมต่างๆที่เผชิญมานั่นแตกต่างกัน  ความมีน้ำใจนั้นตรงกันข้ามความเห็นแก่ตัว  ขณะที่คนเห็นแก่ตัวมักจะคิดแต่ประโยชน์ส่วนตัวมาก่อน แต่แน่นอนที่คนมีน้ำใจจะคิดถึงประโยชน์ของส่วนรวมบ้าง และความ มีน้ำใจก็ยังตรงกันข้ามกับความอิจฉาริษยา คนที่อิจฉาริษยาคนอื่นย่อมปรารถนาที่จะเห็นความล้มเหลวของผู้ที่ได้ดีกว่า แต่คนมีน้ำใจนั้น เมื่อเห็นคนอื่นได้ดีกว่าจะมีมุทิตาและจะ แสดงความยินดีด้วยอย่างจริงใจ   ผู้มีน้ำใจจะนึกถึงผู้อื่นและจะพยายามช่วยผู้อื่นที่ด้อยโอกาสกว่า ผู้มีน้ำใจจึงเป็นที่รักและต้องการของคนทั่วไป และเป็นคนมีคุณค่าต่อสังคม และที่สำคัญพวกเขาเหล่านั้นก็จะเป็นผู้ที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต อย่างแน่นอน สิ่งที่จำเป็นอย่างเท่าเทียมกันในการดำรงชีวิตอยู่เราจำเป็นต้องมีปัจจัยสี่ ในขณะที่มีความแตกต่างทางฐานะกันอยู่มาก เราจึงไม่ควรแบ่งแยกคนรวยและคนจนแต่มองว่าทุกคนเป็นสมาชิกของคนในสังคมทุกคนควรได้รับปัจจัยพื้นฐานที่ทำให้มีชีวิตอยู่ได้เพราะเรามีสิทธิเท่าเทียมกันดังนั้นเราไม่ควรเอาเปรียบซึ่งกันและกัน เราควร เคารพกฎเกณฑ์ในการอยู่ร่วมกัน เพราะจะทำให้อยู่ร่วมกันอย่างปลอดภัย อาจเรียกสิ่งนี้ว่า ศีล หรือ วินัย นั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะผู้อาวุโสมากหรือน้อยเราควรปฏิบัติตามข้อบังคับหากว่าไม่เคารพกฎเกณฑ์เราก็จะใช้ชีวิตได้อย่างในสังคมเพราะสังคมเรานี้นั้นมีกฎหมายและหวังว่าทุกคนในประเทศจะปฎิบัติตามด้วยการใช้วาจานั้นก็เป็นสิ่งที่ในสังคมควรตระหนัก

 

 

                     ในการดำเนินชีวิตของเรา ย่อมต้องมีความสัมพันธ์กับผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนร่วมห้อง เพื่อนร่วมงาน ร่วมชุมชน ตลอดจนพี่น้องร่วมครอบครัว จะเกิดเป็นความสัมพันธ์อันดีหรือที่เรียกว่า ความสามัคคี ได้นั้น ต้องอาศัยเหตุที่เรียกว่า สาราณียธรรม หรือธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน กระทำซึ่งความเคารพระหว่างกัน อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยดี มีความสุข ความสงบ ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง ทำร้ายทำลายกัน มี 6 ประการ การต้องปลูกฝังให้เด็กไทยมีความคิดที่ว่าการมีคุณธรรมในการอยู่ร่วมกันเป็นเรื่องสำคัญ ไม่ใช่เพียงแต่คิดเอาผลประโยชน์ตัวเองเป็นที่ตั้ง ดังสำนวนที่ว่าไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก หากเริ่มปลูกฝังกันตั้งแต่รุ่นเด็กๆ เมื่อโตขึ้น เด็กเหล่านั้นก็จะมีสำนึกได้ว่าสิ่งใดควรไม่ควร สิ่งไหนทำแล้วดี สิ่งไหนไม่เหมาะที่จะกระทำ ซึ่งนั่นก็จะเป็นเรื่องดีในภายภาคหน้าเด็กในวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันหน้า คืออนาคตของชาติ แน่นอนว่าเมื่อเราปลูกฝังให้เขาคิดดี เด็กเหล่านั้นเพื่อโตขึ้นไปก็จะสั่งสอนคนรุ่นต่อไปแบบนี้เช่นเดียวกัน แม้จะใช้เวลามาก

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 643 คน กำลังออนไลน์