• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('การเปรียบเทียบระหว่างเทคโนโลยีเก่าและใหม่', 'node/43962', '', '3.15.22.163', 0, 'b9bdba7d87a556cf6dfbe4363bf4678b', 160, 1715939698) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:78fa89d03cc6bacfd9da04954d9cea8c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #800080\">อาณาจักรสุโขทัย</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #800080\"><br />\nบทนำ </span></strong>\n</p>\n<p>\n         <span style=\"color: #993300\">อาณาจักรสุโขทัย หรือ รัฐสุโขทัย เป็นอาณาจักรหนึ่งของชนชาติไทย ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม และเจริญถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช แต่จากนั้นก็ตกต่ำลงเรื่อยๆจนเป็นส่วนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยาไปในที่สุด </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #800080\">ประวัติ </span></strong>\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #003300\">เดิมที สุโขทัย เป็นสถานีการค้าของแคว้นละโว้ (อาณาจักรขอม) บนเส้นทางการค้าผ่านคาบสมุทรระหว่างอ่าวเมาะตะมะกับที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง  คาดว่าเริ่มตั้งเป็นสถานีการค้าในราวพุทธศักราช 1700 ในรัชสมัยของพระยาธรรมิกราช กษัตริย์ละโว้โดยมีพ่อขุนศรีนาวนำถม เป็นผู้ปกครองและดูแลกิจการภายในเมืองสุโขทัย และศรีสัชนาลัย ต่อมาเมื่อพ่อขุนศรีนาวนำถมสวรรคต  ขอมสบาตโขญลำพงซึ่งเป็นคล้ายๆกับผู้ตรวจราชการจากละโว้ เข้าทำการยึดอำนาจการปกครองสุโขทัย จึงส่งผลให้ พ่อขุนผาเมือง (พระราชโอรสของพ่อขุนศรีนาวนำถม) เจ้าเมืองราด(หล่มสัก) และ พ่อขุนบางกลางหาว เจ้าเมืองบางยาง(นครไทย) ตัดสินพระทัยจะยึดดินแดนคืน การชิงเอาอำนาจจากผู้ครองเดิมคือ อาณาจักรขอม เมื่อปี พ.ศ. 1781 และสถาปนาเอกราช ให้กรุงสุโขทัยขึ้นเป็นรัฐอิสระ โดยไม่ขึ้นตรงกับรัฐใดและพ่อขุนผาเมือง ก็กลับยกเมืองสุโขทัย ให้พ่อขุนบางกลางหาวครอง พร้อมทั้ง พระแสงขรรค์ชัยศรี และพระนาม ศรีอินทรบดินทราทิตย์ ซึ่งพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงพระราชทานให้พ่อขุนผาเมืองก่อนหน้านี้ โดยคาดว่า เหตุผลคือพ่อขุนผาเมืองมีพระมเหสี (ราชธิดาของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7) ซึ่งพระองค์เกรงว่าชาวสุโขทัยจะไม่ยอมรับ แต่ก็กลัวว่าทางขอมจะไม่ไว้ใจจึงมอบพระนามพระราชทาน และพระแสงขรรค์ชัยศรี ขึ้นบรมราชาภิเษก พ่อขุนผาเมืองให้เป็นกษัตริย์ เพื่อเป็นการตบตาราชสำนักขอม</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n      <span style=\"color: #000080\">หลังจากมีการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นเป็นราชธานี และมีพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ เป็นปฐมกษัตริย์แล้ว พระองค์ทรงดูแลพระราชอาณาจักร และบำรุงราษฏรเป็นอย่างดี      พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ทรงพระปรีชาสามารถทั้งในด้าน การปกครอง กฎหมาย วิศวกรรม ศาสนา ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เป็นต้น ผลงานของพระองค์ที่ปรากฏให้เห็น อาทิ ศิลาจารึกที่ค้นพบในสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่อธิบายถึงความเป็นมา ของโบราณ น้ำพระทัยของพระมหากษัตริย์ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผลงานทางวิศวกรรมชลประทาน คือ เขื่อนสรีดภงค์ที่เป็นการกักเก็บน้ำไว้ใช้ในยามแล้ง มีการทำท่อส่งน้ำจากตัวเขื่อนมาใช้ในเมือง พระมหากษัตริย์ที่ทรงทำนุบำรุงศาสนามากที่สุดคือ  พระเจ้าลิไท (พระมหาธรรมราชาที่ 1) ในรัชสมัยของพระองค์มีการสร้างวัดมากที่สุดและพระองค์ยังเป็นกษัตริย์องค์แรกที่ออกผนวชด้วย  กษัตริย์พระองค์สุดท้ายในฐานะรัฐอิสระ คือ พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) ต่อจากนั้น อาณาจักรได้ถูกแบ่งส่วนออกเป็นของอาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรล้านนา จนในที่สุด อาณาจักรทั้งหมด ก็ถูกรวมศูนย์ เข้าเป็นดินแดนสวนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา โดยสมัย สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) แห่งอาณาจักรอยุธยา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<strong><span style=\"color: #800080\">ความเจริญรุ่งเรือง </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #800080\">ด้านเศรษฐกิจ</span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #800080\"></span></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #800080\">สภาพเศรษฐกิจสมัยสุโขทัยเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ดังข้อความปรากฏในหลักศิลาจารึกหลักที่ 1 &quot;…ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงินค้าทองค้า ค้าถ้วยชามสังคโลก&quot; และ &quot;...เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลาในนามีข้าว...&quot; ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมด้วยระบบ การเกษตรแบบพึ่งพาธรรมชาติ </span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<strong><span style=\"color: #800080\">ด้านสังคม ความเชื่อ และศาสนา</span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #800080\"></span></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #000080\">การใช้ชีวิตของผู้คนในสมัยสุโขทัยมีความอิสรเสรี มีเสรีภาพอย่างมากเนื่องจากผู้ปกครองรัฐให้อิสระแก่ไพร่ฟ้า และปกครองผู้ใต้ปกครองแบบพ่อกับลูก ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกว่า &quot;…ด้วยเสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื่อน เลื่อน…&quot;<br />\nด้านความเชื่อและศาสนา สังคมยุคสุโขทัยประชาชนมีความเชื่อทั้งเรื่องวิญญาณนิยม (Animism) ไสยศาสตร์ ศาสนาพราหมณ์ฮินดู และพุทธศาสนา ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ 1 ด้านที่ 3 ว่า &quot;…เบื้องหัวนอนเมืองสุโขทัยนี้มีกุฎิวิหารปู่ครูอยู่ มีสรีดพงส์ มีป่าพร้าว ป่าลาง ป่าม่วง ป่าขาม มีน้ำโคก มีพระขระพุงผี เทพยาดาในเขาอันนั้นเป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้ ขุนผู้ใดถือเมืองสุโขทัยนี้แล้ว ไหว้ดีพลีถูก เมืองนี้เที่ยว เมืองนี้ดี ผิไหว้บ่ดี พลีบ่ถูก ผีในเขาอันนั้นบ่คุ้มบ่เกรง เมืองนี้หาย…&quot;<br />\nส่วนด้านศาสนา ได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบจากนครศรีธรรมราช ในวันพระ จะมีภิกษุเทศนาสั่งสอน ณ พระแท่นมนังคศิลาอาสน์สวนตาลลานธรรม โดยใช้ในการบรรยายธรรมให้ประชาชนฟัง ยังผลให้ประชาชนในยุคนี้นิยมปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรม มีการถือศีล โอยทานกันเป็นปกติวิสัย ทำให้สังคมโดยรวมมีความสงบสุขร่มเย็น </span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<strong><span style=\"color: #800080\">ด้านการปกครอง</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #800080\"></span></strong><br />\n<span style=\"color: #800080\">ด้านการปกครองสามารถแยกกล่าวเป็น 2 แนว ดังนี้ <br />\n</span><span style=\"color: #800080\"><strong><span style=\"color: #800080\">การปกครองแบบพ่อปกครองลูก <br />\n</span></strong>กล่าวคือผู้ปกครองจะมีความใกล้ชิดกับประชาชน ให้ความเป็นกันเองกับประชาชนเป็นอย่างมาก เมื่อประชาชนเกิดความเดือดร้อนไม่ได้รับความเป็นธรรม สามารถร้องเรียนกับพ่อขุนโดยตรงได้ โดยไปสั่นกระดิ่งที่แขวนไว้ที่หน้าประตูที่ประทับ ดังข้อความในศิลาจารึกปรากฏว่า &quot;…ในปากมีอันหนึ่งไว้ให้ ไพร่ฟ้าหน้าใส…&quot; นั่นคือเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถมาสั่นกระดิ่งเพื่อแจ้งข้อร้องเรียนได้ <br />\n<strong><span style=\"color: #800080\">การจัดระบบการปกครองขึ้นเป็น 4 ชนชั้น คือ</span></strong><br />\n<strong><span style=\"color: #800080\">พ่อขุน</span></strong> เป็นชนชั้นผู้ปกครองเมืองหลวง อาจเรียกชื่ออย่างอื่น เช่น  พระมหาธรรมราชา หากมีโอรสก็จะเรียก &quot;ลูกขุน&quot; <br />\n<strong><span style=\"color: #800080\">ขุนนาง </span></strong>เป็น ข้าราชการที่มีตำแหน่งหน้าที่ช่วงปกครองภายใน เป็นกลุ่มคนที่ใกล้ชิดและได้รับการไว้วางใจจากเจ้าเมืองให้ปฏิบัติหน้าที่บำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ไพร่ฟ้า <br />\n<strong><span style=\"color: #800080\">ไพร่</span></strong>หรือ ได้แก่ราษฎรทั่วไปที่อยู่ในราชอาณาจักร (สามัญชน) <br />\n<strong><span style=\"color: #800080\">ทาส </span></strong>ได้แก่ชนชั้นที่ไม่มีอิสระในการดำรงชีวิตอย่างสามัญชนหรือไพร่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n<p>\n <a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/2/2e/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B9%82%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2.jpg\"><img border=\"0\" width=\"393\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/thumb/2/2e/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B9%82%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2.jpg/393px-%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B9%82%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2.jpg\" alt=\"ไฟล์:แผนที่รัฐโบราณก่อนสมัยอยุธยา.jpg\" height=\"599\" style=\"width: 625px; height: 611px\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715939718, expire = 1716026118, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:78fa89d03cc6bacfd9da04954d9cea8c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย


บทนำ

         อาณาจักรสุโขทัย หรือ รัฐสุโขทัย เป็นอาณาจักรหนึ่งของชนชาติไทย ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม และเจริญถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช แต่จากนั้นก็ตกต่ำลงเรื่อยๆจนเป็นส่วนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยาไปในที่สุด

ประวัติ

          เดิมที สุโขทัย เป็นสถานีการค้าของแคว้นละโว้ (อาณาจักรขอม) บนเส้นทางการค้าผ่านคาบสมุทรระหว่างอ่าวเมาะตะมะกับที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง  คาดว่าเริ่มตั้งเป็นสถานีการค้าในราวพุทธศักราช 1700 ในรัชสมัยของพระยาธรรมิกราช กษัตริย์ละโว้โดยมีพ่อขุนศรีนาวนำถม เป็นผู้ปกครองและดูแลกิจการภายในเมืองสุโขทัย และศรีสัชนาลัย ต่อมาเมื่อพ่อขุนศรีนาวนำถมสวรรคต  ขอมสบาตโขญลำพงซึ่งเป็นคล้ายๆกับผู้ตรวจราชการจากละโว้ เข้าทำการยึดอำนาจการปกครองสุโขทัย จึงส่งผลให้ พ่อขุนผาเมือง (พระราชโอรสของพ่อขุนศรีนาวนำถม) เจ้าเมืองราด(หล่มสัก) และ พ่อขุนบางกลางหาว เจ้าเมืองบางยาง(นครไทย) ตัดสินพระทัยจะยึดดินแดนคืน การชิงเอาอำนาจจากผู้ครองเดิมคือ อาณาจักรขอม เมื่อปี พ.ศ. 1781 และสถาปนาเอกราช ให้กรุงสุโขทัยขึ้นเป็นรัฐอิสระ โดยไม่ขึ้นตรงกับรัฐใดและพ่อขุนผาเมือง ก็กลับยกเมืองสุโขทัย ให้พ่อขุนบางกลางหาวครอง พร้อมทั้ง พระแสงขรรค์ชัยศรี และพระนาม ศรีอินทรบดินทราทิตย์ ซึ่งพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงพระราชทานให้พ่อขุนผาเมืองก่อนหน้านี้ โดยคาดว่า เหตุผลคือพ่อขุนผาเมืองมีพระมเหสี (ราชธิดาของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7) ซึ่งพระองค์เกรงว่าชาวสุโขทัยจะไม่ยอมรับ แต่ก็กลัวว่าทางขอมจะไม่ไว้ใจจึงมอบพระนามพระราชทาน และพระแสงขรรค์ชัยศรี ขึ้นบรมราชาภิเษก พ่อขุนผาเมืองให้เป็นกษัตริย์ เพื่อเป็นการตบตาราชสำนักขอม


      หลังจากมีการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นเป็นราชธานี และมีพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ เป็นปฐมกษัตริย์แล้ว พระองค์ทรงดูแลพระราชอาณาจักร และบำรุงราษฏรเป็นอย่างดี      พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ทรงพระปรีชาสามารถทั้งในด้าน การปกครอง กฎหมาย วิศวกรรม ศาสนา ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เป็นต้น ผลงานของพระองค์ที่ปรากฏให้เห็น อาทิ ศิลาจารึกที่ค้นพบในสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่อธิบายถึงความเป็นมา ของโบราณ น้ำพระทัยของพระมหากษัตริย์ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผลงานทางวิศวกรรมชลประทาน คือ เขื่อนสรีดภงค์ที่เป็นการกักเก็บน้ำไว้ใช้ในยามแล้ง มีการทำท่อส่งน้ำจากตัวเขื่อนมาใช้ในเมือง พระมหากษัตริย์ที่ทรงทำนุบำรุงศาสนามากที่สุดคือ  พระเจ้าลิไท (พระมหาธรรมราชาที่ 1) ในรัชสมัยของพระองค์มีการสร้างวัดมากที่สุดและพระองค์ยังเป็นกษัตริย์องค์แรกที่ออกผนวชด้วย  กษัตริย์พระองค์สุดท้ายในฐานะรัฐอิสระ คือ พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) ต่อจากนั้น อาณาจักรได้ถูกแบ่งส่วนออกเป็นของอาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรล้านนา จนในที่สุด อาณาจักรทั้งหมด ก็ถูกรวมศูนย์ เข้าเป็นดินแดนสวนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา โดยสมัย สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) แห่งอาณาจักรอยุธยา


ความเจริญรุ่งเรือง

ด้านเศรษฐกิจ


สภาพเศรษฐกิจสมัยสุโขทัยเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ดังข้อความปรากฏในหลักศิลาจารึกหลักที่ 1 "…ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงินค้าทองค้า ค้าถ้วยชามสังคโลก" และ "...เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลาในนามีข้าว..." ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมด้วยระบบ การเกษตรแบบพึ่งพาธรรมชาติ


