• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:705cecbac51b7b4884e560b4b0eff57f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: left;\"><span style=\"color: #ff6600;\"><span style=\"color: #ff6600;\"><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; <span style=\"color: #000000;\">&nbsp; หลากหลายกลายเป็นหนึ่ง</span></strong></span><br /><br />ในสังคมสมัยใหม่หรือในสังคมปัจจุบันนี้ล้วนแล้วมีแต่การแข่งขันแข่งแย้งชิงอำนาจความเป็นใหญ่ทำให้เกิดความขัดแย้งในหลายๆด้าน เช่น ความ<br />ขัดแย้งในการเป็นอยู่ ความขัดแย้งในด้านการเมือง ความขัดแย้งในด้านความเชื่อ ความขัดแย้งในด้านความคิด ความไม่เข้าใจกัน การแตกแยก การแย่งชิง และอื่นๆอีกมากมาย ทุกปัญหาความขัดแย้งล้วนแล้วแต่เป็นปัญหาเล็กๆน้อยๆแต่ถ้าปล่อยไว้นานเข้าๆก็อาจทำให้กลายเป็นปัญหาใหญ่ได้ซึ่งก็แน่นอนว่าเมื่อปัญหาความขัดแย้งเริ่มใหญ่ขึ้นเท่าใดก็มักจะเกิดความวุ่นวายเพิ่มมากขึ้นด้วยและอาจเป็นเหตุให้เกิดการทะเลาะวิวาทที่รุนแรง เช่น การก่อจลาจล การใช้ความรุนแรง การทำร้ายร่างกาย และก่อให้เกิดการบาดเจ็บล้มตาย แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง&nbsp;การจัดการด้วยสันติวิธีสันติวิธี คือวิธีการจัดการกับความขัดแย้งวิธีหนึ่ง การใช้สันติวิธีมีเหตุผลสำคัญตรงที่ว่า เป็นวิธีการที่น่าจะมีการสูญเสียน้อยที่สุด ทั้งระยะสั้นระยะยาว ทั้งรูปธรรมและนามธรรม ผิดกับการใช้ความรุนแรง ซึ่งทุกฝ่ายอ้างว่าเป็นวิธีการสุดท้าย ซึ่งบางกรณีสามารถบรรลุผล ในระยะสั้นเป็นรูปธรรมชัดเจน แต่หากความขัดแย้งดำรงอยู่เพียงแต่ถูกกดไว้&nbsp;โอกาสที่จะเกิดความรุนแรงในระยะยาวย่อมมีอยู่ ส่วนในทางนามธรรม เช่น ความเข้าใจอันดี ความสามัคคีปรองดอง นั้นย่อมเกิดขึ้นได้ยากด้วยวิถีความรุนแรง บางคนมองสันติวิธีในลักษณะปฏิสัมพันธ์เชิงอำนาจ เช่น การใช้ปฏิบัติการไร้ความรุนแรง เพื่อให้รัฐหรือผู้มีอำนาจเปลี่ยนแปลงนโยบายหรือพฤติกรรมบางคนใช้สันติวิธี เพราะความเชื่อว่าจะให้ผลที่ยั่งยืนและเป็นไปตามหลักจริยธรรม หรือ ศาสนธรรม บางคนใช้สันติวิธีตามหลักการบริหารเพื่อลดความขัดแย้ง ไปใส่รูปแบบอื่นที่จะจัดการได้ดีกว่า โดยไม่ใช้ความรุนแรง ลักษณะสำคัญของสันติวิธี คือ ไม่ใช่วิธีที่เฉื่อยชาหรือยอมจำนน หากเป็นวิธีที่ขันแข็งและต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ ไม่ใช่ยุทธวิธีที่เลือกใช้ในบางโอกาส หากเป็นยุทธศาสตร์ที่ปฏิบัติได้อย่าสม่ำเสมอ เป็นสัจธรรมที่น่าเชื่อถือไม่ใช่วิธีที่ดีในเชิงกระบวนการเท่านั้น หากเป็นวิธีที่หวังผลที่กลมกลืนกับวิธีการด้วยคุณค่าของสถาบันดั้งเดิมที่เป็นกลางทางการเมือง&nbsp;เราจะเตรียมการเพื่อป้องกันความรุนแรงอย่างกรณีพฤษภาอำมหิต มิให้เกิดขึ้นได้อย่างไร