• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c2e9be28a5ce2edb4438605fd185d8ee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">พระราชอัจฉริยะภาพในการแสดงดนตรี</span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">            </span></strong>พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สามารถทรงดนตรีแจ๊สได้ทั้งชนิดมีโน้ตและไม่มีโน้ต  พระอัจฉริยภาพของพระองค์จะปรากฏเด่นชัด ในตอนทรงแสดงเดี่ยว (solo)  เพราะการแสดงเดี่ยวดนตรีแจ๊ส  ที่ศัพท์ดนตรีเรียกว่า Solo adlip  เป็นเรื่องยากที่ผู้เล่นจะต้องใช้ปฏิภาณแต่งเนื้อหาใหม่ขึ้นอย่างฉับพลัน  แต่ต้องให้อยู่ในกรอบและจังหวะของแนวเพลงนั้นๆ\n</p>\n<p>\n            เช่น ในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ได้เสด็จฯ ไปเสวยพระกระยาหารค่ำ <span style=\"color: #ff0000\">ณ วอชิงตันเพลส์  ซึ่งรัฐบาลฮาวายจัดถวาย</span>   ทางฝ่ายเจ้าภาพเมื่อได้ทราบว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงมีพระปรีชาสามารถพิเศษด้านดนตรี  จึงได้กราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ ให้ทรงร่วมบรรเลงดนตรีกับวงดนตรีที่จัดมาแสดงถวายหน้าพระที่นั่ง  โดยเตรียมเครื่องดนตรีคลาริเน็ทไว้ถวายให้ทรงเล่นด้วย  หลังจากที่ทรงได้รับการ  &quot;คะยั้นคะยอหนักขึ้น &quot;  จากทั้งเจ้าภาพนักดนตรี  และผู้ร่วมงานพร้อมกับเสียงตรบมือไม่หยุด จึงทรงรับเชิญขึ้นไปทรงเล่นดนตรีพระราชทาน  ๒  เพลง  แม้ว่าจะมิได้เตรียมพระองค์มาก่อน เหตุการณ์นี้เป็นที่ประทับใจแก่ผู้ร่วมงานในวันนั้นอย่างยิ่งเพราะชาวอเมริกันชอบ &quot; ความเป็นกันเอง &quot;  เช่นนี้มาก\n</p>\n<p>\n           และเมื่อเสด็จฯ ต่อไปยัง <span style=\"color: #ff0000\">นครนิวยอร์ค  ประเทศสหรัฐอเมริกา</span>  ก็ได้เสด็จไปทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรีของ นายเบนนี่ กู๊ดแมน (Benny Goodman) นักดนตรีฝีมือเยี่ยมระดับโลก\n</p>\n<p>\n            เมื่อคราวเสด็จฯ เยือน <span style=\"color: #ff0000\">ประเทศฟิลิปปินส์</span>  ในปีพุทธศักราช ๒๕๐๖  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ได้ร่วมทรงดนตรีกับสมาชิกวุฒิสถาของฟิลิปปินส์ ณ  สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงมะนิลา  พระปรีชาสามารถในครั้งนั้น  สร้างความประทับใจให้กับชาวฟิลิปปินส์  เป็นการช่วยกระชับสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบ้านให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น\n</p>\n<p>\n            <span style=\"color: #ff0000\">กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย</span>  ซึ่งมีชื่อว่าเป็นแหล่งกำเนิดของนักดนตรีที่สำคัญและคีตกวีเอกของโลก ได้ยกย่องพระปรีชาสามารถด้านการดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยเฉพาะ  คือ  เมื่อครั้งที่เสด็จฯ  เยือนประเทศสาธารณรัฐออสเตรียอย่างเป็นทางการ  ในวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๗  วงดุริยางค์ซิมโฟนีออเคสตร้า  แห่งกรุงเวียนนาได้อัญเชิญเพลงพระราชนิพนธ์ ชุด“มโนราห์”,“สายฝน”, “ยามเย็น”, “ มาร์ชราชนาวิกโยธิน” และ “มาร์ชราชวัลลภ”  ไปบรรเลง ณ คอนเสิร์ตฮอลล์ กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ พร้อมกันนี้สถานีวิทยุกระจาย เสียงของรัฐบาลออสเตรียได้ส่งกระจายเสียงเพลงและเสนอข่าวนี้ไปทั่วประเทศ\n</p>\n<p>\n            ในการแสดงดนตรีนั้น  ทุกครั้งที่ทางวง <span style=\"color: #ff0000\">N.Q. TONKUNSTLER ORCHESTRA</span> บรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์จบลง  ผู้ชมภายในมิวสิคฮอลล์จะลุกขึ้นยืนปรบ มือถวายพระเกียรติเป็นเวลาที่ยาวนานมาก   และเป็นเช่นนี้ทุกครั้งที่เพลงพระราชนิพนธ์ถูกบรรเลงจบลง นับเป็นครั้งที่พระมหากษัตริย์แห่งทวีปเอเชียได้ทรงเข้าไปมีบทบาทอันสำคัญยิ่งในนครดนตรีแห่งนี้ (คณะศิลปกรรมศาสตร์ 2539 : 10 - 12)  \n</p>\n<p>\n           หลังจากนั้นอีก ๒ วัน คือ <span style=\"color: #ff0000\">วันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๗</span>  <span style=\"color: #ff0000\">สถาบันดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนา หรือ THE INSITUTE OF MUSIC AND ARTS OF THE CHY OF VIENNA</span>  <span style=\"color: #ff0000\">ได้ถวายพระเกียติให้  ดำรงตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ หมายเลขที่ ๒๑</span> ดังปรากฏ<span style=\"color: #ff0000\">พระปรมาภิไธย จารึกบนแผ่นหินอ่อนของสถาบันอันเก่าแก่ของยุโรปนี้</span> ประธานสถาบันได้กล่าวสดุดีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในฐานะที่ทรงเป็นผู้สร้างสัมพันธ์อันดียิ่งระหว่างดนตรีตะวันออกกับตะวันตก  และทรงพระราชนิพนธ์เพลงด้วยพระปรีชาสามารถนับเป็นครั้งแรกที่พระมหากษัตริย์แห่งทวีปเอเชีย ทรงมีบทบาทสำคัญยิ่ง ณ ศูนย์กลางแห่งการดนตรีในทวีปยุโรป  ทรงเป็นชาวเอเชียพระองค์แรก ที่ทรงได้รับการถวายพระเกียรติให้ดำรงตำ แหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ขณะที่ <span style=\"color: #ff0000\">ทรงมีพระชนมพรรษาเพียง ๓๗ พรรษา</span>\n</p>\n<p>\n    <img border=\"0\" width=\"235\" src=\"/files/u6552/tute_of_Music_and_Arts_of_the_City_of_Vienna.gif\" height=\"290\" style=\"width: 211px; height: 243px\" />  <img border=\"0\" width=\"106\" src=\"/files/u6552/king2.jpg\" height=\"120\" style=\"width: 107px; height: 116px\" />  <img border=\"0\" width=\"101\" src=\"/files/u6552/King.jpg\" height=\"120\" style=\"width: 112px; height: 117px\" />  <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u6552/King3.jpg\" height=\"419\" style=\"width: 151px; height: 242px\" />\n</p>\n<p>\n  <span style=\"background-color: #800080\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #800080\"> <span style=\"color: #800080\"> <span style=\"color: #ff0000\"><strong>The Institute of Music and Arts of the City of Vienna</strong></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n           พสกนิกรชาวไทยทุกคน ไม่เพียงแต่ชื่นชมในพระเกียรติยศทางดนตรีที่ทรงได้รับจากนานาประเทศเท่านั้น แต่ยังภาคภูมิใจในความสำเร็จจากการเสด็จพระราชดำเนินกระชับสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศด้วยอัครศิลปิน การแสดงดนตรีแจ๊ส ซึ่งใช้การปล่อยอารมณ์ ความนึกคิด จินตนาการให้ลอยล่องอย่างเสรีและเป็นตัวกำหนด  การบรรเลงทำนอง  ความอิสระในการแสดงออกตลอดจน การใช้คีตปฏิภาณ  ล้วนเป็นสิ่งที่ต้องพระราชอัธยาศัย พระองค์จึงทรงพระราชนิพนธ์เพลงในแนวแจ๊สไว้เป็นจำนวนมากในเวลาต่อมา\n</p>\n<p>\n           <span style=\"color: #ff0000\">แฮร์รี โรลนิค (Harry Rolnick)</span> กล่าวถึงพระอัจฉริยภาพทางดนตรีของ พระองค์ไว้ตอนหนึ่งดังนี้ <br />\nHis Majesty, though, feels that music is a more public element, that it can communicate more than mystery and magic, that it can express a personal joy and self-fulfillment. A royal colleague who often joins King Bhumibol Adulyadej for his weekly jam sessions, explained the Monarch. &quot;You have to understand,&quot; he said, &quot;that the discipline of His Majesty is so intense,in every phase of his studies, that jazz is the only time when he has the complete freedom to do exactly what his creative instincts tell him to do. His personality has so many different aspects, his work is so rigorous, and his responsibilities so arduous, that music is the time when he can put these cares away and relax with people who respect him--and whom he respects--as creative artists.&quot; (Harry Rolnick. 1988 : 59)\n</p>\n<p>\n</p>\n', created = 1726352422, expire = 1726438822, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c2e9be28a5ce2edb4438605fd185d8ee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พระอัจฉริยภาพทางด้านดนตรี