ด้านสังคม ความเชื่อ และศาสนา


การใช้ชีวิตของผู้คนในสมัยสุโขทัยมีความอิสรเสรี มีเสรีภาพอย่างมากเนื่องจากผู้ปกครองรัฐให้อิสระแก่ไพร่ฟ้า และปกครองผู้ใต้ปกครองแบบพ่อกับลูก ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกว่า "…ด้วยเสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื่อน เลื่อน…"
ด้านความเชื่อและศาสนา สังคมยุคสุโขทัยประชาชนมีความเชื่อทั้งเรื่องวิญญาณนิยม (Animism) ไสยศาสตร์ ศาสนาพราหมณ์ฮินดู และพุทธศาสนา ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ 1 ด้านที่ 3 ว่า "…เบื้องหัวนอนเมืองสุโขทัยนี้มีกุฎิวิหารปู่ครูอยู่ มีสรีดพงส์ มีป่าพร้าว ป่าลาง ป่าม่วง ป่าขาม มีน้ำโคก มีพระขระพุงผี เทพยาดาในเขาอันนั้นเป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้ ขุนผู้ใดถือเมืองสุโขทัยนี้แล้ว ไหว้ดีพลีถูก เมืองนี้เที่ยว เมืองนี้ดี ผิไหว้บ่ดี พลีบ่ถูก ผีในเขาอันนั้นบ่คุ้มบ่เกรง เมืองนี้หาย…"
ส่วนด้านศาสนา ได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบจากนครศรีธรรมราช ในวันพระ จะมีภิกษุเทศนาสั่งสอน ณ พระแท่นมนังคศิลาอาสน์สวนตาลลานธรรม โดยใช้ในการบรรยายธรรมให้ประชาชนฟัง ยังผลให้ประชาชนในยุคนี้นิยมปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรม มีการถือศีล โอยทานกันเป็นปกติวิสัย ทำให้สังคมโดยรวมมีความสงบสุขร่มเย็น


ด้านการปกครอง


ด้านการปกครองสามารถแยกกล่าวเป็น 2 แนว ดังนี้
การปกครองแบบพ่อปกครองลูก
กล่าวคือผู้ปกครองจะมีความใกล้ชิดกับประชาชน ให้ความเป็นกันเองกับประชาชนเป็นอย่างมาก เมื่อประชาชนเกิดความเดือดร้อนไม่ได้รับความเป็นธรรม สามารถร้องเรียนกับพ่อขุนโดยตรงได้ โดยไปสั่นกระดิ่งที่แขวนไว้ที่หน้าประตูที่ประทับ ดังข้อความในศิลาจารึกปรากฏว่า "…ในปากมีอันหนึ่งไว้ให้ ไพร่ฟ้าหน้าใส…" นั่นคือเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถมาสั่นกระดิ่งเพื่อแจ้งข้อร้องเรียนได้
การจัดระบบการปกครองขึ้นเป็น 4 ชนชั้น คือ
พ่อขุน เป็นชนชั้นผู้ปกครองเมืองหลวง อาจเรียกชื่ออย่างอื่น เช่น  พระมหาธรรมราชา หากมีโอรสก็จะเรียก "ลูกขุน"
ขุนนาง เป็น ข้าราชการที่มีตำแหน่งหน้าที่ช่วงปกครองภายใน เป็นกลุ่มคนที่ใกล้ชิดและได้รับการไว้วางใจจากเจ้าเมืองให้ปฏิบัติหน้าที่บำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ไพร่ฟ้า
ไพร่หรือ ได้แก่ราษฎรทั่วไปที่อยู่ในราชอาณาจักร (สามัญชน)
ทาส ได้แก่ชนชั้นที่ไม่มีอิสระในการดำรงชีวิตอย่างสามัญชนหรือไพร่

 ไฟล์:แผนที่รัฐโบราณก่อนสมัยอยุธยา.jpg

 

 

สร้างโดย: 
ครูบุษริณฑร์ ศรีสุข

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 312 คน กำลังออนไลน์