การพยายามขจัดการซื้อสิทธิขายเสียงในการเลือกตั้ง เป็นหนทางหนึ่ง แต่ปัญหานี้จะขจัดได้อย่างแท้จริงต้องลงไปถึงรากถึงโคน คือ แก้ไขปัญหาช่องว่างระหว่างคนเมืองกับคนชนบท อันเป็นผลมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่สมดุล การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นมีส่วนช่วยให้กลไกระดับท้องถิ่นมีความฉับไวในการตอบสนองความต้องการของชาวชนบท และทำให้ชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็งขึ้น นอกจากนี้ยังมีการคิดค้นมาตรการอื่นๆ อีกมาก เช่น การเสนอสภากระจก การมีผู้ตรวจการรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาเป็นตัวแทนของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและชอบธรรม การเปิดให้มหาชนเป็นเจ้าของสถานีโทรทัศน์ก็เป็นการกระจายอำนาจออกจากรัฐอีกลักษณะหนึ่ง ซึ่งช่วยให้ประชาชนมีเสรีภาพทางด้านข้อมูลข่าวสารมากขึ้น อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมือง และการปฏิรูปสถาบันต่างๆ เพื่อให้เป็นกลไกแก้ไขความขัดแย้งที่มีประสิทธิภาพนั้น เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาและเป็นกระบวนการที่อาจยืดเยื้อยาวนาน สาเหตุส่วนหนึ่งเพราะ หากมองในแง่วัฒนธรรมแล้ว สถาบันและ การดูแลรักษาความสงบ การพิจารณาคดีความตลอดจนการให้การศึกษาและการดูแลรักษาสุขภาพเป็นเรื่องที่ชุมชนจัดทำขึ้นเอง จนเมื่อศตวรรษที่แล้ว กิจการเหล่านี้ได้ถูกดึงออกจากหมู่บ้านและรวมมาอยู่ในความรับผิดชอบของรัฐที่ส่วนกลาง โดยแบ่งไปตามกระทรวงทบวงกรมต่างๆศักยภาพของสถาบันสงฆ์ในการระงับความขัดแย้ง ความเป็นกลางทางการเมืองของสถาบันสงฆ์ไทย เป็นเรื่องที่มีมาช้านานกลายเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย ในอดีตวัดถูกยกให้เป็นเขตอภัยทานอันศักดิ์สิทธิ์ ที่มีผู้คนยอมรับและนับถือกันตามความเชื่อความศรัทธาในสังคมที่สั่งสมกลายเป็นปมปัญหาความขัดแย้งต้องมีความละมุนในการแก้ไขปัญหา และควรหลีกเลี่ยงที่จะเข้าเป็นคู่ขัดแย้งเสียเอง และที่สำคัญต้องจัดสรรผลประโยชน์หรือการกระจายทรัพยากรอย่างทั่วถึง&nbsp;จึงจะทำให้ความขัดแย้งในสังคมลดลงและให้ปัญหาความขัดแย้งในสังคมเหลือน้อยที่สุด<br /><strong><span style=\"color: #000000;\">ปัญหาใหญ่ๆ 4ข้อหลัก คือ</span></strong><br /></span></p>\n<p style=\"text-align: left;\"><span style=\"color: #0000ff;\">1.ด้านสังคม เกิดจากความเหลี่ยมล้ำในทางสังคมที่ขยายวงกว้างไปมาก&nbsp;&nbsp;การติดยึดค่านิยมในระบบอุปถัมถ์&nbsp;&nbsp;โดยเฉพาะสถาบันหลักของประเทศ มีค่อนข้างรุนแรง ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ย้ายข้ามสายงาน&nbsp;ความรู้ ความสามารถ เล่นพรรค เล่นพวก อย่างต่อเนื่อง&nbsp;ประกอบกับสภาพสังคม และสภาพปัญหาด้านต่าง ๆ มีความซับซ้อนมากขึ้น&nbsp;ทำให้เกิดความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ของกลุ่มต่าง ๆ อย่างรุนแรงมากขึ้น</span></p>\n<p style=\"text-align: left;\"><span style=\"color: #0000ff;\">2.ด้านการเมือง การไม่เห็นคุณค่า และการไม่ยึดมั่นกระบวนการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในระบอบประชาธิปไตย แต่แก้ปัญหาโดยการใช้อำนาจ ใช้การครอบงำ&nbsp;ทั้งทางความคิด การใช้เงิน การใช้ความรุนแรง การใส่ร้ายป้ายสี การกล่าวหาซึ่งกันและกัน สถาบันทางการเมือง เช่น พรรคการเมือง รัฐสภา องค์กรอิสระต่าง ๆ มีความอ่อนแอ</span></p>\n<p style=\"text-align: left;\"><span style=\"color: #0000ff;\">3.ด้านการบริหาร เป็นที่รับรู้กันว่ามีกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ โดยเฉพาะในทางธุรกิจเข้าไปมีอิทธิพลในพรรคการเมือง&nbsp;&nbsp;ในรัฐบาลในระบบราชการ &nbsp;ผู้แทนประชาชนทั้ง ส.ส. และ&nbsp;&nbsp;ส.ว.&nbsp;&nbsp;ต่างก็ทำทุกวิถีทางที่จะไปเป็นรัฐบาล</span></p>\n<p style=\"text-align: left;\"><span style=\"color: #0000ff;\">4.ด้านบทบาททหารในทางการเมืองเมื่อรัฐบาลต้องพึ่งพิงอาศัยอำนาจของทหารสนับสนุนเพื่อความอยู่รอดของรัฐบาล เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน ทำให้สถาบันทหารได้ปรับตัวเข้ามาอิทธิพลเหนือฝ่ายการเมืองมากขึ้น ทั้ง ๆ ที่นับตั้งแต่พฤษภาคม 2535 เป็นต้นมา บทบาท และความชอบธรรมของทหารในการเข้าไปมีบทบาททางเมืองได้ลดลงเป็นอย่างมาก &nbsp;</span></p>\n<p style=\"text-align: left;\"><span style=\"color: #0000ff;\">&nbsp;</span></p>\n', created = 1728188304, expire = 1728274704, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:705cecbac51b7b4884e560b4b0eff57f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลากหลายกลายเป็นหนึ่ง

                                                                    หลากหลายกลายเป็นหนึ่ง

ในสังคมสมัยใหม่หรือในสังคมปัจจุบันนี้ล้วนแล้วมีแต่การแข่งขันแข่งแย้งชิงอำนาจความเป็นใหญ่ทำให้เกิดความขัดแย้งในหลายๆด้าน เช่น ความ
ขัดแย้งในการเป็นอยู่ ความขัดแย้งในด้านการเมือง ความขัดแย้งในด้านความเชื่อ ความขัดแย้งในด้านความคิด ความไม่เข้าใจกัน การแตกแยก การแย่งชิง และอื่นๆอีกมากมาย ทุกปัญหาความขัดแย้งล้วนแล้วแต่เป็นปัญหาเล็กๆน้อยๆแต่ถ้าปล่อยไว้นานเข้าๆก็อาจทำให้กลายเป็นปัญหาใหญ่ได้ซึ่งก็แน่นอนว่าเมื่อปัญหาความขัดแย้งเริ่มใหญ่ขึ้นเท่าใดก็มักจะเกิดความวุ่นวายเพิ่มมากขึ้นด้วยและอาจเป็นเหตุให้เกิดการทะเลาะวิวาทที่รุนแรง เช่น การก่อจลาจล การใช้ความรุนแรง การทำร้ายร่างกาย และก่อให้เกิดการบาดเจ็บล้มตาย แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง การจัดการด้วยสันติวิธีสันติวิธี คือวิธีการจัดการกับความขัดแย้งวิธีหนึ่ง การใช้สันติวิธีมีเหตุผลสำคัญตรงที่ว่า เป็นวิธีการที่น่าจะมีการสูญเสียน้อยที่สุด ทั้งระยะสั้นระยะยาว ทั้งรูปธรรมและนามธรรม ผิดกับการใช้ความรุนแรง ซึ่งทุกฝ่ายอ้างว่าเป็นวิธีการสุดท้าย ซึ่งบางกรณีสามารถบรรลุผล ในระยะสั้นเป็นรูปธรรมชัดเจน แต่หากความขัดแย้งดำรงอยู่เพียงแต่ถูกกดไว้ โอกาสที่จะเกิดความรุนแรงในระยะยาวย่อมมีอยู่ ส่วนในทางนามธรรม เช่น ความเข้าใจอันดี ความสามัคคีปรองดอง นั้นย่อมเกิดขึ้นได้ยากด้วยวิถีความรุนแรง บางคนมองสันติวิธีในลักษณะปฏิสัมพันธ์เชิงอำนาจ เช่น การใช้ปฏิบัติการไร้ความรุนแรง เพื่อให้รัฐหรือผู้มีอำนาจเปลี่ยนแปลงนโยบายหรือพฤติกรรมบางคนใช้สันติวิธี เพราะความเชื่อว่าจะให้ผลที่ยั่งยืนและเป็นไปตามหลักจริยธรรม หรือ ศาสนธรรม บางคนใช้สันติวิธีตามหลักการบริหารเพื่อลดความขัดแย้ง ไปใส่รูปแบบอื่นที่จะจัดการได้ดีกว่า โดยไม่ใช้ความรุนแรง ลักษณะสำคัญของสันติวิธี คือ ไม่ใช่วิธีที่เฉื่อยชาหรือยอมจำนน หากเป็นวิธีที่ขันแข็งและต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ ไม่ใช่ยุทธวิธีที่เลือกใช้ในบางโอกาส หากเป็นยุทธศาสตร์ที่ปฏิบัติได้อย่าสม่ำเสมอ เป็นสัจธรรมที่น่าเชื่อถือไม่ใช่วิธีที่ดีในเชิงกระบวนการเท่านั้น หากเป็นวิธีที่หวังผลที่กลมกลืนกับวิธีการด้วยคุณค่าของสถาบันดั้งเดิมที่เป็นกลางทางการเมือง เราจะเตรียมการเพื่อป้องกันความรุนแรงอย่างกรณีพฤษภาอำมหิต มิให้เกิดขึ้นได้อย่างไร การพยายามขจัดการซื้อสิทธิขายเสียงในการเลือกตั้ง เป็นหนทางหนึ่ง แต่ปัญหานี้จะขจัดได้อย่างแท้จริงต้องลงไปถึงรากถึงโคน คือ แก้ไขปัญหาช่องว่างระหว่างคนเมืองกับคนชนบท อันเป็นผลมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่สมดุล การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นมีส่วนช่วยให้กลไกระดับท้องถิ่นมีความฉับไวในการตอบสนองความต้องการของชาวชนบท และทำให้ชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็งขึ้น นอกจากนี้ยังมีการคิดค้นมาตรการอื่นๆ อีกมาก เช่น การเสนอสภากระจก การมีผู้ตรวจการรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาเป็นตัวแทนของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและชอบธรรม การเปิดให้มหาชนเป็นเจ้าของสถานีโทรทัศน์ก็เป็นการกระจายอำนาจออกจากรัฐอีกลักษณะหนึ่ง ซึ่งช่วยให้ประชาชนมีเสรีภาพทางด้านข้อมูลข่าวสารมากขึ้น อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมือง และการปฏิรูปสถาบันต่างๆ เพื่อให้เป็นกลไกแก้ไขความขัดแย้งที่มีประสิทธิภาพนั้น เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาและเป็นกระบวนการที่อาจยืดเยื้อยาวนาน