รูปภาพของ SugarFree

 

พระราชอัจฉริยะภาพในการแสดงดนตรี

            พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สามารถทรงดนตรีแจ๊สได้ทั้งชนิดมีโน้ตและไม่มีโน้ต  พระอัจฉริยภาพของพระองค์จะปรากฏเด่นชัด ในตอนทรงแสดงเดี่ยว (solo)  เพราะการแสดงเดี่ยวดนตรีแจ๊ส  ที่ศัพท์ดนตรีเรียกว่า Solo adlip  เป็นเรื่องยากที่ผู้เล่นจะต้องใช้ปฏิภาณแต่งเนื้อหาใหม่ขึ้นอย่างฉับพลัน  แต่ต้องให้อยู่ในกรอบและจังหวะของแนวเพลงนั้นๆ

            เช่น ในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ได้เสด็จฯ ไปเสวยพระกระยาหารค่ำ ณ วอชิงตันเพลส์  ซึ่งรัฐบาลฮาวายจัดถวาย   ทางฝ่ายเจ้าภาพเมื่อได้ทราบว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงมีพระปรีชาสามารถพิเศษด้านดนตรี  จึงได้กราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ ให้ทรงร่วมบรรเลงดนตรีกับวงดนตรีที่จัดมาแสดงถวายหน้าพระที่นั่ง  โดยเตรียมเครื่องดนตรีคลาริเน็ทไว้ถวายให้ทรงเล่นด้วย  หลังจากที่ทรงได้รับการ  "คะยั้นคะยอหนักขึ้น "  จากทั้งเจ้าภาพนักดนตรี  และผู้ร่วมงานพร้อมกับเสียงตรบมือไม่หยุด จึงทรงรับเชิญขึ้นไปทรงเล่นดนตรีพระราชทาน  ๒  เพลง  แม้ว่าจะมิได้เตรียมพระองค์มาก่อน เหตุการณ์นี้เป็นที่ประทับใจแก่ผู้ร่วมงานในวันนั้นอย่างยิ่งเพราะชาวอเมริกันชอบ " ความเป็นกันเอง "  เช่นนี้มาก

           และเมื่อเสด็จฯ ต่อไปยัง นครนิวยอร์ค  ประเทศสหรัฐอเมริกา  ก็ได้เสด็จไปทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรีของ นายเบนนี่ กู๊ดแมน (Benny Goodman) นักดนตรีฝีมือเยี่ยมระดับโลก

            เมื่อคราวเสด็จฯ เยือน ประเทศฟิลิปปินส์  ในปีพุทธศักราช ๒๕๐๖  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ได้ร่วมทรงดนตรีกับสมาชิกวุฒิสถาของฟิลิปปินส์ ณ  สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงมะนิลา  พระปรีชาสามารถในครั้งนั้น  สร้างความประทับใจให้กับชาวฟิลิปปินส์  เป็นการช่วยกระชับสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบ้านให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น

            กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย  ซึ่งมีชื่อว่าเป็นแหล่งกำเนิดของนักดนตรีที่สำคัญและคีตกวีเอกของโลก ได้ยกย่องพระปรีชาสามารถด้านการดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยเฉพาะ  คือ  เมื่อครั้งที่เสด็จฯ  เยือนประเทศสาธารณรัฐออสเตรียอย่างเป็นทางการ  ในวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๗  วงดุริยางค์ซิมโฟนีออเคสตร้า  แห่งกรุงเวียนนาได้อัญเชิญเพลงพระราชนิพนธ์ ชุด“มโนราห์”,“สายฝน”, “ยามเย็น”, “ มาร์ชราชนาวิกโยธิน” และ “มาร์ชราชวัลลภ”  ไปบรรเลง ณ คอนเสิร์ตฮอลล์ กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ พร้อมกันนี้สถานีวิทยุกระจาย เสียงของรัฐบาลออสเตรียได้ส่งกระจายเสียงเพลงและเสนอข่าวนี้ไปทั่วประเทศ

            ในการแสดงดนตรีนั้น  ทุกครั้งที่ทางวง N.Q. TONKUNSTLER ORCHESTRA บรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์จบลง  ผู้ชมภายในมิวสิคฮอลล์จะลุกขึ้นยืนปรบ มือถวายพระเกียรติเป็นเวลาที่ยาวนานมาก   และเป็นเช่นนี้ทุกครั้งที่เพลงพระราชนิพนธ์ถูกบรรเลงจบลง นับเป็นครั้งที่พระมหากษัตริย์แห่งทวีปเอเชียได้ทรงเข้าไปมีบทบาทอันสำคัญยิ่งในนครดนตรีแห่งนี้ (คณะศิลปกรรมศาสตร์ 2539 : 10 - 12)  

           หลังจากนั้นอีก ๒ วัน คือ วันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๗  สถาบันดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนา หรือ THE INSITUTE OF MUSIC AND ARTS OF THE CHY OF VIENNA  ได้ถวายพระเกียติให้  ดำรงตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ หมายเลขที่ ๒๑ ดังปรากฏพระปรมาภิไธย จารึกบนแผ่นหินอ่อนของสถาบันอันเก่าแก่ของยุโรปนี้ ประธานสถาบันได้กล่าวสดุดีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในฐานะที่ทรงเป็นผู้สร้างสัมพันธ์อันดียิ่งระหว่างดนตรีตะวันออกกับตะวันตก  และทรงพระราชนิพนธ์เพลงด้วยพระปรีชาสามารถนับเป็นครั้งแรกที่พระมหากษัตริย์แห่งทวีปเอเชีย ทรงมีบทบาทสำคัญยิ่ง ณ ศูนย์กลางแห่งการดนตรีในทวีปยุโรป  ทรงเป็นชาวเอเชียพระองค์แรก ที่ทรงได้รับการถวายพระเกียรติให้ดำรงตำ แหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ขณะที่ ทรงมีพระชนมพรรษาเพียง ๓๗ พรรษา

         

    The Institute of Music and Arts of the City of Vienna

           พสกนิกรชาวไทยทุกคน ไม่เพียงแต่ชื่นชมในพระเกียรติยศทางดนตรีที่ทรงได้รับจากนานาประเทศเท่านั้น แต่ยังภาคภูมิใจในความสำเร็จจากการเสด็จพระราชดำเนินกระชับสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศด้วยอัครศิลปิน การแสดงดนตรีแจ๊ส ซึ่งใช้การปล่อยอารมณ์ ความนึกคิด จินตนาการให้ลอยล่องอย่างเสรีและเป็นตัวกำหนด  การบรรเลงทำนอง  ความอิสระในการแสดงออกตลอดจน การใช้คีตปฏิภาณ  ล้วนเป็นสิ่งที่ต้องพระราชอัธยาศัย พระองค์จึงทรงพระราชนิพนธ์เพลงในแนวแจ๊สไว้เป็นจำนวนมากในเวลาต่อมา

           แฮร์รี โรลนิค (Harry Rolnick) กล่าวถึงพระอัจฉริยภาพทางดนตรีของ พระองค์ไว้ตอนหนึ่งดังนี้
His Majesty, though, feels that music is a more public element, that it can communicate more than mystery and magic, that it can express a personal joy and self-fulfillment. A royal colleague who often joins King Bhumibol Adulyadej for his weekly jam sessions, explained the Monarch. "You have to understand," he said, "that the discipline of His Majesty is so intense,in every phase of his studies, that jazz is the only time when he has the complete freedom to do exactly what his creative instincts tell him to do. His personality has so many different aspects, his work is so rigorous, and his responsibilities so arduous, that music is the time when he can put these cares away and relax with people who respect him--and whom he respects--as creative artists." (Harry Rolnick. 1988 : 59)

สร้างโดย: 
SugarFree

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 445 คน กำลังออนไลน์