สาเหตุส่วนหนึ่งเพราะ หากมองในแง่วัฒนธรรมแล้ว สถาบันและ การดูแลรักษาความสงบ การพิจารณาคดีความตลอดจนการให้การศึกษาและการดูแลรักษาสุขภาพเป็นเรื่องที่ชุมชนจัดทำขึ้นเอง จนเมื่อศตวรรษที่แล้ว กิจการเหล่านี้ได้ถูกดึงออกจากหมู่บ้านและรวมมาอยู่ในความรับผิดชอบของรัฐที่ส่วนกลาง โดยแบ่งไปตามกระทรวงทบวงกรมต่างๆศักยภาพของสถาบันสงฆ์ในการระงับความขัดแย้ง ความเป็นกลางทางการเมืองของสถาบันสงฆ์ไทย เป็นเรื่องที่มีมาช้านานกลายเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย ในอดีตวัดถูกยกให้เป็นเขตอภัยทานอันศักดิ์สิทธิ์ ที่มีผู้คนยอมรับและนับถือกันตามความเชื่อความศรัทธาในสังคมที่สั่งสมกลายเป็นปมปัญหาความขัดแย้งต้องมีความละมุนในการแก้ไขปัญหา และควรหลีกเลี่ยงที่จะเข้าเป็นคู่ขัดแย้งเสียเอง และที่สำคัญต้องจัดสรรผลประโยชน์หรือการกระจายทรัพยากรอย่างทั่วถึง จึงจะทำให้ความขัดแย้งในสังคมลดลงและให้ปัญหาความขัดแย้งในสังคมเหลือน้อยที่สุด
ปัญหาใหญ่ๆ 4ข้อหลัก คือ

1.ด้านสังคม เกิดจากความเหลี่ยมล้ำในทางสังคมที่ขยายวงกว้างไปมาก  การติดยึดค่านิยมในระบบอุปถัมถ์  โดยเฉพาะสถาบันหลักของประเทศ มีค่อนข้างรุนแรง ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ย้ายข้ามสายงาน ความรู้ ความสามารถ เล่นพรรค เล่นพวก อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับสภาพสังคม และสภาพปัญหาด้านต่าง ๆ มีความซับซ้อนมากขึ้น ทำให้เกิดความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ของกลุ่มต่าง ๆ อย่างรุนแรงมากขึ้น

2.ด้านการเมือง การไม่เห็นคุณค่า และการไม่ยึดมั่นกระบวนการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในระบอบประชาธิปไตย แต่แก้ปัญหาโดยการใช้อำนาจ ใช้การครอบงำ ทั้งทางความคิด การใช้เงิน การใช้ความรุนแรง การใส่ร้ายป้ายสี การกล่าวหาซึ่งกันและกัน สถาบันทางการเมือง เช่น พรรคการเมือง รัฐสภา องค์กรอิสระต่าง ๆ มีความอ่อนแอ

3.ด้านการบริหาร เป็นที่รับรู้กันว่ามีกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ โดยเฉพาะในทางธุรกิจเข้าไปมีอิทธิพลในพรรคการเมือง  ในรัฐบาลในระบบราชการ  ผู้แทนประชาชนทั้ง ส.ส. และ  ส.ว.  ต่างก็ทำทุกวิถีทางที่จะไปเป็นรัฐบาล

4.ด้านบทบาททหารในทางการเมืองเมื่อรัฐบาลต้องพึ่งพิงอาศัยอำนาจของทหารสนับสนุนเพื่อความอยู่รอดของรัฐบาล เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน ทำให้สถาบันทหารได้ปรับตัวเข้ามาอิทธิพลเหนือฝ่ายการเมืองมากขึ้น ทั้ง ๆ ที่นับตั้งแต่พฤษภาคม 2535 เป็นต้นมา บทบาท และความชอบธรรมของทหารในการเข้าไปมีบทบาททางเมืองได้ลดลงเป็นอย่างมาก  

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 388 คน กำลังออนไลน์